งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ความชุกของการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีในผู้บริจาคโลหิตในจังหวัดพิษณุโลก

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ความชุกของการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีในผู้บริจาคโลหิตในจังหวัดพิษณุโลก"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ความชุกของการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีในผู้บริจาคโลหิตในจังหวัดพิษณุโลก
นสพ. แดน ศรีณรงค์ นสพ. ลัดดา สามล นสพ. ละออ ชมพักตร์

2 ทบทวนวรรณกรรม 1. Alter Miriam J.และคณะศึกษาเรื่อง The prevalence of HCV infection in the United states , พบความชุกของการติดเชื้อ HCV 1.8% ( 382/21,241 ) 2. สุรีย์พร ลิมป์ศุภฤกษ์ ศึกษาในกลุ่มผู้บริจาคโลหิตของ โรงพยาบาลเลิศสิน พบความชุกของการติดเชื้อ HCV 4.6% ( 13/284 )

3 คำถามการวิจัย คำถามหลัก : ความชุกของการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีในผู้บริจาค โลหิตในจังหวัดพิษณุโลกเป็นอย่างไร คำถามรอง : 1. ความชุกของการติดเชื้อ HBV และ HIV ในผู้บริจาคโลหิตใน จังหวัดพิษณุโลกเป็นอย่างไร 2. ผู้บริจาคกลุ่มใดที่มีการติดเชื้อ HCV , HBV และ HIV มากที่สุด ในรพ.พุทธ ฯ โดยจำแนกตาม เพศ ,อายุ และ พื้นที่

4 3. ความสัมพันธ์ของการติดเชื้อร่วมกันระหว่าง HCV กับ HIV
HCV กับ HBV และ HBV กับ HIV ในผู้บริจาคโลหิตใน จังหวัดพิษณุโลกเป็นอย่างไร 4. ความชุกของการติดเชื้อ HCV , HBV และ HIV ในผู้บริจาค โลหิตจังหวัดเพชรบูรณ์ , กำแพงเพชร และอุตรดิตถ์ เป็น อย่างไร

5 วัสดุและวิธีการวิจัย
วิธีการ :: การศึกษาเชิงพรรณนาโดยศึกษาย้อนหลังเป็นเวลา 8 เดือน ( มกราคม - สิงหาคม 2543 ) กลุ่มตัวอย่าง : :เก็บข้อมูลจากสำนักงานภาคบริการโลหิตจังหวัด พิษณุโลก โดยเลือกผู้บริจาคทั้งหมด 1. กลุ่มผู้บริจาคโลหิต จ.พิษณุโลก จำนวน 8,107 ราย แยกเป็น 2 กลุ่ม

6  กลุ่มผู้บริจาคโลหิตที่ รพ.พุทธ ฯ 2,538 ราย
จำแนกตาม กลุ่มอายุ , เพศ และพื้นที่  กลุ่มผู้บริจาคโลหิตที่บริจาคกับหน่วยกาชาด เคลื่อนที่ นอก รพ . พุทธ ฯ ,569 ราย 2. กลุ่มผู้บริจาคโลหิตใน จ.เพชรบูรณ์ 7,396 ราย กำแพงเพชร 5,254 ราย และ อุตรดิตถ์ 4,856 ราย วิธีการตรวจ : HCV - Ab , HBsAg , HIV - Ab โดย ELISA การวิเคราะห์ข้อมูล : Epi info version6 ; Chi - square test

7

8 The prevalence of HCV , HBV and HIV in blood donors in BH classified by age

9 The prevalence of HCV , HBV and HIV in blood
donors in BH classified by sex

10

11

12

13

14

15 1. ความชุกของการติดเชื้อ HCV ใน จ.พิษณุโลก คิดเป็น 1.8%
สรุปและวิจารณ์ 1. ความชุกของการติดเชื้อ HCV ใน จ.พิษณุโลก คิดเป็น 1.8% 2. ความชุกของการติดเชื้อ HCV ของผู้บริจาคโลหิตใน รพ. พุทธ ฯ มากกว่าผู้บริจาคโลหิตนอก รพ. พุทธ ฯ 3. ผู้ชายมีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ HCV มากกว่าผู้หญิง 1.28 เท่า ( p < 0.05 , 95%CI = ) 4. กลุ่มอายุที่มีการติดเชื้อ HCV น้อยที่สุด คือ ปี

16 5. อำเภอวัดโบสถ์ พบความชุกของการติดเชื้อ HCV มากที่สุด
6. ผู้บริจาคที่ติดเชื้อ HCV มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ HBV เป็น 2.2 เท่า เมื่อเทียบกับผู้ที่ไม่ติดเชื้อ HCV ( p < 0.05 , 95%CI = ) 7. ไม่พบความสัมพันธ์ของการติดเชื้อร่วมกันระหว่าง HCV กับ HIV และ HBV กับ HIV 8. จ. เพชรบูรณ์มีความชุกของการติดเชื้อ HCV มากที่สุด

17 ข้อเสนอแนะ 1. ควรจะมีการจัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับผู้บริจาคโลหิตให้ครบถ้วน
เป็นระบบ เพื่อที่จะเป็นประโยชน์ในการศึกษาต่อไป เช่น  ปัจจัยเสี่ยงต่อการติดเชื้อ เช่น ประวัติการรับเลือด ในอดีต , ประวัติการฉีดยาเสพติดเข้าเส้น ( IDU )  การบริจาคโลหิตครั้งสุดท้าย  อาชีพ, การศึกษา

18 2. เนื่องจากข้อมูลเพียง 8 เดือน ไม่สามารถที่จะศึกษาแนว
โน้มของการติดเชื้อได้ ดังนั้น ควรศึกษาข้อมูลย้อนหลัง หลายปี เพื่อจะได้เห็นแนวโน้มที่ชัดเจนขึ้น 3. เนื่องจากกลุ่มผู้บริจาคโลหิตที่ได้ศึกษาในครั้งนี้ในแต่ละพื้น ที่มีจำนวนและการกระจายที่ไม่เท่ากัน ทำให้เป็นตัวแทน ของประชากรในพื้นที่ได้ไม่ดี ดังนั้นถ้าต้องการศึกษาเปรียบ เทียบความชุกของแต่ละพื้นที่ ควรที่จะลงไปเก็บข้อมูลใน พื้นที่นั้นโดยตรง

19 4. ควรมีการรณรงค์ให้ความรู้ เกี่ยวกับเชื้อ HCV กับ
ประชาชน ในด้านการติดต่อ การป้องกันโรค จบบริบูรณ์


ดาวน์โหลด ppt ความชุกของการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีในผู้บริจาคโลหิตในจังหวัดพิษณุโลก

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google