งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โครงการจัดตั้งศูนย์แห่งความเป็นเลิศ ด้านอาหารและสิ่งแวดล้อมปลอดภัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โครงการจัดตั้งศูนย์แห่งความเป็นเลิศ ด้านอาหารและสิ่งแวดล้อมปลอดภัย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โครงการจัดตั้งศูนย์แห่งความเป็นเลิศ ด้านอาหารและสิ่งแวดล้อมปลอดภัย

2 วิสัยทัศน์ ด้านอาหารและสิ่งแวดล้อมปลอดภัย
สร้างความเป็นเลิศในงานวิจัย ด้านอาหารและสิ่งแวดล้อมปลอดภัย เพื่อให้ได้อาหารที่มีมาตรฐานและความปลอดภัย ต่อเกษตรกรผู้ผลิต ผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม

3 พันธกิจ 1. จัดหาครุภัณฑ์สำหรับการทำงานวิจัยด้านอาหารและสิ่งแวดล้อมปลอดภัย 2. สร้างผลงานวิจัยที่มีคุณภาพและสามารถเผยแพร่ในระดับชาติ และ นานาชาติ 3. ผลิตบัณฑิตในระดับปริญญาโทและเอกที่มีคุณภาพ 4. สร้างองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ซึ่งสามารถพัฒนาไปสู่การผลิต เชิงพาณิชย์ รวมถึงการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ปลอดภัย

4 พันธกิจ(ต่อ) 6. แสวงหาแหล่งทุนวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
5. สร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างนักวิจัยจากสหสาขาวิชาทั้งภายในและหน่วยงานภายนอกมหาวิทยาลัย 6. แสวงหาแหล่งทุนวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก 7. เป็นศูนย์กลางการถ่ายทอดและเผยแพร่ผลงานวิจัยหรือเทคโนโลยีใหม่ที่ได้จากงานวิจัยสู่ชุมชนและให้บริการทางวิชาการแก่ชุมชน 8. เป็นศูนย์บริการในการตรวจสอบวิเคราะห์คุณภาพ มาตรฐาน รวมไปถึงสารตกค้างในผลิตผลสดอาหารแปรรูป และสิ่งแวดล้อม

5 หัวหน้าโครงการ 1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พีระศักดิ์ ฉายประสาท Ph.D. (Agricultural Science) ภาควิชาวิทยาศาสตร์การเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ฯ ม.นเรศวร 2. รองศาสตราจารย์ ดร.เสวียน เปรมประสิทธิ์ Ph.D (Forest Ecology) ภาควิชาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คณะเกษตรศาสตร์ฯ ม.นเรศวร 3. ดร.อาภรณ์ จรัญรัตนศรี วท.ด. (วิทยาศาสตร์การอาหาร) ภาควิชาอุตสาหกรรมเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ฯ ม.นเรศวร

6 ผู้ร่วมโครงการ 1. รศ. ดร. วารินทร์ พิมพา วท.ด. (เทคโนโลยีชีวภาพ)
1. รศ. ดร. วารินทร์ พิมพา วท.ด. (เทคโนโลยีชีวภาพ) 2. ผศ. ดร. บุญส่ง แสงอ่อน Ph.D. (Food Science and Technology) 3. ผศ. ดร. วันดี ทาตระกูล Dr. Sc. agr. (Animal Production and Nutrition) 4. ผศ. ดร. ชนิดา หันสวาสดิ์ Ph.D. (Agricultural Chemistry : Food Biochemistry) 5. ดร. สิริรัตน์ แสนยงค์ วทด. (โรคพืช) 6. ดร. วิภา หอมหวล Ph.D. (Plant and Soil Science) 7. ดร. อุดมพร เพ่งนคร Ph.D. (Entomology and Agronomy) 8. ดร. ธนูชัย กองแก้ว Dr.agr. (Agronomy)

7 ผู้ร่วมโครงการ (ต่อ) 9. ดร.ชนินทร์ อัมพรสถิร (มลพิษทางอากาศ)
9. ดร.ชนินทร์ อัมพรสถิร (มลพิษทางอากาศ) 10. ดร. กณิตา ธนเจริญชณภาส (มลพิษทางอากาศ) 11. อาจารย์พันธ์ทิพย์ กล่อมเจ๊ก (มลพิษทางน้ำ) 12. ดร.จรูญ สารินทร์ (Environmental Microbiology) 13. ผศ. ดร. ศิริพงษ์ เปรมจิต (Fungal biotechnology) 14. ผศ.ดร.มยุรี กระจายกลาง (เทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์) 15. ผศ.ดร. ดวงพร เปรมจิต (Plant Cytogenetics)

8 ผู้ร่วมโครงการ (ต่อ) 16. รศ.ดร. กิจการ พรหมมา (อุทกธรณีวิทยาสิ่งแวดล้อม) 17. ดร.สันธิวัฒน์ พิทักษ์พล (เทคโนโลยีการประมง) 18. ดร.วาสนา ณ ฝั้น (เทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์) 19. นายดุสิต เสรเมธากุล (ป่าไม้) 20. ผศ.ดร.เหรียญทอง สิงค์จานุสงค์ Ph.D.(Food Science and Technology) 21. ผศ.ดร.สุดารัตน์ เจียมยั่งยืน Ph.D.(Food Science and Technology)

9 เครือข่ายความร่วมมืองานวิจัยกับหน่วยงานภายนอกมหาวิทยาลัย
1. รศ. ดร. จริงแท้ ศิริพานิช Ph. D. (Horticulture) ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2. รศ. ดร. ดนัย บุญยเกียรติ Ph.D. (Horticulture) ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 3. ดร. ไพโรจน์ หลวงพิทักษ์ Ph.D. (Food Nutrition) ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 4. ดร. ปิยศักดิ์ ชอุ่มพฤกษ์ Ph. D. (Plant Biotechnology) ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

10 เครือข่ายความร่วมมืองานวิจัยกับหน่วยงานภายนอกมหาวิทยาลัย(ต่อ)
5. ดร. สมชาย บุญประดับ วท. ด. (พืชไร่) สถานีทดลองพืชไร่ พิษณุโลก กรมวิชาการเกษตร 6. รศ. ดร. สุนทร คำยอง (Forest Ecology) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 7. รศ. ดร. ดร.สุระ พัฒนเกียรติ (Forestry) มหาวิทยาลัยมหิดล 8. ผศ.ดร. กาญนิถา ครองธรรมชาติ (วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม)มหาวิทยาลัยขอนแก่น

11 เครือข่ายความร่วมมืองานวิจัยกับหน่วยงานภายนอกมหาวิทยาลัย(ต่อ)
9. ดร. ชลอ จารุสุทธิรักษ์ (วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 10. ดร. เทพวิฑูรย์ ทองศรี (เทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม) กรมวิทยาศาสตร์บริการ 11. ดร. นิวัฒน์ นภีรงค์ (การปรับปรุงการผลิตข้าว) ศูนย์วิจัยข้าวพิษณุโลก

12 งบประมาณรวม ในวงเงิน 10,000,000 (สิบล้านบาทถ้วน)
งบประมาณรวม ในวงเงิน 10,000,000 (สิบล้านบาทถ้วน) รายชื่อครุภัณฑ์ ราคาประเมิน(บาท) 1. เครื่องโครมาโทกราฟแบบของเหลวสมรรถนะสูง (HPLC) 1,300,000 2. เครื่องวิเคราะห์หาปริมาณโลหะหนักแบบคลื่นความถี่ (ICP-OES) 3,000,000 3. เครื่องแก๊สโครมาโตกราฟแมสสเปกโตรมิเตอร์ (GC-MS) 4. เครื่องวิเคราะห์ลักษณะเนื้อสัมผัสของอาหาร (Texture Analyzer) 1,000,000 5. เครื่องสกัดสารอินทรีย์ก่อนฉีดเข้าเครื่องโครมาโตรกราฟ (Purge & Trap Concentrator) 6. เครื่องตกตะกอนโดยการหมุนเหวี่ยงแบบควบคุมอุณหภูมิได้ (Centrifuge) 350,000 7. ตู้แช่แข็งอุณหภูมิต่ำ (Up-Right Freezer) รวม 10,000,000

13 HPLC ICP-OES GC-MS

14 Deep Freezer Purge and Trap Centrifuge Texture analyzer

15 จบการนำเสนอ


ดาวน์โหลด ppt โครงการจัดตั้งศูนย์แห่งความเป็นเลิศ ด้านอาหารและสิ่งแวดล้อมปลอดภัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google