ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
กลุ่มที่ 1 สภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุ
2
ความเป็นมา ปัจจุบันข้อมูลโรคที่สำคัญและมีการเก็บอยู่แล้วโดยหน่วยงานต่างๆมีเป็นจำนวนมาก ข้อมูลดังกล่าวได้แก่ ข้อมูลทั่วไป : อายุ ที่อยู่ ศาสนา สถานภาพสมรส สถานะสุขภาพทั่วไป : การตาย ความพิการ ภาระโรค สุขภาพเฉพาะประเด็น : เบาหวาน หัวใจและหลอดเลือด มะเร็ง สุขภาพจิต สุขภาพในช่องปาก ปัจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง
3
ความเป็นมา ปัญหาของข้อมูลที่มีอยู่ มีผู้เก็บซ้ำกันหลายหน่วยงาน
ข้อมูลที่เก็บยังอยู่กับผู้เก็บเป็นส่วนใหญ่ ยังไม่ได้นำมาประมวลผลรวมกัน หรือมีการประมวลผลรวมกันเฉพาะบางประเด็น ซึ่งอาจไม่ตรงความต้องการหรือตรงเวลา เข้าถึงยาก ข้อมูลบางประเด็นอาจยังไม่ถูกต้องหรือไม่ทันสมัย
4
วัตถุประสงค์ เพื่อทราบและวิเคราะห์ระบบข้อมูลสุขภาพที่มีอยู่ในปัจจุบัน
จัดทำข้อเสนอและแนวทางเพื่อปรับปรุงระบบและหมวดหมู่ข้อมูลที่มีอยู่ ให้ลดความซ้ำซ้อน และครอบคลุมมากขึ้น จัดทำฐานข้อมูลสุขภาพและโรคระดับพื้นที่
5
แนวทางการทำงาน วิเคราะห์สถานการณ์ระบบข้อมูลสุขภาพที่มีอยู่
มีการจัดเก็บหรือไม่ ใครเป็นผู้จัดเก็บ อยู่ในฐานข้อมูลใด คุณภาพของข้อมูลเป็นอย่างไร ข้อมูลใดที่ควรจัดเก็บเพิ่ม เสนอแนวทางการจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพที่สมบูรณ์
6
นำเข้าข้อมูลจากทะเบียนราษฎร์
ดำเนินการโดย อสม. PCU ข้อมูลที่ได้รับการแจ้งกลับจากโรงพยาบาลในเครือข่าย สรุป สสอ การส่งเสริมป้องกัน ข้อมูลการมารับบริการ ณ PCU สรุป สรุป CUP การให้บริการ โรคที่เฝ้าระวัง สสจ สรุป
7
ระบบการส่งต่อข้อมูล เอกสาร รายงานสรุปแบบ electronics
ฐานข้อมูลที่แท้จริงยังอยู่ในรูปแบบ hard copy ที่ PCU หรือ รพช. แล้วแต่กรณี
8
ข้อมูลของสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1
9
วิธีการเก็บข้อมูล ข้อมูลประชากร
จากรายงานประชากรกลางปี สำนักทะเบียนกลาง มีวิธีการเก็บข้อมูลโดยเชื่อมข้อมูลจากสำนักทะเบียนกลาง ข้อมูลที่มาจากการสำรวจ จะมีวิธีการเก็บข้อมูลโดยเชื่อมข้อมูลจากฐานข้อมูล โดยใช้โปรแกรม Web Application ในการเชื่อมต่อข้อมูลข่าวสาร ซึ่งมีระยะเวลาในการเก็บรวบรวมข้อมูล ปีละ 1 ครั้ง
10
วิธีการเก็บข้อมูล ข้อมูลสถิติชีพ สูติบัตร มรณบัตร
รายงานการปฏิบัติงานควบคุมกามโรค ( แบบ ก.1) รายงานสถานการณ์กามโรค ( แบบ ก.2 )
11
วิธีการเก็บข้อมูล สูติบัตร มรณบัตร สำนักทะเบียนกลาง จะมีวิธีการเก็บข้อมูลโดยการเชื่อมข้อมูลจากสำนักทะเบียนกลาง รายงานการปฏิบัติงานควบคุมกามโรค ( แบบ ก.1) รายงานสถานการณ์กามโรค ( แบบ ก.2 ) จะมีวิธีการเก็บข้อมูลในสรุปการปฏิบัติงานควบคุมกามโรค และสรุปงานสถานการณ์กามโรค Web สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ จะมีวิธีการเก็บข้อมูลตาม ข้อมูลการตายก่อนวัยอันควร ( YLL) และตามข้อมูลการสูญเสียด้านสุขภาพ ( DALY )
12
วิธีการเก็บข้อมูล รายงาน 12 แฟ้ม จะมีวิธีการเก็บข้อมูลจากข้อมูลผู้ป่วยใน 12 แฟ้ม จากโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขทั่ว ระบบบัตรรายงาน ( รง.506 ) จะมีวิธีการเก็บข้อมูลจาการรวบรวมรายงานระบาดวิทยา โดยที่ข้อมูลทั้งหมดจะใช้โปรแกรม Web Application เป็นวิธีการเก็บข้อมูล ในระยะเวลาการรายงาน 1 ปี
13
วิธีการเก็บข้อมูล ข้อมูลโรค
ข้อมูลโรคต่างๆ จะมีแหล่งที่มาของข้อมูลมาจากงานระบาดวิทยา ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด โดยจะจัดทำขึ้นในรูปแบบรายงาน โดยแบ่งเป็น 2 ประเภท
14
วิธีการเก็บข้อมูล 1. โรคที่ต้องรายงานภายใน 24 ชั่วโมง ( 12 โรค )
1. โรคที่ต้องรายงานภายใน 24 ชั่วโมง ( 12 โรค ) จะรายงานตามแบบฟอร์มรายงานโรคเร่งด่วนของแต่ละโรคโดยมีระยะเวลาการรายงาน จังหวัด ( ภายใน 24 ชั่วโมง ) เขต ( 1 สัปดาห์ )
15
วิธีการเก็บข้อมูล 2. โรคที่ต้องรายงานภายใน 1 สัปดาห์ ( 9 โรค + 1 โรค คือ Strepsusis) จะรายงานตามแบบฟอร์มรายงานโรค (E1) สำหรับโรคไข้เลือดออก สำหรับโรคอื่น รายงานตามจำนวนผู้ป่วย / ตาย โดยมีระยะเวลาการรายงาน จังหวัด ( 1 สัปดาห์ ) เขต ( 2 สัปดาห์ )
16
คุณภาพของข้อมูล ข้อมูลส่วนใหญ่เป็นข้อมูลที่มีอยู่แล้ว แต่ยังไม่มีการแยกกลุ่มผู้สูงอายุออกมาโดยเฉพาะ ผู้จัดเก็บในพื้นที่ วิธีการจัดเก็บ การคัดลอกสำเนาทะเบียนบ้าน ความละเอียดของข้อมูล ข้อมูลที่ต้องจัดเก็บเปลี่ยนแปลงบ่อย ทำให้ไม่สามารถพัฒนาวิธีการเก็บได้อย่างต่อเนื่อง
17
การปรับปรุงระบบข้อมูล
มีความพยายามในการปรับปรุงระบบข้อมูลอย่างต่อเนื่อง ความริรเริ่มของสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 ความร่วมมือของมหาวิทยาลัยมหิดลกับศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงสาธารณสุข
23
ข้อมูล ผู้จัดเก็บ ความถี่ คุณภาพ ชื่อ อสม เชื่อมโยงทะเบียนราษฎร์ ปีละ 1 ครั้ง ปานกลาง ดี การเป็นสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ การเป็นโรคความดันโลหิต ความดันโลหิตที่วัด 3 ครั้งสุดท้าย เจ้าหน้าที่ สอ ตามที่นัดผู้ป่วย
24
สรุป : กลุ่มที่ 1 สภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.