งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติเพื่อเชื่อมโยง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติเพื่อเชื่อมโยง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติเพื่อเชื่อมโยง
และให้บริการทรัพยากรสารสนเทศ สำหรับห้องอ่านหนังสือคณะในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม The Development of Library Automation for Connection and Services in Reading Room at Mahasarakham University Faculty สันติภาพ เปลี่ยนโชติ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

2 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

3 สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

4 ห้องอ่าน / ห้องสมุดคณะและหน่วยงานต่างๆ

5 Insert Title Text

6 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติในการเชื่อมโยงและให้บริการทรัพยากรสารสนเทศสำหรับห้อง อ่านหนังสือคณะในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2. เพื่อลดงบประมาณจากความซ้ำซ้อนในการจัดซื้อจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ 3. เพื่อเป็นการใช้ทรัพยากรสารสนเทศห้องสมุดร่วมกันของทุกคณะในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม

7 ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงาน
วิเคราะห์ปัญหาจากเอกสารและงานวิจัยของสำนักวิทยบริการ โดยการศึกษาจากตำรา วารสาร เอกสารรายงานการวิจัย และวิทยานิพนธ์ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติและการให้บริการทรัพยากรสารสนเทศห้องสมุดคณะ เพื่อศึกษาหาแนวคิด ทฤษฎีและนำผลการศึกษามาใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติต่อไป ศึกษาเอกสาร ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาฐานข้อมูล การพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติสำหรับห้องอ่านคณะ/สถาบัน/สำนัก/กอง ประกอบด้วย * โปรแกรมระบบฐานข้อมูลใช้ มายเอสคิวแอล (MySQL) * โปรแกรมที่ใช้ในการเขียนเว็บเพื่อติดต่อกับฐานข้อมูลใช้ ภาษาพีเอชพี (PHP) * ระบบปฏิบัติการใช้ ลีนุกซ์ (Linux) ฝึกอบรมการบันทึกรายการทรัพยากรสารสนเทศเข้าสู่ระบบห้องสมุดอัตโนมัติที่พัฒนาขึ้น ให้กับผู้ดำเนินงานห้องสมุดจากคณะ/หน่วยงานต่าง ๆ จำนวน 22 หน่วยงาน ในเดือนพฤศจิกายน 2553 และเดือนกุมภาพันธ์ 2554 วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ ได้แก่ จำนวนทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดทุกหน่วยงาน แยกตามหน่วยงาน จำนวนความซ้ำซ้อน ค่าร้อยละของทรัพยากรแต่ละหน่วยงาน จำนวนเงินโดย ประมาณที่เกิดจากความซ้ำซ้อนของทรัพยากร

8 Cloud Computing

9 Cloud Computing

10 สถาบันที่มีข้อมูลสูงสุด 5 อันดับแรก
ความซ้ำซ้อนทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดมีจำนวน 16,475 รายการ คิดเป็นร้อยละ 6.69 ของมวลทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมด จำนวนเงินที่เกิดจากความซ้ำซ้อนของทรัพยากรสารสนเทศโดยประมาณ 16,526,881 บาท

11 ระบบการทำงาน เจ้าหน้าที่คณะ/หน่วยงานปฏิบัติงานบันทึกรายการบรรณานุกรมหนังสือ เข้าสู่ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ และหน้าจอสืบค้นของแต่ละหนวยงาน

12 ระบบการทำงาน ตัวอย่างผลการสืบค้น

13 ตัวอย่างการบันทึกข้อมูล
ระบบการทำงาน ตัวอย่างการบันทึกข้อมูล

14 ระบบการทำงาน หน้าจอฐานข้อมูลกลาง

15 ผลการสืบค้นของฐานข้อมูลกลาง
ระบบการทำงาน ผลการสืบค้นของฐานข้อมูลกลาง

16 ผลการสืบค้นของฐานข้อมูลกลาง
ระบบการทำงาน ผลการสืบค้นของฐานข้อมูลกลาง ข้อมูลเชื่อมโยง ถึงระดับไอเทม

17 หลักการทำงาน Remote Index

18 ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะ 1. ควรมีผู้รับผิดชอบและมีความรู้พื้นฐานทางด้านการดำเนินงาน ห้องสมุดคณะ/หน่วยงาน โดยเฉพาะ 2. ควรมีความร่วมมือและพัฒนาระบบยืม – คืน ระหว่างห้องสมุดคณะ/หน่วยงาน ภายในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ผ่านเครือข่ายเชื่อมโยงทางออนไลน์ 3. ควรมีงบประมาณสำหรับดำเนินงานห้องสมุดทั้งในส่วนของครุภัณฑ์และทรัพยากรสารสนเทศห้องสมุด ให้มีความพร้อมและพอเพียงกับหลักสูตรที่เปิดสอน 4. ควรพิจารณาการจัดซื้อจัดหาทรัพยากรสารสนเทศที่ซ้ำซ้อนให้คำนึงถึงการใช้ทรัพยากรร่วมกัน

19

20

21

22 คำถาม ข้อเสนอแนะ คำถาม + ข้อเสนอแนะ

23 ขอขอบคุณ (สิ้นสุดการนำเสนอ)


ดาวน์โหลด ppt การพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติเพื่อเชื่อมโยง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google