งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

นายปัทชา กระแสร์เสียง M นายณัฏฐพล ศุภกมลเสนีย์ M

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นายปัทชา กระแสร์เสียง M นายณัฏฐพล ศุภกมลเสนีย์ M"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 นายปัทชา กระแสร์เสียง M5010141 นายณัฏฐพล ศุภกมลเสนีย์ M5010349
Effect of Heart Stress on Thermoregulatory Response in Congestive Heart Failure Patients นายปัทชา กระแสร์เสียง M นายณัฏฐพล ศุภกมลเสนีย์ M

2 CHF

3 หัวข้อนำเสนอ ภูมิหลัง Introduction กลุ่มตัวอย่าง วิธีการทดลอง
ผลการทดลอง การอภิปราย Link paper

4 ภูมิหลังงานวิจัย จากการศึกษาทางด้านการแพทย์มีข้อแนะนำว่า การได้รับ Heat Stress อาจทำให้เกิดอาการป่วยด้วยโรคเกี่ยวกับหลอดเลือดหัวใจ นอกจากนี้อาจยังมีส่วนทำให้หัวใจห้องขวาทำหน้าที่ผิดปกติไปและอาจเกิดภาวะหัวใจล้มเหลวด้วย Back

5 Introduction ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ (CHF)มักอาการกำเริบในช่วงหน้าร้อนซึ่งอาจเป็นไปได้ว่าผู้ป่วยบางส่วนมีอาการหัวใจล้มเหลว เนื่องมาจากอากาศร้อน ในผู้ป่วย CHF มีปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับกลไกของเลือดมีผลต่อการควบคุม Stroke Volume ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับระบบฮอร์โมนมีผลต่อ Reflex ที่ควบคุมจังหวะการเต้นของหัวใจและความต้านทานของเส้นเลือดถูกรบกวน Back

6 กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มผู้ป่วย CHF มีทั้งหมด 2 กลุ่มๆละ 14 คน แบ่งเป็นกลุ่ม Control และกลุ่มทดลอง โดยมีคุณสมบัติดังนี้ New York Heart Association Class II-III ค่า Ejection Fraction <0.4 ค่า SBP ไม่มากกว่า 140 mmHg ไม่มีการอุดตันการไหลเวียนในหลอดเลือดแดง (Aorta) Back

7 วิธีการทดลอง ให้ผู้ป่วยทั้งสองกลุ่มมีการออกกำลังกายที่เหมาะสมได้แก่ เดิน วิ่ง และขี่จักรยานอย่างเหมาะสมภายใต้การดูแลอย่างใกล้ชิด งดการสูบบุหรี่ งดเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน/แอลกอฮอล์ และออกกำลังกายก่อนหน้าการศึกษาอย่างน้อย 24 ชั่วโมง การวัดผลทำโดย อัตราการไหลเวียนโลหิตที่ผิวหนังบริเวณปลายแขน ค่าเฉลี่ยของการนำไฟฟ้าที่เส้นเลือดบริเวณปลายแขนระหว่างที่มีความร้อน อัตราการขับเหงื่อที่ปลายแขน การนำไฟฟ้าที่เส้นเลือดบริเวณปลายแขน Back

8 ผลการทดลอง จากการทดสอบสมมติฐานที่ว่า ผลตอบสนองต่อการควบคุมอุณหภูมิทำให้อาการของผู้ป่วยลดลง ได้มีการประเมินจากการขยายของเส้นเลือดที่บริเวณผิวหนัง และอัตราการไหลของเหงื่อของผู้ป่วย ด้วย Class II – III CHF ที่คงที่ และจับคู่เพื่อเปรียบเทียบระหว่างกลุ่ม Control และกลุ่ม Heat Stress จากผลการทดลองชี้ให้เห็นว่า Whole – Body Heating มีผลการชักนำให้มีการเพิ่มอุณหภูมิในร่างกาย (0.85องศา) ในทั้งสองกลุ่ม Forward

9 การทดลองและผล (ต่อ) การตอบสนองของเหงื่อ ในกลุ่ม CHF ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญจากกลุ่ม Control การนำไฟฟ้าของเส้นเลือดปลายแขน ของกลุ่ม CHF ลดลงเกือบ 50% จากกลุ่ม Control อย่างมีนัยสำคัญ ความสามารถในการขยายตัวของหลอดเลือด ในกลุ่ม CHF ต่ำกว่ากลุ่ม Control อย่างมีนัยสำคัญ มีข้อเสนอว่าควรมีการเปลี่ยน Model ในการทดลองอาจทำให้สามารถจำกัดการขยายตัวของหลอดเลือดที่ผิวหนัง ในขณะที่อุณหภูมิสูงขึ้นได้ Forward

10 Forward

11 อัตราการไหลเวียนโลหิตที่ผิวหนังบริเวณปลายแขน มีการตอบสนองก่อนมีความร้อนและเมื่อได้รับความร้อนสูงสุด
Forward

12 ค่าเฉลี่ยของการนำไฟฟ้าที่เส้นเลือดบริเวณปลายแขนเพิ่มขึ้น ระหว่างที่มีความร้อน ทั้งสองกลุ่ม
Forward

13 อัตราการเพิ่มขึ้นสูงสุดของการนำไฟฟ้าที่เส้นเลือดบริเวณปลายแขน
Forward

14 ค่าเฉลี่ยที่เพิ่มขึ้นของอัตราการขับเหงื่อที่ปลายแขนเมื่อเกิดความร้อนทั้งสองกลุ่มทั่วร่างกาย
Forward

15 สรุปผลการทดลอง ผู้ป่วยที่อยู่ในกลุ่ม CHF มีอาการของ การตอบสนองของการขยายของเส้นเลือดในชั้นผิวหนัง ลดลงทั้งกลุ่มที่เป็นกลุ่ม Hole – body heating และ Local Heating แต่การตอบสนองของเหงื่อยังสามารถรักษาสภาพเดิมไว้ได้ ส่วนการลดการขยายของเส้นเลือดในชั้นผิวหนัง อาจจะมีกลไกที่ทำให้เกิดการไม่ทนความร้อนของผู้ป่วยในกลุ่ม CHF Back

16 การอภิปรายผล การขยายของเส้นเลือดในชั้นผิวหนังมีการตอบสนองลดลงในร่างกายทุกส่วนและความร้อนที่เกิดเฉพาะที่ลดลงกับผู้ป่วยในกลุ่ม CHF การตอบสนองต่อการขับเหงื่อไม่มีผลต่อคนไข้เหล่านี้ และความร้อนที่สูญเสียไปเมื่ออุณหภูมิที่สูงขึ้น ทำให้ร่างกายมีอุณหภูมิต่ำลงในผู้ป่วยเหล่านี้ Forward

17 อภิปราย(ต่อ) ควรมีการศึกษาเพิ่มเติมในประเด็นเหล่านี้
เลือกการไหลเวียนของเลือดในชั้นผิวหนัง โดยการควบคุมของระบบประสาทให้มีการควบคุมการไหลเวียนของเลือดในชั้นผิวหนัง เลือกสารสื่อประสาท เพื่อตอบสนองเพื่อตอบสนองต่อการขยายตัวของเส้นเลือด ผลของการเปลี่ยนโครงสร้าง Cutaneous vasculature Present web

18 New York Heart Association
ClassPatient Symptoms Class I (Mild)No limitation of physical activity. Ordinary physical activity does not cause undue fatigue, palpitation, or dyspnea (shortness of breath). Class II (Mild)Slight limitation of physical activity. Comfortable at rest, but ordinary physical activity results in fatigue, palpitation, or dyspnea. Class III (Moderate)Marked limitation of physical activity. Comfortable at rest, but less than ordinary activity causes fatigue, palpitation, or dyspnea. Class IV (Severe)Unable to carry out any physical activity without discomfort. Symptoms of cardiac insufficiency at rest. If any physical activity is undertaken, discomfort is increased.


ดาวน์โหลด ppt นายปัทชา กระแสร์เสียง M นายณัฏฐพล ศุภกมลเสนีย์ M

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google