งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Your Investment Partner

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Your Investment Partner"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Your Investment Partner
กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ เอ็มเอฟซี มาสเตอร์ ฟันด์ ซึ่งจดทะเบียนแล้ว เฉพาะส่วน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี โดย บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน เอ็มเอฟซี จำกัด (มหาชน)

2 หัวข้อในการนำเสนอ เพื่อทราบเกี่ยวกับการดำเนินงานของกองทุน
แผนการลงทุนของ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ธนบุรี ใน MFC Master Fund สรุปภาวะเศรษฐกิจ ภาวะตลาดตราสารหนี้และ กลยุทธ์การลงทุน ภาวะตลาดตราสารทุนและ กลยุทธ์การลงทุน -1-

3 1. เพื่อทราบเกี่ยวกับ การดำเนินงานของกองทุน
กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ การประปาส่วนภูมิภาค ซึ่งจดทะเบียนแล้ว (8 กรกฎาคม 2553)

4 อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ 1 ปี เดือน มกราคม 2556 – ธันวาคม 2556
อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ 1 ปี เดือน มกราคม 2556 – ธันวาคม 2556 ความเคลื่อนไหวของอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำระยะเวลา 1 ปี ตั้งแต่ 1 ม.ค – ธ.ค เฉลี่ย 4 ธนาคาร ได้แก่ KBANK, BBL, SCB, KTB) ในช่วงเดือนมกราคม – เดือน ธันวาคม 2556 อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ 1 ปี ปรับลดลงจาก % มาอยู่ที่ % 4

5 ดัชนีผลตอบแทนรวมพันธบัตร อายุ 2 ปี เดือน มกราคม 2556 – ธันวาคม 2556
ดัชนีผลตอบแทนรวมพันธบัตร อายุ 2 ปี เดือน มกราคม 2556 – ธันวาคม 2556 ในช่วงเดือน มกราคม 2556 – ธันวาคม ดัชนีราคาพันธบัตรรัฐบาลรุ่นอายุ 2 ปี ปรับเพิ่มขึ้นจาก เป็น หรือคิดเป็น 3.61% 5

6 ดัชนีผลตอบแทนของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เดือน มกราคม 2556 – ธันวาคม 2556
ในช่วงเดือน มกราคม 2556 – ธันวคม ดัชนีตลาดหลักทรัพย์ปรับตัวขึ้น จาก 1, จุด ไปอยู่ที่ 1, หรือคิดเป็นอัตราการเปลี่ยนแปลง -6.69% 6

7 นโยบายการลงทุนที่ 2 Master Pool Fund 02 (“MPF 02”)

8 สถานะของกองทุน (MPF 02) 31 ธ.ค. 55 31 ธ.ค.56 เปลี่ยนแปลง
ณ 31 ธันวาคม 2556 31 ธ.ค. 55 31 ธ.ค.56 เปลี่ยนแปลง มูลค่าทรัพย์สินสุทธิ (ล้านบาท) ,352 4,626 1,274 มูลค่าทรัพย์สินสุทธิต่อหน่วย (บาท) %

9 สัดส่วนการลงทุน ณ 31 ธันวาคม 2556 (นโยบายตราสารหนี้ MPF02)
นโยบายการลงทุน ไม่จำกัด 40% - กลุ่ม 1: ตราสารหนี้ภาครัฐ หรือตราสารหนี้ที่ได้รับการค้ำประกันโดยกระทรวงการคลัง กลุ่ม 2: เงินฝาก หรือบัตรเงินฝากธนาคาร หรือสถายบันการเงินที่ค้ำประกันโดยกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาสถาบันการเงิน (FIDF) กลุ่ม 3: ตราสารหนี้สถาบันการเงิน กลุ่ม 4: ตราสารหนี้ออกโดยบริษัทเอกชน องค์การมหาชน และรัฐวิสาหกิจ (กระทรวงการคลังไม่ค้ำประกัน) กลุ่ม 5: อื่น ๆ อาทิ หน่วยลงทุน ตราสารอนุพันธ์ กองทุนอสังหาริมทรัพย์ ตราสารต่างประเทศ เป็นต้น

10 ผลประโยชน์ที่เกิดจากการจัดการกองทุน MPF 02 (ก่อนหักค่าใช้จ่าย) ณ 31 ธันวาคม 2556

11 ผลประโยชน์ที่เกิดจากการจัดการกองทุน MPF 02 (ก่อนหักค่าใช้จ่าย) ณ 31 ธันวาคม 2556

12 อัตราผลตอบแทน ณ 31 ธันวาคม 2556 (MFC Master Fund Sub Fund 2)

13 นโยบายการลงทุนที่ 3 Master Pool Fund 03 (“MPF 03”)

14 สถานะของกองทุน (MPF 03) 31 ธ.ค. 55 31 ธ.ค. 56 เปลี่ยนแปลง
ณ 31 ธันวาคม 2556 31 ธ.ค. 55 31 ธ.ค. 56 เปลี่ยนแปลง มูลค่าทรัพย์สินสุทธิ (ล้านบาท) ,091 1, มูลค่าทรัพย์สินสุทธิต่อหน่วย (บาท) %

15 สัดส่วนการลงทุน ณ 31 ธันวาคม 2556 (นโยบายผสม MPF03)

16 ผลประโยชน์ที่เกิดจากการจัดการกองทุน MPF 03 (ก่อนหักค่าใช้จ่าย) ณ 31 ธันวาคม 2556

17 ผลประโยชน์ที่เกิดจากการจัดการกองทุน MPF 03 (ก่อนหักค่าใช้จ่าย) ณ 31 ธันวาคม 2556

18 อัตราผลตอบแทน ณ 31 ธันวาคม 2556 (MFC Master Fund Sub Fund 3)

19 สถานะ MFC Master Fund ณ 31 ธันวาคม 2556

20 2. แผนการลงทุนของ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ใน MFC Master Fund

21 สถานะของ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
แผนการลงทุน จำนวนสมาชิก มูลค่าทรัพย์สินสุทธิ SUBFUND 2 SUBFUND 3 รวม NAV (บาท) [ 100 ] 606 251,738,023.75 - [ 95 : 5 ] 145 47,918,107.59 2,323,163.56 50,241,271.15 [ 85 : 15 ] 387 111,965,405.71 18,233,178.63 130,198,584.34 [ 80 : 20 ] 122 31,481,498.71 6,720,854.29 38,202,353.00 [ 75 : 25 ] 335 77,265,857.28 22,007,691.82 99,273,549.10 รวม 1,595 520,368,893.04 49,284,888.30 569,653,781.34 ณ 31 ธันวาคม 2556

22 อัตราผลตอบแทนตามแผนการลงทุนของ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
Sub Fund 2 Sub Fund 3 นโยบายตราสารหนี้ นโยบายผสม (หุ้น 0-100%) 2.69% -7.14% แผนที่ Sub Fund 2 Sub Fund 3 อัตราผลตอบแทน YTD อัตราผลตอบแทน YTD นโยบายตราสารหนี้ นโยบายผสม (หุ้น 0-100%) 2013* 2012 2011 2010 1 100% - 2.69 3.83 2.63 1.97 2 95% 5% 2.20 5.83 2.40 3.48 3 85% 15% 1.21 9.84 1.93 6.51 4 80% 20% 0.72 11.84 1.70 8.02 5 75% 25% 0.23 13.85 1.47 9.54 SET INDEX 27/12/2013 = 1,298.71 *ณ 31 ธันวาคม 2556 -1-

23 อัตราผลตอบแทนตามแผนการลงทุนของ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
Sub Fund 2 Sub Fund 3 นโยบายตราสารหนี้ นโยบายผสม (หุ้น 0-100%) 0.91% 8.01% แผนที่ Sub Fund 2 Sub Fund 3 อัตราผลตอบแทน YTD อัตราผลตอบแทน YTD นโยบายตราสารหนี้ นโยบายผสม (หุ้น 0-100%) 2014* 2013 2012 2011 2010 1 100% 0.91 2.69 3.83 2.63 1.97 2 95% 5% 1.26 2.20 5.83 2.4 3.48 3 85% 15% 1.21 9.84 1.93 6.51 4 80% 20% 2.33 0.72 11.84 1.7 8.02 5 75% 25% 2.68 0.23 13.85 1.47 9.54 SET INDEX 27/12/2013 = 1,298.71 *ณ 14 มีนาคม 2557 -1-

24 3. สรุปภาวะเศรษฐกิจ

25 สรุปภาพรวมเศรษฐกิจโลก
IMF ปรับเพิ่มคาดการณ์การขยายตัวทางเศรษฐกิจของโลก จากการเติบโตของกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว เศรษฐกิจกลุ่ม G-3 ซึ่งเป็นเศรษฐกิจหลักของประเทศพัฒนาแล้วขยายตัวต่อเนื่อง เศรษฐกิจจีนชะลอลงเล็กน้อย แต่เริ่มมีประเด็นปัญหาภาคการเงิน กลุ่มประเทศตลาดเกิดใหม่ประสบปัญหาเงินทุนไหลออก เศรษฐกิจไทยโดยภาพรวมชะลอตัว ยกเว้น การส่งออกสินค้า นโยบายการเงินโดยส่วนใหญ่ผ่อนคลาย ยกเว้น ธนาคารกลางสหรัฐที่ลดการเข้าซื้อสินทรัพย์ตามโครงการ QE

26 แนวโน้มเศรษฐกิจไทยและอัตราเงินเฟ้อ
ที่มา : Consensus Economic ณ เดือนมกราคม 2557, ธนาคารแห่งประเทศไทย (BOT), สภาพัฒน์ฯ (NESDB), สำนักเศรษฐกิจการคลัง (FPO) เศรษฐกิจไทยเผชิญความเสี่ยงหลัก คือ การเมืองในประเทศ ส่งผลกระทบผ่านช่องทางเความเชื่อมั่นของผู้บริโภคและนักลงทุน มีผลต่อเนื่องไปยังการใช้จ่ายภายในประเทศ เศรษฐกิจไทยมีความเสี่ยงที่จะเติบโตด้านต่ำของช่วงการคาดการณ์หากปัญหาการเมืองยืดเยื้อและไม่สามารถแก้ไขได้ภายในครึ่งแรกของปี 2557 ในกรณีที่ยืดเยื้อเกินกว่าครึ่งแรกของปี 2557 จะทำให้ GDP ชะลอตัวลงต่ำกว่าช่วงล่างของคาดการณ์มาที่ประมาณ % (yoy) การส่งออกสินค้ามีแนวโน้มค่อย ๆ ปรับตัวดีขึ้นตามเศรษฐกิจประเทศคู่ค้าและมีแนวโน้มเป็นปัจจัยขับเคลื่อนเศรษฐกิจ แต่ไม่เพียงพอที่จะชดเชยความอ่อนแอของการใช้จ่ายภายในประเทศ แรงกดดันด้านเงินเฟ้ออยู่ในระดับไม่สูงนัก เนื่องจากแรงกดดันด้านต้นทุนค่อนข้างทรงตัว และการชะลอตัวลงของอุปสงค์ในประเทศ ภายใต้ความเสี่ยงของการเติบโตทางเศรษฐกิจและแรงกดดันเงินเฟ้อในระดับต่ำ มีโอกาสที่ธนาคารแห่งประเทศไทยจะลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลงมาที่ 2.00% ต่อปี

27 ภาวะตลาดตราสารหนี้และกลยุทธ์การลงทุน

28 ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อตลาดตราสารหนี้
ปัจจัยบวก คาดเศรษฐกิจไทยในปี 2557 ยังคงขยายตัวในระดับต่ำ อุปทานของพันธบัตรรัฐบาลในปีงบประมาณ 2557 อยู่ในระดับที่จัดการได้ การดำเนินนโยบายอัตราดอกเบี้ยนโยบายในระดับต่ำของไทยและอาจจะมีการปรับลดลงได้หากปัญหาเศรษฐกิจยืดเยื้อ ปัจจัยเสี่ยง ความกังวลใจของผู้ลงทุนเกี่ยวกับการลดการดำเนินนโยบาย QE ของ FED ซึ่งส่งผลกระทบต่อเงินไหลออกของตลาดเกิดใหม่ แนวโน้มอัตราเงินเฟ้อที่จะเพิ่มขึ้นในช่วงครึ่งปีหลัง แนวโน้มอัตราดอกเบี้ยอาจจะเป็นขาขึ้นในปี 2558

29 กลยุทธ์ตราสารหนี้สำหรับระยะต่อไป
กลยุทธ์ด้านอัตราดอกเบี้ย รักษาอายุเฉลี่ยของกองทุนที่ระดับ 1.5 +/- 0.5 ปี ชะลอการลงทุนในพันธบัตรรัฐบาลรุ่นอายุมากกว่า 5 ปี และเน้นการลงทุนในพันธบัตรอายุประมาณ 2-3 ปี กลยุทธ์ด้านเครดิต เพิ่มสัดส่วนการลงทุนในเงินฝากและตราสารหนี้ระยะสั้นของธนาคาร เมื่อผลตอบแทนสูงกว่าพันธบัตรในช่วงอายุเดียวกันและแนวโน้มอัตราดอกเบี้ยต่ำสุดแล้ว หุ้นกู้บริษัทเอกชน : รักษาสัดส่วนการลงทุนในตราสารหนี้เอกชน โดยเน้นตราสารหนี้ที่ผู้ออกมีสถานะทางการเงินที่แข็งแกร่ง ได้รับอันดับเครดิต Rating A- ขึ้นไป และอายุไม่เกิน 5 ปี เดเด

30 สรุปภาวะเศรษฐกิจโลกปี 2556 และแนวโน้มปี 2557

31 Stock Market Review 2013

32 ปัจจัยบวก ปัจจัยลบ แนวโน้มตลาดตราสารทุนในไตรมาส 1/2557
การฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกอย่างค่อยเป็นค่อยไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มประเทศคู่ค้าที่สำคัญของประเทศไทย เช่น สหรัฐอเมริกา จีน ญี่ปุ่น สหภาพยุโรป เป็นต้น : การเคลื่อนย้ายเงินลงทุนมายังสินทรัพย์เสี่ยงเพิ่มขึ้น : การฟื้นตัวของภาคการส่งออก นโยบายทางการเงินที่ผ่อนคลายของธนาคารกลางทั่วโลก : การเคลื่อนย้ายเงินลงทุนมายังสินทรัพย์เสี่ยงเพิ่มขึ้นเพื่อหาผลตอบแทนที่สูงกว่าอัตราเงินเฟ้อ : Carry Trade มายัง Emerging markets การขยายตัวของเศรษฐกิจไทยในปี 2557 ที่เติบโตในอัตรา 2.7 – 3.3% และการเติบโตของผลประการของบริษัทจดทะเบียนในระดับ 10-12% การลดขนาดการเข้าซื้อสินทรัพย์จากมาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณ (QE: Quantitative Easing) : Unwind US dollar carry trade : Bond yield ปรับตัวเพิ่มขึ้นมีผลให้ง Earnings yield gap แคบลง ปัจจัยการเมืองภายในประเทศ : การชุมนุมอย่างต่อเนื่อง และการที่ไม่สามารถจัดตั้งรัฐบาลใหม่ได้ ส่งผลให้ความเชื่อมั่นของนักลงทุนลดลง และชะลอการเติบโตทางเศรษฐกิจ รวมทั้งส่งผลให้เกิดความล่าช้าของการก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐาน : ประเด็นทางการเมืองที่มีแนวโน้มยืดเยื้อมีผลให้อัตราการเติบโตของเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มชะลอตัวและถูกปรับลดประมาณการ 32

33 แนวโน้มตลาดหุ้นไทย ในระยะเวลา 6 เดือน – 12 เดือนข้างหน้า
MFC คาดว่าเป้าหมายดัชนีหลักทรัพย์ ปี 2557 ที่ประมาณ 1,428 จุด จากสภาพเศรษฐกิจโลกที่ฟื้นตัว, อัตราดอกเบี้ยที่อยู่ในระดับต่ำเกือบทั่วโลก, สภาพคล่องที่มีอยู่สูงจากนโยบายการเงินที่ผ่อนคลายทั่วโลก, อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศที่ % และผลประกอบการบริษัทจดทะเบียนเติบโต ร้อยละ 10-12% ในปี 2557 ทาง MFC มองว่าทิศทางของ SET index ในกรณีต่างๆ น่าจะเป็นไปตามตารางด้านล่าง อย่างไรก็ตามตลาดหุ้นไทยมีความเสี่ยงและผันผวนสูงจาก ปัจจัยการเมืองภายในประเทศที่จะมีผลกระทบเชิงลบต่อการบริโภคภายในประเทศ, การลงทุนทั้งของภาครัฐในโครงสร้างขนาดใหญ่ และการลงทุนภาคเอกชน รวมทั้งยังกดดันความเชื่อมั่นของนักลงทุน การปรับลดวงเงินมาตรการ QE ของสหรัฐอเมริกา เศรษฐกิจโลกที่ค่อนข้างเปราะบาง และการชะลอตัวทางเศรษฐกิจของกลุ่มประเทศในตลาดเกิดใหม่ (Emerging markets) 33

34 กลยุทธ์ตราสารทุนในไตรมาส 1/2557
กลยุทธ์ด้านน้ำหนักการลงทุนในตราสารทุน รักษาสัดส่วนการลงทุนอยู่ในระดับ 80% (+ 5%) ทยอยขายทำกำไรและกลับเข้าลงทุนใหม่ (Trading Strategy) เพื่อลดระดับความเสี่ยงในช่วงที่ตลาดมีความผันผวน กลยุทธ์ด้านน้ำหนักการลงทุนในกลุ่มอุตสาหกรรม Overweight : Telecommunication,Transportation, Food,Healthcare, Petrochemical, Electronics Trading : Industrial estate, Contractor, Construction Material, Tourism Underweight: Residential Estate, Commerce, Media, Banking, Energy 34

35 กลยุทธ์การลงทุนของตลาดหุ้นไทย ในระยะเวลา 6 เดือน – 12 เดือนข้างหน้า
Tactical Asset Allocation: รักษาสัดส่วนการลงทุนให้อยู่ในระดับ 75-85% ของสัดส่วนการลงทุนในหุ้นที่ได้รับการอนุมัติ เพื่อรองรับการเติบโตของเศรษฐกิจและผลกำไรของบริษัทจดทะเบียนไทยที่ยังคงเติบโตอย่างต่อเนื่องด้วยอัตราการเติบโตที่ดี เพิ่มน้ำหนักการลงทุนให้หุ้นกลุ่ม Blue chip เพื่อลดความเสี่ยงและเพิ่มสภาพคล่องให้กับพอร์ตการลงทุนในภาวะที่ตลาดมีความผันผวนสูงจากความไม่แน่นอนของการเคลื่อนย้ายของกระแสเงินลงทุนต่างชาติและความไม่แน่นอนทางการเมืองภายในประเทศ และลดน้ำหนักการลงทุนในหุ้นกลุ่มที่พึ่งพาการบริโภคภายในประเทศ Core Portfolio: เน้นกลุ่มได้ที่ผลประกอบการจะปรับตัวดีขึ้นจากการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก, กลุ่มหุ้นที่มีการเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้าง (การเปลี่ยนระบบโทรศัพท์เป็น 3G และระบบทีวีดิจิตอล, โครงสร้างประชากรสู่สังคมผู้สูงวัยและการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ), กลุ่มหุ้นที่ผลประกอบการเติบโตไปกับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว และการขยายตัวของระบบขนส่งมวลชน ได้แก่ ได้แก่ กลุ่มเทคโนโลยีและสารสนเทศ, กลุ่มการแพทย์, กลุ่มขนส่งและโลจิสติกส์, กลุ่มปิโตรเคมี, กลุ่มอาหาร, กลุ่มอิเล็กทรอนิกส์ Trading Portfolio: กลุ่มวัสดุก่อสร้าง, กลุ่มผู้รับเหมา, กลุ่มนิคมอุตสาหกรรม โรงงานและโกดังสินค้าให้เช่า, กลุ่มท่องเที่ยว 35

36


ดาวน์โหลด ppt Your Investment Partner

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google