งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การบริหารความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การบริหารความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การบริหารความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล
ส่วนที่ 1 การบริหารความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล

2 ความสำคัญ PMQA หมวด 2 การวางแผนยุทธศาสตร์
รหัส SP7 กำหนดให้ส่วนราชการนำระบบ การบริหารความเสี่ยงมาใช้ควบคู่กับการ จัดการเชิงยุทธศาสตร์ ส่วนราชการต้องทำแผนบริหารความเสี่ยง ตามหลักธรรมาภิบาลมาตรฐาน COSO (Committee of Sponsoring Organization of the Tread Way Commission)

3 COSO ERM Framework 4 วัตถุประสงค์ หน่วยงานในระดับต่างๆ 8 องค์ประกอบ

4 นิยามความเสี่ยง ความเสี่ยงในการบริหารองค์กร หมายถึง เหตุการณ์ที่ไม่มีความแน่นอนที่อาจเกิดขึ้นและส่งผลกระทบในด้านลบต่อการบรรลุวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายขององค์กร

5 วัตถุประสงค์ในการบริหารความเสี่ยง
เพื่อให้ผลการดำเนินงานขององค์กรเป็นไปตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่วางไว้ เพื่อให้เกิดการรับรู้ ตระหนัก และเข้าใจถึง ความเสี่ยงด้านต่างๆที่เกิดขึ้นกับองค์กร และหาวิธีจัดการที่เหมาะสมในการลดความเสี่ยง ให้อยู่ในระดับที่องค์กรยอมรับได้ สร้างกรอบและแนวทางในการดำเนินงานให้แก่บุคลากรในองค์กรเพื่อให้สามารถบริหารจัดการความไม่แน่นอนที่จะเกิดขึ้นกับองค์กรได้อย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ

6 เหตุแห่งความเสี่ยง (Risk Driver)
เทคโนโลยี กลยุทธ์องค์กร คู่แข่งขัน ผู้ใช้บริการ การลงทุน งบประมาณ บุคลากร เศรษฐกิจ ความเสี่ยง

7 ประเภทของความเสี่ยง ความเสี่ยงด้าน กลยุทธ์ (Strategic Risk)
ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk) ความเสี่ยงด้านการเงิน (Financial Risk) ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติตามกฏระเบียบ (Compliance Risk)

8 ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น
ตัวอย่างความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง กระบวนการ/กิจกรรม ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน บุคลากรในหน่วยงาน -ขาดทักษะ, ความชำนาญ และความรู้เฉพาะทาง ความปลอดภัย -เกิดอุบัติเหตุ หรือได้รับอันตราย จากการปฏิบัติงาน เทคโนโลยี/นวัตกรรม -เทคโนโลยีล้าสมัย -ถูกละเมิดลิขสิทธิ์ สิ่งแวดล้อม -สร้างมลพิษแก่ชุมชนรอบข้าง -สร้างความเดือดร้อน แก่ประชาชน

9 ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น
ตัวอย่างความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง กระบวนการ/กิจกรรม ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น ความเสี่ยงด้านการเงิน งบประมาณ -เบิกจ่ายงบประมาณไม่ทันตามกำหนดเวลา -งบประมาณไม่เพียงพอต่อการดำเนินงาน หนี้สิน -องค์กรขาดสภาพคล่อง ในการชำระหนี้ -เกิดหนี้สูญจากลูกหนี้ ตลาดสินค้าและการเงิน -การเปลี่ยนแปลงของราคาวัตถุดิบ, อัตราแลกเปลี่ยน, ดอกเบี้ย ฯลฯ

10 ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น
ตัวอย่างความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง กระบวนการ/กิจกรรม ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ การบริหารงาน -กำหนดกลยุทธ์ผิดพลาด ไม่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ ขององค์กร การนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ -กิจกรรมตามแผนกลยุทธ์ ไม่สามารถนำไปสู่การบรรลุวัตถุประสงค์องค์กรได้ การแข่งขันทางกลยุทธ์ -กลยุทธ์ขององค์กรขาดการพัฒนาให้ทันต่อสถานการณ์ จนไม่สามารถแข่งขัน กับคู่แข่งได้

11 ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น
ตัวอย่างความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง กระบวนการ/กิจกรรม ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น ความเสี่ยงด้าน การปฏิบัติตามกฏระเบียบ การละเมิดสัญญา -ดำเนินงานไม่เสร็จตามกำหนดในสัญญา -กระบวนการดำเนินงาน ไม่เป็นไปตามข้อตกลง การเปลี่ยนแปลงกฏระเบียบ -ผู้เสียผลประโยชน์หรือบุคลากรในองค์กรต่อต้าน กฏระเบียบใหม่ -องค์กรได้รับความเสียหายในทางใดทางหนึ่งจากการเปลี่ยนแปลงกฏหมาย

12 ระบบงบประมาณภาครัฐ ประเทศไทย
ส่วนที่ 2 ระบบงบประมาณภาครัฐ ประเทศไทย

13 งบประมาณ (Budgeting ) - ความหมายทั่วไป

14 งบประมาณ (Budgeting ) - ความหมายตามกฎหมาย
จำนวนเงินอย่างสูงที่อนุญาตให้จ่าย หรือให้ก่อหนี้ผูกพันได้ ตามวัตถุประสงค์และภายในระยะเวลาที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่าย มาตรา 4 พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ.2502

15 ปีงบประมาณ (Fiscal year/ Budget year )
"ปีงบประมาณ" หมายความว่า ระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคมของ ปีหนึ่งถึงวันที่ 30 กันยายนของปีถัดไป และให้ใช้ปี พ.ศ. ที่ถัดไปนั้นเป็นชื่อสำหรับ ปีงบประมาณนั้น มาตรา 4 พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ.2502

16 ส่วนราชการ - หน่วยรับงบประมาณ
"ส่วนราชการ" หมายความว่า กระทรวง ทบวง กรม หรือทบวงการเมืองที่มีฐานะเทียบเท่า สำนักงานหรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐ แต่ไม่รวมตลอดถึงรัฐวิสาหกิจ หรือ หน่วยงานตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น มาตรา 4 พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ.2502

17 ระบบงบประมาณภาครัฐ ตั้งแต่ปี2547-ปัจจุบัน ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้น
ผลงานตามยุทธศาสตร์ (Strategic Performance Based Budgeting :SPBB)

18 SPBB : องค์ประกอบที่สำคัญ
มุ่งเน้นผลสำเร็จของงานตามผลผลิต ผลลัพธ์ เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ระดับชาติ เป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง ผลผลิตและตัวชี้วัด การมอบอำนาจการบริหารจัดการงบประมาณ เน้นให้กระทรวงมีอำนาจในการบริหารจัดการงบประมาณเพื่อให้บรรลุผลสำเร็จมากกว่าเน้นกฎระเบียบ การเพิ่มขอบเขตความครอบคลุมของงบประมาณ เน้นหลักการธรรมาภิบาล การแบ่งหน้าที่และความรับผิดชอบในแต่ละระดับ มีระบบการติดตามประเมินผลและการรายงานผลการดำเนินงานที่โปร่งใส และตรวจสอบได้ การประมาณการงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลาง (MTEF)

19 งบประมาณรายจ่ายของส่วนราชการ
งบประมาณรายจ่าย จำแนกเป็น 5 ประเภท ได้แก่ 1. งบบุคลากร 2. งบดำเนินงาน 3. งบลงทุน 4. งบอุดหนุน 5. งบรายจ่ายอื่น

20 1.งบบุคลากร -เงินเดือน -ค่าจ้างประจำ -ค่าจ้างชั่วคราว
-ค่าตอบแทนพนักงานราชการ 2.งบดำเนินงาน -ค่าตอบแทน -ค่าใช้สอย -ค่าวัสดุ -ค่าสาธารณูปโภค

21 3.งบลงทุน -ค่าครุภัณฑ์ -ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง 4.งบเงินอุดหนุน
-เงินอุดหนุนทั่วไป -เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ 5.งบรายจ่ายอื่น -เงินราชการลับ -เงินค่าปรับที่จ่ายคืนผู้ขาย -ค่าจ้างที่ปรึกษา -ค่าเดินทางไปต่างประเทศชั่วคราว

22 งบกลาง “งบกลาง"– รายจ่ายใดที่ไม่สามารถจัดสรรเป็นรายจ่ายในรายการใดได้ ให้จัดสรร ไว้ในรายการรายจ่ายงบกลาง โดยต้องแสดงเหตุผลและความจำเป็นในการกำหนดงบประมาณรายจ่ายงบกลางนั้นด้วย มาตรา ๑๖๓  ของรัฐธรรมนูญฯ 50

23 รายการงบกลางที่สำคัญ
1. เงินสวัสดิการข้าราชการ 2. เงินเบี้ยหวัดบำเหน็จบำนาญ 3. เงินเลื่อนขั้นเงินปรับวุฒิ 4. เงินสำรองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจำเป็น 5. เงินราชการลับ 6. ค่าใช้จ่ายตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ

24 เงินนอกงบประมาณ เงินบริจาค เงินโครงการช่วยเหลือ เงินกู้
เงินบูรณะทรัพย์สิน เงินรายรับสถานพยาบาล สถานศึกษา สาธารณประโยชน์ เงินผลพลอยได้ เงินจำหน่าย / ซื้อหุ้น

25 งบประมาณ กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (งบประมาณ UC )

26 เงินงบประมาณ UC -เป็นงบประมาณประเภทหนึ่ง เรียกว่า“งบกองทุนหมุนเวียน”
งบประมาณปกติของราชการ -มีระยะเวลาแยกต่างหากจากงบปกติ

27 การใช้จ่ายเงินงบประมาณ UC
-อำนาจการใช้จ่าย อยู่ที่ คกก. หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ -ใช้จ่ายได้ภายใต้วัตถุประสงค์ ของกองทุน -ใช้ต่อเนื่องได้ไม่เกิน 2 ปีงบประมาณ -เงินเหลือไม่ต้องคืนสำนักงบประมาณ -ดอกผลให้เป็นรายได้ของกองทุน

28 โครงสร้างเงินงบประมาณ UC
ปี 2556 กองทุนแยกประเภท 4 กองทุน บริการทางการแพทย์เหมาจ่ายรายหัว บริการผู้ติดเชื้อ HIV/AIDs บริการผู้ป่วย ไตวายเรื้อรัง บริการควบคุม ป้องกัน และรักษาโรคเรื้อรัง กองทุนย่อย 11 กองทุน กองทุนย่อย 2 กองทุน กองทุนย่อย 2 กองทุน กองทุนย่อย 1 กองทุน

29 โครงสร้างเงินงบประมาณ UC
ปี 2556 บริการทางการแพทย์เหมาจ่ายรายหัว มี 11 กองทุนย่อย บริการผู้ป่วยนอก บริการผู้ป่วยใน หน่วยบริการที่มีต้นทุนสูง บริการกรณีเฉพาะ(คชจ.สูง/อุบัติเหตุ) ส่งเสริมและป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ ค่าเสื่อม มาตรา 41 แพทย์แผนไทย ช่วยเหลือ/ชดเชยผู้ให้บริการ คุณภาพผลงานบริการ

30 โครงสร้างเงินงบประมาณ UC
ปี 2556 กองทุนย่อยบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (P&P) มี 5 กองทุนย่อยเฉพาะด้าน NPP&Central procurement PPE PPD (ทันตกรรมส่งเสริม) PPS(สนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ) PPA(ส่งเสริมและป้องกันโรคสำหรับ เขตพื้นที่)

31 การบริหารจัดการงบค่าเสื่อม
ปี 2556

32 งบค่าเสื่อมปี 2556 **หน่วยบริการต้องรู้ว่า
ระดับประเทศ 10 % ระดับเขต 20% ระดับจังหวัด 20% ระดับหน่วยบริการ 50% **หน่วยบริการต้องรู้ว่า -รายการที่ได้รับจัดสรรเป็นงบระดับใด -สสจ./สสอ. ไม่มีสิทธิใช้(ไม่ใช่หน่วยบริการ)

33 ความผิดปกติที่ตรวจพบจากรายงาน web Online สป.สช.
ไม่ควรปรากฏ

34 ไม่ควรปรากฏ

35 ไม่ควรปรากฏ

36 การจัดทำแผนงบค่าเสื่อมปี 2556
ระดับประเทศ 10 % (กระทรวงสาธารณสุข-อนุมัติรายการ) ระดับเขต 20% (อป.สข.-อนุมัติ) ระดับจังหวัด 20% (อป.สจ.-อนุมัติ) ระดับหน่วยบริการ 50% (อป.สจ.-อนุมัติ)

37 กรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงรายการ /มีเงินเหลือจ่าย
กรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงรายการ /มีเงินเหลือจ่าย การเปลี่ยนแปลงรายการ และ/หรือ การอนุมัติ ใช้วงเงินเหลือจ่าย ให้เป็นไปตามมติของคณะกรรมการฯ หรือคณะอนุกรรมการ หรือหน่วยงานผู้พิจารณาอนุมัติ แผนในแต่ละระดับ ยกเว้น กรณีเงินเหลือจ่ายระดับเขต ให้ผอ.สป.สช.เขต สามารถพิจารณาอนุมัติได้

38 การกำกับ ติดตาม และประเมินผล
1.ผู้มีหน้าที่กำกับติดตามฯ สป.สช. ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข สป.สช.เขต สสจ. 2.รายงานผลการจัดซื้อ/จัดหา ผ่าน Website สป.สช. 3.กรณีที่หน่วยบริการไม่สามารถดำเนินการตามแผนได้ สป.สช.อาจพิจารณาเรียกคืนเงินค่าเสื่อม

39 สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน
ส่วนที่ 3 การตรวจสอบของ สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน

40 พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดินพ.ศ.2542
สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินเป็นส่วนราชการที่เป็นหน่วยงานอิสระมีฐานะเป็นกรมตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน

41 โครงสร้างองค์กรการตรวจเงินแผ่นดิน
คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน สำนักงาน ตรวจสอบ การเงินที่ 1-8 สำนักงาน ตรวจสอบ พัสดุและสืบสวน ที่ 1-4 สำนักงาน ตรวจสอบ ดำเนินงาน ที่ 1-2 สำนักงานการ ตรวจเงินแผ่นดินภูมิภาค ที่ 1-15

42 หน่วยรับตรวจ ได้แก่ 1. กระทรวง ทบวง กรม ส่วนราชการที่ เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเป็นกระทรวง ทบวง หรือกรม 2. หน่วยงานราชการภูมิภาค 3. หน่วยงานราชการส่วนท้องถิ่น

43 หน่วยรับตรวจ (ต่อ) 4. หน่วยงานอื่นของรัฐ
5. หน่วยงานที่ได้รับเงินอุดหนุน หรือกิจการที่ได้รับเงินหรือทรัพย์สินลงทุนจากหน่วยรับตรวจตาม (1) (2) (3 ) (4) 6. หน่วยงานอื่นใด หรือกิจการที่ได้รับเงินอุดหนุนจากรัฐที่มีกฎหมายกำหนดให้ สตง.เป็นผู้ตรวจสอบ

44 ผู้รับตรวจ ได้แก่ หัวหน้าส่วนราชการ หัวหน้าหน่วยงาน
ผู้รับผิดชอบในการปฏิบัติราชการ หรือการบริหารของหน่วยรับตรวจ

45 ลักษณะ งานที่ตรวจสอบ 2.การตรวจสอบ การจัดเก็บ รายได้ 1.การตรวจสอบ
งบการเงิน 3.การตรวจสอบ การซื้อ จัดจ้าง ลักษณะ งานที่ตรวจสอบ 6.การตรวจสอบ ลักษณะอืน 4.การตรวจสอบ การดำเนินงาน 5.การตรวจสอบ สืบสวน

46 วัตถุประสงค์ของการตรวจสอบ
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรีแบบแผนการปฏิบัติราชการ อันจะก่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการบริหารการเงินของรัฐ เป็นมาตรการป้องกันการทุจริต ให้หมายความรวมถึงการตรวจสอบอื่นอันจำเป็นแก่การตรวจสอบ

47 หลักเกณฑ์และวิธีการตรวจสอบของ สตง.
47

48 เงินที่ตรวจสอบ เงินงบประมาณ เงินนอกงบประมาณ เงินกู้ เงินอุดหนุน
เงินบริจาค และเงินช่วยเหลือจากแหล่งในประเทศ หรือต่างประเทศ อันเนื่องมาจากการปฏิบัติหน้าที่ ตามกฎหมายหรือวัตถุประสงค์ของหน่วยรับตรวจ

49 การรายงานผลการตรวจสอบ
1.ไม่มีข้อสังเกต หัวหน้า ส่วนราชการ รายงาน

50 2.มีข้อสังเกต (ข้อทักท้วง)
สตง 2.มีข้อสังเกต (ข้อทักท้วง) รายงาน ส่วนราชการ กระทรวง 50

51 มาตรา 44 พิจารณาผลการตรวจสอบ กรณี
มาตรา พิจารณาผลการตรวจสอบ กรณี มีข้อบกพร่องเนื่องจากไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือ มติคณะรัฐมนตรี หน่วยรับตรวจแจ้งผลการดำเนินการให้คณะกรรมการทราบภายใน 60 วัน กรณีหน่วยรับตรวจไม่ดำเนินการตามข้อเสนอแนะ โดยไม่มีเหตุอันสมควร

52 มาตรา 45 พิจารณาผลการตรวจสอบ กรณี
มาตรา พิจารณาผลการตรวจสอบ กรณี  มีข้อบกพร่องเนื่องจากไม่มีข้อกำหนดให้หน่วยรับตรวจต้องปฏิบัติตาม

53 มาตรา 46 พิจารณาผลการตรวจสอบ กรณี
มาตรา พิจารณาผลการตรวจสอบ กรณี  มีพฤติการณ์น่าเชื่อว่าเป็นการทุจริตหรือมีการใช้อำนาจหน้าที่โดยมิชอบ ก่อให้เกิดความเสียหาย แก่เงินหรือทรัพย์สินของราชการ  แจ้งต่อพนักงานสอบสวนเพื่อดำเนินคดี  แจ้งต่อ ป.ป.ช. แจ้งหน่วยรับตรวจ หรือผู้บังคับบัญชา หรือผู้ควบคุมกำกับ

54 มาตรา 47 พิจารณาผลการตรวจสอบ กรณี
มาตรา 47 พิจารณาผลการตรวจสอบ กรณี  มีความเสียหายเกิดขึ้นเพราะมีผู้กระทำ การโดยมิชอบ  สตง. มีอำนาจประเมินความเสียหาย

55 มาตรา 61 ผู้ว่าการและเจ้าหน้าที่ตรวจสอบ
มาตรา 61 ผู้ว่าการและเจ้าหน้าที่ตรวจสอบ เป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา(มีอำนาจสอบสวน)

56 มาตรา 63 – 65 กรณีที่หน่วยรับตรวจไม่ปฏิบัติตาม ผลการแจ้งตามรายงานการตรวจสอบ
 ถือว่าผู้นั้นกระทำผิดวินัย (ม.63)  ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ (ม.64)  ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 5 ปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ (ม.65)

57 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ สำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน ตรวจสอบเงินกองทุน หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

58 ความเป็นมา 1. สตง.มีแผนการตรวจสอบงบประมาณ
หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ทุกเขต จำนวน 12 เขต 2. เป้าหมาย ตรวจปีละ 4 เขต (ตรวจครบในระยะ 3 ปี) 3. ปี2556 ตรวจเขต 4,5,6,13(กรุงเทพฯและปริมณฑล) 4. ปี2557 เริ่มประมาณ ตุลาคม 2556 (กำหนดตรวจเขต 10 อุบลฯ และเขต เชียงใหม่) เขต 10 อุบลฯ ประกอบด้วย อุบลราชธานี/ศรีสะเกษ/ ยโสธร/อำนาจเจริญ/มุกดาหาร

59 กำหนดการเข้าตรวจสอบ 1. เขตละประมาณ 10 วัน 2. ตรวจที่สป.สช.เขต ประมาณ ครึ่ง -1 วัน 3.ตรวจที่สสจ.ประมาณ 3 วัน 4.ตรวจที่หน่วยบริการโดยการคัดเลือก (ไม่ใช่สุ่ม) -รพ.จังหวัด มีโอกาสตรวจทุกจังหวัด -รพช./รพ.สต. ขึ้นกับจำนวนและประเด็น/หัวข้อ/โครงการ ที่สตง.สนใจ/ให้ความสำคัญ

60 เครื่องมืออ้างอิงในการตรวจ
ยึดระเบียบ คู่มือ ตรวจตามแนวทาง/หนังสือสั่งการ(มีอำนาจสั่งหรือไม่) มติ อปสจ./ รายงานการประชุม/ระเบียบ/ ประกาศ / คำสั่ง /หนังสือสั่งการ

61 กองทุน/สิ่งที่ตรวจ เงินกัน P&P งบค่าเสื่อม มาตรา 41 OP Indiv
กองทุนไตวาย รง.บัญชี 6,7

62 สิ่งที่ตรวจพบและเป็นคำถาม(สสจ.ตราด)
1. งบค่าเสื่อม นำเข้า อปสจ. ภายหลัง เงินโอน 2. งบ P&P สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ ในวันรับเสด็จ : โครงการรับเสด็จฯ (ใช้ได้หรือไม่) 3. งบ PPA ควรทำกับกลุ่มเป้าหมายประชาชนอย่างเดียว ไม่ควร จัดอบรมบุคลากรสาธารณสุข (ในโครงการมี 2 กิจกรรม ทั้งประชาชนและบุคลากร สาธารณสุข)

63 สิ่งที่ตรวจพบและเป็นคำถาม(สสจ.ตราด)
4.จังหวัดมีการบูรณาการงบประมาณทุกแหล่งงบ และเร่งรัดการใช้งบให้ทันเวลา มีการปรับแหล่งงบหลายครั้ง ทำให้ไม่ได้นำเข้า อปสจ. ทุกครั้ง (สรุปแจ้งให้ทราบภายหลัง) 5. ไม่รายงานการใช้เงิน บัญชี 6, ให้ อปสจ. ทราบทุกไตรมาส (มีความเข้าใจคลาดเคลื่อนจากการแจ้งของหนังสือ สปสช.๓๖/ว.๐๒๔๙ ลงวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ให้ทำรายงานทางอินเตอร์เนต ประกอบกับการบันทึกข้อมูลมีปัญหาจึงมีความเข้าใจว่ายกเลิกการรายงาน)

64 จังหวัดสิงห์บุรี ข้อมูลที่เข้าตรวจสอบ
เน้นที่ปีงบประมาณ 2555 บางเรื่องขอดูปีงบประมาณอื่นๆ ตามที่จะขอตรวจสอบ (แจ้งเป็นทางการว่าจะดูเฉพาะปี 2555) สาขาจังหวัดสิงห์บุรี รับการตรวจสอบ 2 ปี ( )

65 วิธีการตรวจของ สตง. สำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน(สตง.) มีแผนที่การเดินทางของเงินใช้ประกอบการเริ่มต้นการตรวจสอบ และไล่ตาม Flow ของเงิน จะขอข้อมูลแยกรายกองทุนย่อย (จะถูกนำไปสอบทานกับที่ได้รับจากส่วนกลาง/เขต) สุ่มดูจากการเบิกจ่าย แล้วไล่ขึ้นมาที่กองทุนย่อย เพื่อดูว่าการใช้จ่ายเงินเป็นไปตามวัตถุประสงค์หรือไม่

66 เรื่องที่เข้าตรวจสอบ
งบค่าเสื่อม เงินกันที่จังหวัด งบส่งเสริมป้องกัน งบค่าตอบแทนโรคไตวายเรื้อรัง ทำรายงานรับ – จ่ายเงินกองทุนของ สำนักงานสาขาจังหวัด

67 การบริหารงบค่าเสื่อม
ตรวจสอบโดยสอบถามตามคู่มือแนวทางการบริหารงบค่าเสื่อมของปีนั้นๆ และขอดูเอกสารที่เกี่ยวข้อง ว่ามีหรือปฏิบัติตามคู่มือบริหารงบฯหรือไม่ ขอรายงานการประชุม (มติ อปสจ. ) ให้ชี้แจงเป็นลายลักษณ์อักษร เอกสารต้องเป็นเอกสารทางราชการเท่านั้น พร้อมขอคำยืนยัน

68 การบริหารเงินกันที่จังหวัด
ตรวจสอบโดยดูว่ามีหลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติในการเกลี่ยเงิน การกันเงินอย่างไรและเป็นไปตามระเบียบ ประกาศ ข้อบังคับ คำสั่ง ข้อกำหนด หรือหนังสือสั่งการใด ขอรายงานการประชุม (มติ อปสจ. ) ขอเอกสารประกอบคำชี้แจงเป็นลายลักษณ์อักษร (คำยืนยัน)

69 การบริหารจัดการ งบสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค (P&P)
ดูจากบัญชีคุมงบแล้วไล่ตามไปที่แผนงาน/โครงการ กิจกรรมการดำเนินการเป็นไปตามแนวทางการบริหารเงินของแต่ละกองทุนย่อยหรือระเบียบราชการหรือไม่ ดูจากหลักฐานการเบิกจ่าย แล้วไล่ขึ้นมาที่แหล่งเงิน ที่โอนว่าเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนหรือไม่ พร้อมนี้ได้ตรวจสอบค่าใช้จ่ายในรายกิจกรรมตามที่สำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน(สตง.)(การจัดซื้อ/จ้าง, ตรวจสอบด้านการเงิน ฯลฯ)

70 การจัดทำรายงานรับ – จ่ายเงินกองทุน ของสนง.สาขาจังหวัด
รายงานการเงิน ( บัญชี 6 ) เป็นไปตามประกาศ สนง.ฯหมวด 4 ข้อ 23 หรือไม่ รายงานการงบบริหารจัดการ (บัญชี 7)เป็นไปตามประกาศ สนง.ฯ หมวด 3 รายงานการเงินข้อ 16 หรือไม่ บันทึกบัญชีอย่างไร ปฏิบัติตามคู่มือการบันทึกบัญชีใด ให้ชี้แจงเป็นเอกสารด้วย(คำยืนยัน)

71 ข้อสังเกตของจังหวัด ความเข้าใจในการบริหารเงินกองทุนฯ ของ สตง. (บางท่าน)น่าจะยังมีไม่มาก ดูได้จาก ข้อคำถามที่ซ้ำๆ หลายรอบ และการที่ไม่สามารถเชื่อมโยงข้อมูลการบริหารการเงิน ผู้รับตรวจสอบพูดถึงอะไร จะขอหลักฐานนั้นๆ ทันที (ได้รับการกระซิบมาจาก สปสช. เขต ) นอกจากการดูเอกสารแล้ว สตง. จะใช้การสังเกตด้วย

72 เสนอแนะจังหวัด ที่ยังไม่ได้รับการตรวจ
เตรียมเอกสาร หลักฐาน คู่มือ/แนวทาง/ข้อบังคับ/ระเบียบ/ประกาศ/เอกสารทางการ/มติ อปสจ. ฯ,ฯ กรณีที่ใช้งบเหลือจ่าย ต้องมี มติ ฯ รองรับ ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงจากข้อตกลงที่ทำกับ สปสช. ต้องมีหลักฐานขอเปลี่ยนแปลง เมื่อขอเอกสาร ควรให้ด้วยความรวดเร็ว (แต่ต้องกลั่นกรอง/ตรวจสอบให้รอบคอบ) แสดงความเป็นกัลยาณมิตร ***ถามค่อยตอบ ขอค่อยให้ ***

73 จังหวัดราชบุรี ตรวจเรื่องอะไรบ้าง
เงินกัน การใช้จ่ายเงินกันหลักเกณฑ์ในการกันเงิน แนวทางการดำเนินงานโดยเฉเพาะเงินเหลือจ่ายที่อยู่จังหวัด ตรวจเงินส่งเสริมป้องกัน (PP)Area Base งบค่าเสื่อม (ตรวจที่หน่วยบริการ) ตรวจการใช้จ่ายเงิน ค่าภาระงานไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย การจัดทำบัญชีทางการเงิน (บัญชี 6)

74 คำถามเรื่องเงินกัน ในปีงบประมาณ 2553 ถึง2555 สปสช.สาขาจังหวัดราชบุรี ได้กันเงินไว้บริหารจัดการระดับจังหวัดหรือไม่แต่ละปีเป็นเงินเท่าใด การกันเงินในแต่ละปีรับอนุมัติจาก อปสจ.ราชบุรี หรือไม่ อย่างไร แต่ละปีมีหลักเกณฑ์หรือวิธีปฏิบัติ และวัตถุประสงค์ในการกันเงิน อย่างไรเป็นไปตามคำสั่ง ข้อกำหนด หรือหนังสือสังการใด สปสช.สาขาจังหวัดราชบุรี ได้เบิกเงินที่กันไว้บริหารจัดการระดับจังหวัดในปีงบประมาณ 2553 ถึง 2555 หรือไม่ แต่ละปีเบิกจ่ายเงินไปแล้วเท่าใด และขอให้จัดส่งรายละเอียดการใช้เงินพร้อมสำเนาเอกสารหลักฐานเบิกจ่ายเงินดังกล่าว

75 คำถามเรื่องเงินส่งเสริมป้องกัน
ในปีงบประมาณ 2555 สำนักงาน ฯ สาขาจังหวัดราชบุรี ใช้งบประมาณ ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ใช้จ่ายโครงการใดบ้าง ขอรายละเอียดโครงการ และรายละเอียดการส่งงานให้ สปสช. ในปีงบประมาณ 2555 สำนักงาน ฯ สาขาจังหวัดราชบุรีใช้จ่ายเงินสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคหรือไม่ จำนวนเท่าใด และคงเหลือเงินอยู่เท่าใด และขอให้จัดส่งรายละเอียดการใช้เงินพร้อมสำเนาเอกสารหลักฐานเบิกจ่ายเงินดังกล่าว

76 คำถามเกี่ยวกับการบันทึกบัญชี
สำนักงาน ฯ สาขาจังหวัดราชบุรี มีการจัดทำรายงาน รับ – จ่ายเงินกองทุนประจำเดือน/ไตรมาส มีการเสนอต่อ สปสช. และอปสจ. หรือไม่

77 โชคดีทุกคนครับ


ดาวน์โหลด ppt การบริหารความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google