งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่ 8 การออกแบบข้อมูล (Data Design) โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 8 การออกแบบข้อมูล (Data Design) โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 8 การออกแบบข้อมูล (Data Design) โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
บทที่ 8 การออกแบบข้อมูล (Data Design) โครงสร้างข้อมูล (Data Structure) แฟ้มข้อมูลหรือไฟล์ (File) บรรจุด้วยข้อมูล เกี่ยวกับคน สถานที่ สิ่งของ หรือเหตุการณ์ที่โต้ตอบกับระบบสารสนเทศ หรือที่เรียกว่า ตาราง (Table) ฐานข้อมูล (Database) ประกอบด้วยแฟ้มข้อมูลที่เชื่อมโยงกัน รวมเป็นโครงสร้างของข้อมูลทั้งหมด

2 ประเภทของแฟ้มข้อมูล แฟ้มหลักหรือมาสเตอร์ไฟล์ (Master File) แฟ้มตารางหรือเทเบิลไฟล์ (Table File) แฟ้มรายการเปลี่ยนแปลงหรือทรานเซคชั่นไฟล์ (Transaction File) แฟ้มทำการหรือเวิร์คไฟล์ (Work File) แฟ้มความปลอดภัยหรือซีเคียวริตีไฟล์ (Security File) แฟ้มประวัติหรือฮิซทอรีไฟล์ (History File)

3 ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System : DBMS)
เป็นการรวบรวมเครื่องมือ ลักษณะสำคัญ และส่วนต่อประสาน เพื่อให้ผู้ใช้สามารถ สร้าง ปรับปรุง จัดการ เข้าถึง และวิเคราะห์ข้อมูลที่อยู่ในฐานข้อมูลได้ โดยปกติระบบจัดการฐานข้อมูลจะถูกจัดการโดยบุคคลที่เรียกว่า ผู้บริหารฐานข้อมูล (Database Administrator : DBA) ระบบจัดการฐานข้อมูลที่มีการออกแบบที่ดี จะต้องมีความสามารถในการควบคุมและในเรื่องความปลอดภัยอยู่ในตัว รวมทั้ง ซับซคีม่า รหัสผ่าน การเข้ารหัส แฟ้มหลักฐานการตรวจสอบ การสำรองและกู้กลับคืน และการบำรุงรักษาข้อมูล

4

5 ศัพท์เฉพาะของการออกแบบข้อมูล
เอนทิตี (Entity) หมายถึง คน สถานที่ สิ่งของ หรือเหตุการณ์ เขตข้อมูลหรือฟิลด์ (Field) เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ลักษณะประจำ หรือ แอททริบิวท์ (Attribute) ซึ่งเป็นคุณลักษณะพิเศษหรือ ข้อเท็จจริงของเอนทิตี ระเบียนข้อมูลหรือเรคคอร์ด (Record) หรือที่เรียกว่า ทูเพอร์ (Tuple) เป็นชุดของฟิลด์ที่สัมพันธ์กัน แฟ้มข้อมูล (File) หรือ ตาราง (Table) เรคคอร์ดที่ถูกจัดรวมเป็นกลุ่ม

6

7

8 ประเภทของคีย์ (Type of keys)
กุญแจหลักหรือไพรมาริคีย์ (Primary Key) เป็นฟิลด์หนึ่งหรือ การผสมกันของฟิลด์ ซึ่งไม่ซ้ำกันหรือเป็นหนึ่งเดียว (Unique) กุญแจรองหรือเซคคันเดริคีย์ (Secondary Key) เหมือนไพรมาริ คีย์ แต่สามารถซ้ำกันได้ กุญแจให้เลือกหรือแคนดิเดทคีย์ (Candidate key) ฟิลด์หรือฟิลด์ ผสมเพื่อใช้เป็นไพรมาริคีย์ สามารถนำมาใช้เป็นไพรมาริคีย์ได้ กุญแจต่างลักษณะหรือฟอรินคีย์ (Foreign Key) จึงเป็นฟิลด์ใน ตารางหนึ่งที่ต้องตรงกับค่าของไพรมาริคีย์ในอีกตารางหนึ่ง เพื่อ สร้างความสัมพันธ์ระหว่างสองตาราง

9

10 ความสัมพันธ์ (Relationship)
แผนภาพความสัมพันธ์เอนทิตี (Entity-Relationship diagrams or ERD or E-R Diagrams) เป็นรูปจำลองภาพของระบบสารสนเทศที่บรรยายความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตีของระบบ แบ่งเป็น ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (1:1) ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหลาย (1:M) ความสัมพันธ์แบบหลายต่อหลาย (M:N)

11

12

13

14

15

16

17

18 การทำให้เป็นบรรทัดฐาน (Normalization)
การทำให้เป็นบรรทัดฐาน (Normalization) เป็นการพัฒนาการออกแบบฐานข้อมูลทั้งหมด ให้ง่าย ยืดหยุ่น และอิสระจากการซ้ำซ้อนของข้อมูล แบ่งเป็นสามขั้นตอนคือ ที่สอง และที่สาม ทั้งสามรูปแบบบรรทัดฐานนั้นเป็นไปตามกฎต่อเนื่องกัน three stages - รูปแบบบรรทัดฐานที่หนึ่ง (First normal form : 1NF รูปแบบบรรทัดฐานที่สอง (Second normal form : 2NF) รูปแบบบรรทัดฐานที่สาม (Third normal form : 3NF)

19

20 ตัวอย่างนอร์มอลไลสเซชั่น

21

22

23

24

25

26

27

28

29

30

31 ขั้นตอนการออกแบบฐานข้อมูล
1. สร้าง E-R Diagram 2. กำหนดหน่วยย่อยข้อมูลให้กับเอนทิตี 33. ออกแบบ 3NF สำหรับเรคคอร์ดทั้งหมด 4. ตรวจทานพจนานุกรมข้อมูลเอนทิตีทั้งหมด

32 ตัวแบบฐานข้อมูล (Database Models)
ฐานข้อมูลเชิงลำดับชั้นและฐานข้อมูลแบบเครือข่าย (Hierarchical and Network Database) ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database) ฐานข้อมูลเชิงวัตถุ (Object-oriented Database : OODB)

33 เขตข้อมูลวันที่ (Date Fields)
Type Digits Format ISO 8 YYYYMMDD Julian date 5 YYXXX Extended Julian date 7 YYYYXXX Absolute date XXXXX ISO -International Organization for Standardization January 31,2001 = August 15,2001 =


ดาวน์โหลด ppt บทที่ 8 การออกแบบข้อมูล (Data Design) โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google