งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ดัชนีชี้วัดความ เข้มแข็งวิทยุชุมชน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ดัชนีชี้วัดความ เข้มแข็งวิทยุชุมชน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ดัชนีชี้วัดความ เข้มแข็งวิทยุชุมชน
ผศ.อังธิดา ลิมป์ปัทมปาณี อาจารย์สุระชัย ชูผกา ภาควิชาสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยรามคำแหง

2 ผลวิจัยพบว่า วิทยุชุมชนไทย ฝันไว้ไกล ไปไม่ถึง?
บทเรียน 8 ปีแห่งการต่อสู้ บทเรียนทางการเมือง; เถื่อน บทเรียนทางเศรษฐกิจ; SMEs บทเรียนทางสังคม; เห่อ&หาย

3 คนฟังวิทยุชุมชนเพราะ
ญาติจัด ติดดีเจ ใช้ภาษาถิ่น ไม่มีโฆษณา มีข่าวคนในชุมชน อยู่ใกล้กันเป็นของชุมชน

4 คนไม่ฟังวิทยุชุมชนเพราะ
คนจัดพูดมาก คนจัดติดๆ ขัดๆ ไม่มีข่าวสารชุมชน จัดไม่สม่ำเสมอ เนื้อหาไม่หลากหลาย สัญญาณไม่ชัด

5 องค์ประกอบวิทยุชุมชนที่แท้จริง
1. ความเป็นสื่อชุมชน เป็นผู้ให้สาระและบันเทิงชุมชน เป็นคู่มือและผู้เฝ้าระวังให้ชุมชน เป็นผู้กำหนดวาระข่าวสารชุมชน เป็นสื่อกลางเชื่อมโยงฝ่ายต่างๆใน ชุมชน

6 2.ความเป็นชุมชน มีขอบเขตอาณาบริเวณชัด มีผู้มามีปฏิสัมพันธ์กัน
มีแบบแผนวิถีชีวิต “ชีวิตและลมหายใจของชุมชน”

7 3.ความเป็นพื้นที่สาธารณะ
เป็นพื้นที่เปิดกว้างของทุกฝ่าย เป็นที่ที่อิสระ ไม่พึ่งพิง เป็นที่สำหรับผู้แสวงหาสิ่งดีงาม

8 สรุปองค์ประกอบวิทยุชุมชน
ความเป็นสื่อชุมชน ความเป็นชุมชนเพื่อชุมชน ความเป็นพื้นที่สาธารณะแท้

9 พันธกิจวิทยุชุมชน (Participation) พัฒนาหน้าที่ของสื่อชุมชน (Function)
ยกระดับการมีส่วนร่วมของชุมชน (Participation) พัฒนาหน้าที่ของสื่อชุมชน (Function) สร้างสมรรถนะการแพร่กระจายเสียง (Diffusion)

10 ดัชนีชี้วัดความเข้มแข็งวิทยุชุมชน
องค์ ประ กอบ พันธกิจ ดัชนีชี้วัดความเข้มแข็งวิทยุชุมชน “เป็นสื่อกลางที่เปิดกว้างให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมอย่างหลากหลาย ด้วยการสื่อเข้าข้างใน ไปไกลถึงข้างนอก อย่างอิสระเสรี เพื่อความเข้มแข็งของชุมชน”

11 ตาราง Matrix องค์ประกอบและพันธกิจของวิทยุชุมชนไทย
ความเป็นสื่อชุมชน ความเป็นพื้นที่สาธารณะ (Public sphere) ความเป็นชุมชน (Community Identification) ตัวชี้วัด ระดับการมี ส่วนร่วม (Participation) คนในชุมชนเข้าร่วมในการผลิตสื่อในขั้นตอนต่างๆ คนในและนอกชุมชนเข้าร่วมได้ในฐานะพลเมืองโดยอิสระปราศจากการครอบงำ คนในชุมชนกลุ่มต่างๆ เข้าร่วมในฐานะเจ้าของและผู้กำหนดนโยบาย 1.ปริมาณและความต่อเนื่องของคนในชุมชนที่มีส่วนร่วมผลิต 2. ไม่มีโฆษณา และไม่มีผู้ครอบงำรายหนึ่งรายใดภายใต้การทำงานของระบบอาสา สมัคร 3. สัดส่วนที่เหมาะสมของตัวแทนทุกกลุ่มคนในชุมชน ประสิทธิภาพการทำหน้าที่ (Function) การทำตามบทบาทหน้าที่และการจัดองค์กรในความเป็นสื่อชุมชน การเป็นสื่อกลาง และเวทีในการเปิดประเด็นสาธารณะสำหรับทุกฝ่าย การสื่อสารเพื่อการแสดงออกซึ่ง อัตตลักษณ์และความภาคภูมิใจของคนในชุมชนท้องถิ่นตน 1. สัดส่วน ของเนื้อหารายการที่หลากหลายทั้งด้านการให้ความรู้ อธิบายความ การเฝ้าระวัง การเชื่อมโยง ถ่ายทอดค่านิยม และด้านความบันเทิง 2. ปริมาณและความต่อเนื่องในการเปิดเวที และเปิดประเด็นสาธารณะโดยมีฝ่ายที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมครบถ้วน 3. สัดส่วนเนื้อหารายการที่มาจากภายในท้องถิ่นและลีลาการนำเสนอรายการที่แสดง ออกซึ่งอัตตลักษณ์ของชุมชน สมรรถนะการแพร่กระจาย (Diffusion) การแพร่ กระจายข้อมูลข่าวสารตามความต้องการของผู้ฟังที่มีอยู่จำนวนมาก กระจายข้อมูลข่าวสารสู่ผู้ฟังผ่านกิจกรรมต่างๆ หลากหลาย รัศมีการกระจายเสียงครอบคลุมเขตชุมชนชัดเจน โดยไม่ละเมิดสิทธิผู้อื่นด้วยเทคโนโลยีที่ชุมชนเข้าถึงได้ง่าย 1. ปริมาณการเปิดรับฟังและเสียงสะท้อนกลับของผู้ฟังในรัศมีครอบคลุมและความต่อเนื่องของการแพร่กระขายข่าวสาร 2. จำนวนกิจกรรมและช่องทางการสื่อสารเพื่อการแพร่กระจายข่าวสารระหว่างวิทยุชุมชนกับผู้ฟังกลุ่มต่างๆ 3.วัดจากคุณสมบัติทางเทคนิคในด้านกำลังส่งคลื่นความถี่ตามข้อกำหนดของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

12 ตัวชี้วัดความเข้มแข็ง1
ระดับการมีส่วนร่วม + ความเป็นสื่อชุมชน ตัวชี้วัด; มาก ปานกลาง น้อย ไม่มี ปริมาณของคนในชุมชนที่เข้าร่วมผลิต ความต่อเนื่องของคนในชุมชนที่ร่วมผลิต

13 ตัวชี้วัดความเข้มแข็ง2
ระดับการมีส่วนร่วม + ความเป็นชุมชน ตัวชี้วัด; มาก ปานกลาง น้อย ไม่มี สัดส่วนที่เหมาะสมของตัวแทนทุกกลุ่มใน ชุมชน ในฐานะเจ้าของและผู้กำหนด นโยบาย

14 ตัวชี้วัดความเข้มแข็ง3
ระดับการมีส่วนร่วม + พื้นที่สาธารณะ ตัวชี้วัด; มาก ปานกลาง น้อย ไม่มี ไม่มีผู้ครอบงำจากการเมือง ธุรกิจ ราย หนึ่งรายใด มีอาสาสมัครเข้าร่วมดำเนินการ กว้างขวาง

15 4.การทำหน้าที่ + ความเป็นสื่อชุมชน
ตัวชี้วัด สัดส่วนของเนื้อหารายการหลากหลาย ทั้ง ความรู้ การอธิบายความ การเฝ้าระวัง การ เชื่อมโยง การถ่ายทอดค่านิยม และความ บันเทิง ในชุมชน

16 การทำหน้าที่ + ความเป็นพื้นที่สาธารณะ
ตัวชี้วัด ปริมาณการจัดเวทีสาธารณะผ่านคลื่น ผ่านสถานี ความต่อเนื่องของการเปิดเวทีหรือ ประเด็นสาธารณะ โดยทุกฝ่ายเข้าร่วม

17 6.การทำหน้าที่ + ความเป็นชุมชน
ตัวชี้วัด สัดส่วนเนื้อหารายการหลากหลายจาก คนท้องถิ่นในชุมชน การมีลีลาการนำเสนอที่เป็น เอกลักษณ์ท้องถิ่น (ทั้งการจัดรายการ, เพลงประกอบ, อื่นๆ)

18 7.การแพร่กระจาย + ความเป็นสื่อชุมชน
ตัวชี้วัด ปริมาณการเปิดรับฟังและเสียง สะท้อนกลับจากผู้ฟังในรัศมี ครอบคลุม ความต่อเนื่องของการออกอากาศ

19 8.การแพร่กระจาย + พื้นที่สาธารณะ
ตัวชี้วัด ปริมาณกิจกรรมต่างๆ ดึงให้คนใน ชุมชนเข้าร่วม ช่องทางการสื่อสารอื่นๆ ที่มีกับผู้ฟัง และคนในชุมชน

20 9.การแพร่กระจาย + ความเป็นชุมชน
ตัวชี้วัด กระจายเสียงได้ครอบคลุมฐาน สมาชิกได้อย่างทั่วถึงตามวิถีชุมชน ส่งกระจายเสียงได้สอดคล้องกับ ข้อกำหนดตามกฎหมายและไม่ รบกวนชุมชนอื่น

21 พันธกิจท้าทายและก้าวต่อไปวิทยุชุมชนไทย
หยั่งรากให้ถึงชุมชน พัฒนากิจกรรมเสริมสร้างการมีส่วนร่วม แสวงหาจุดยืนที่ชัดเจนของตน สถานีเฉพาะด้าน, สถานีที่ครบถ้วน สานสร้างเครือข่ายพันธมิตรด้วยระบบที่ชัดเจน ส่งผ่านการกระจายเสียงต่อกัน ความท้าทายของการไม่มีหน้าปัทม์ และหลอมรวมสื่อ


ดาวน์โหลด ppt ดัชนีชี้วัดความ เข้มแข็งวิทยุชุมชน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google