งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Topic 11 เงินเฟ้อ เงินฝืด การว่างงาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Topic 11 เงินเฟ้อ เงินฝืด การว่างงาน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Topic 11 เงินเฟ้อ เงินฝืด การว่างงาน

2 1. ความหมายของเงินเฟ้อ เงินเฟ้อ : ภาวะที่ระดับราคาสินค้าสูงขึ้นเรื่อยๆ และไม่จำเป็นว่าราคา สินค้าทุกชนิดต้องสูงขึ้นในเวลาที่เกิดเงินเฟ้อ อาจมีสินค้าบางชนิดราคา ราคาลดลงได้และบางชนิดราคาสูงขึ้น แต่สิ่งสำคัญคือ เมื่อพิจารณาราคทั้งหมดแล้วโดยเฉลี่ยมีราคาสูงขึ้น เราดูเงินเฟ้อได้จากดัชนีราคาผู้บริโภค (Consumer price index: CPI) ดัชนีราคา : ตัวเลขที่แสดงระดับราคาของปีได้ปีหนึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับระดับราคาของปีฐาน โดยให้ระดับราคาของปีฐานเทียบเท่ากับ 100

3 ความหมายของเงินเฟ้อ (continued)
อัตราเพิ่มของดัชนีราคาผู้บริโภคที่คำนวณออกมาในรูปร้อยละ แสดงถึง อัตราเงินเฟ้อ (Inflation rate) Inflation rate t = (CPIt – CPIt-1/ CPIt-1 )*100 Inflation rate = (CPI2011 – CPI2010/ CPI2010 )*100

4 2. สาเหตุของการเกิดเงินเฟ้อ
2.1 เงินเฟ้อด้านอุปสงค์ เป็นเงินเฟ้อที่เกิดจากอุปสงค์รวมเพิ่มขึ้น (AD)ในขณะที่อุปทานรวมของสินค้าและบริการไม่สามารถเพิ่มขึ้นได้ เงินเฟ้อทางด้านอุปสงค์เรียกว่า Demand - Pull Inflation AD เพิ่มขึ้น เนื่องจาก - ส่วนประกอบของAD เพิ่มขึ้น คือ C , I , G , หรือ X เพิ่มขึ้น - ปริมาณเงินที่หมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจ (Money Supply: MS) เพิ่มขึ้นเนื่องจากการขยายสินเชื่อของธนาคารพาณิชย์

5 สาเหตุของการเกิดเงินเฟ้อ (continued)
How does commercial bank create money supply? Decrease interest rate (r) Bank policy eg. expand credit line, adjust collateral Economy MS Increase: C, I, G, (X-M) through multipliers Bank Decrease r Price increase

6 การวิเคราะห์เงินเฟ้อทางด้านอุปสงค์จากกราฟ
AS P E’ D F AD2 P’ AD2 P AD1 E AD1 Q Yf Ya Qf รายได้ระดับที่จ้างงานเต็มที่ (P*Q,fixed) ผลผลิตสูงสุดที่มีการจ้างงานเต็มที่

7 2.2 เงินเฟ้อที่เกิดจากสาเหตุด้านอุปทาน
2.2 เงินเฟ้อที่เกิดจากสาเหตุด้านอุปทาน เป็นเงินเฟ้อที่เกิดขึ้นเนื่องจากต้นทุนการผลิตสินค้าเพิ่มขึ้น ทำให้ผู้ผลิตจะต้องเสนอขายสินค้าในราคาที่สูงขึ้น เงินเฟ้อที่เกิดทางด้านอุปทานเรียกว่า Cost - Push Inflation ต้นทุนการผลิตเพิ่มขึ้นเนื่องจาก 1. ค่าจ้างแรงงานเพิ่มขึ้น (while productivity constant) ราคาเชื้อเพลิงและวัตถุดิบสูงขึ้น การเพิ่มขึ้นของอัตรากำไรของผู้ผลิต ต้นทุนของเงินทุน (Cost of fund) เพิ่มขึ้น : high interest rate

8 การวิเคราะห์เงินเฟ้อทางด้านอุปทาน
P AS E’ P’ P E AD Q Q’ Qf ผลการผลิตสูงสุดที่ระดับการจ้างงานเต็มที่

9 3. ผลกระทบของเงินเฟ้อ 1. อำนาจการซื้อลดลง
1. อำนาจการซื้อลดลง 2. การออมและการลงทุนลดลง (High consumption in the current period) 3. การกระจายรายได้เหลื่อมล้ำมากขึ้น บุคคลที่ได้ประโยชน์จากเงินเฟ้อ เจ้าของกิจการ ผู้ผลิต นักเก็งกำไร ลูกหนี้ บุคคลที่เสียประโยชน์ ผู้ที่มีรายได้ประจำ เจ้าหนี้ 4. การส่งออกของประเทศลดลง การนำเข้าเพิ่มขึ้น

10 4. การแก้ไขปัญหาเงินเฟ้อ
การแก้ปัญหาเงินเฟ้อจะทำได้โดยลดอุปสงค์รวม (AD) ซึ่งสามารถทำได้โดยใช้นโยบายการเงินและนโยบายการคลัง นโยบายการคลัง : เกี่ยวข้องกับการจัดเก็บภาษี และการใช้จ่าย ของรัฐบาล เมื่อเกิดเงินเฟ้อรัฐบาลควรมีงบประมาณเกินดุล นโยบายการเงิน : เกี่ยวข้องกับการปล่อยสินเชื่อของธนาคารพาณิชย์ เมื่อเกิดเงินเฟ้อธนาคารควรลดการปล่อยสินเชื่อ

11 เงินฝืด (Deflation) : ภาวะที่ระดับราคาสินค้าและบริการทั่วไปลดลงเรื่อยๆ เนื่องจากอุปสงค์มีน้อยกว่าปริมาณสินค้าทำให้สินค้าเหลือ ราคาสินค้าลดลง การผลิตลดลง การจ้างงานลดลง รายได้ลดลง ผลของเงินฝืด : อำนาจซื้อของผู้บริโภคเพิ่มขึ้น ผู้ที่ได้ประโยชน์ : เจ้าหนี้ , ผู้มีรายได้ประจำ ผู้ที่เสียประโยชน์ : ผู้ที่มีรายได้จากกำไร , ลูกหนี้ การแก้ปัญหาเงินฝืด : ใช้นโยบายการเงิน การคลัง เพื่อกระตุ้นให้ อุปสงค์รวมสูงขึ้น

12 5. การว่างงาน (Unemployment)
: ภาวะการณ์ที่บุคคลซึ่งอยู่ในวัยทำงาน (from 13 years) มีความสามารถที่จะทำงานและสมัครใจที่จะทำงาน แต่ไม่สามารถหางานทำได้ จึงทำให้ไม่มีงานทำ เราถือว่าบุคคลเหล่านี้ว่างงานโดยไม่สมัครใจ (Involuntary Unemployment) ประเภทของการว่างงาน 1. การว่างงานโดยเปิดเผย (in survey period): temporary, seasonal 2. การว่างงานแอบแฝง หรือ การทำงานต่ำกว่าระดับ

13 ผลกระทบของการว่างงาน
1. การใช้ประโยชน์จากแรงงานไม่เต็มที่ 2. การออมและการลงทุนของประเทศลดลง 3. การกระจายรายได้เหลื่อมล้ำมากขึ้น 4. การคลังของรัฐบาลแย่ลง (T ลด, G เพิ่ม) การแก้ใขปัญหาการว่างงาน แก้ปัญหาตามประเภทของการว่างงาน


ดาวน์โหลด ppt Topic 11 เงินเฟ้อ เงินฝืด การว่างงาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google