งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การส่งเสริมจรรยาบรรณ ในระดับคณะ/หน่วยงาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การส่งเสริมจรรยาบรรณ ในระดับคณะ/หน่วยงาน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การส่งเสริมจรรยาบรรณ ในระดับคณะ/หน่วยงาน
โครงการส่งเสริมจรรยาบรรณ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 1 กรกฎาคม 2553 วงศ์วิวัฒน์ ทัศนียกุล คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

2 ปัญหาจริยธรรม ปัญหาสังคม ?
“… นับสิบๆ ปี สังคมของเราได้ผลิตความไม่เป็นธรรมไว้ทุกหนแห่ง ..คนไทยเราเห็นแก่ตัวมากขึ้นเรื่อยๆ จนกระทั่งกลายเป็นสังคมที่ผลิตความขัดแย้งอยู่ตลอดเวลา ไม่ว่าเรื่องเล็กหรือใหญ่ ไม่ว่าเรื่องส่วนตัวหรือส่วนรวม อีกทั้งยังขาดแคลนกระบวนการแก้ไขความขัดแย้งที่เหมาะสม สภาพเช่นนี้ทำให้สังคมเรากลายเป็นสังคมที่มีความรุนแรง ชอบแก่งแย่งชิงดี และเอาชนะกันอย่างขาดความเมตตาปราณี ซึ่งเป็นรากฐานของการเมืองแบบคับแคบและเห็นแก่ตัว” เสกสรรค์ ประเสริฐกุล (05/05/2553)

3 ตัวอย่างกรณีการกล่าวหาผิดจรรยาบรรณ
คณะ ผู้แจ้ง/กล่าวหา ผู้ถูกกล่าวหา สาระ นักศึกษา อาจารย์/ผู้บริหาร แสวงหาประโยชน์ โดยมิชอบ อาจารย์ การบริหารงาน ประสิทธิภาพการสอน บัตรสนเท่ห์ การลาศึกษาต่อ ไม่ทำตามระเบียบ บุคคลภายนอก เครือข่าย ปชช จรรยาบรรณวิชาชีพ แสวงหาประโยชน์โดยมิชอบ ประพฤติตนไม่เหมาะสม จรรยาบรรณ การใช้เวลาราชการ พ สายสนับสนุน พ สนับสนุน/ผู้บริหาร ผิดจรรยาบรรณผู้บังคับบัญชา นักศึกษา/อาจารย์ ยืมเงิน การสอน การปฏิบัติราชการ ใช้ผลงานวิชาการผู้อื่น

4 จริยธรรม จรรยาบรรณ - Ethics
จริยธรรม: ธรรมที่เป็นข้อประพฤติปฏิบัติ ศีลธรรม กฎ ศีลธรรม แนวทางประพฤติปฏิบัติตนเพื่อการบรรลุถึง สภาพชีวิตอันทรงคุณค่าพึงประสงค์ จรรยาบรรณ: ประมวลความประพฤติที่ผู้ประกอบ อาชีพ การงานแต่ละอย่างกำหนดขึ้น เพื่อรักษาและส่งเสริม เกียรติคุณชื่อเสียงและฐานะของสมาชิก อาจเขียนเป็น ลายลักษณ์อักษรหรือไม่ก็ได้

5 จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพสถาปัตยกรรม
Obligation to the Public Obligation to the Client Obligation to the Professional Obligation to Colleagues Obligation to the Environment (AIA 2007) จรรยาบรรณต่อสาธารณะ (๑) จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ (๘) จรรยาบรรณต่อผู้ว่าจ้าง (๙) จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมวิชาชีพ (๗) (สภาสถาปนิก ๒๕๔๕)

6 จรรยาบรรณครู พ.ศ. 2539 ต้องรักและเมตตาศิษย์ โดยให้ความเอาใจใส่ช่วยเหลือ ส่งเสริมให้กำลังใจในการศึกษาเล่าเรียนแก่ศิษย์โดยเสมอหน้า ต้องอบรม สั่งสอน ฝึกฝน สร้างเสริมความรู้ ทักษะและนิสัยที่ ถูกต้องดีงามให้แก่ศิษย์ อย่างเต็มความสามารถด้วยความ บริสุทธิ์ใจ ต้องประพฤติ ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ศิษย์ ต้องไม่กระทำตนเป็นปฏิปักษ์ต่อความเจริญทางกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์ และสังคมของศิษย์ ต้องไม่แสวงหาประโยชน์อันเป็นอามิสสินจ้างจากศิษย์ในการ ปฏิบัติหน้าที่ตามปกติ และไม่ใช้ศิษย์กระทำการใดๆ อันเป็น การหาประโยชน์ให้แก่ตนโดยมิชอบ

7 จรรยาบรรณครู พ.ศ. 2539 ย่อมพัฒนาตนเองทั้งในด้านวิชาชีพ ด้านบุคลิกภาพ และวิสัยทัศน์ ให้ทันต่อการพัฒนาทางวิชาการ เศรษฐกิจ สังคมและการเมืองอยู่เสมอ ย่อมรักและศรัทธาในวิชาชีพครู และเป็นสมาชิกที่ดี ขององค์กรวิชาชีพครู พึงช่วยเหลือเกื้อกูลครูและชุมชนในทางสร้างสรรค์ พึงประพฤติ ปฏิบัติตน เป็นผู้นำในการอนุรักษ์และ พัฒนาภูมิปัญญาและวัฒนธรรม

8 โทษทางกาย ผลทางใจ จริยธรรม จรรยาบรรณ วินัย กฎหมาย อาญา แพ่ง

9 ความเป็นมาของประกาศ ข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง
2549 ข้อบังคับ สภามข.ว่าด้วยจรรยาบรรณของข้าราชการและอาจารย์ฯ 2550 ประกาศ กพอ.มาตรฐานจรรยาบรรณที่พึงมีในสถาบันฯ ข้อบังคับ สภามข.ว่าด้วยจรรยาบรรณของบุคลากรฯ 2551 ประกาศ กพอ. มาตรฐานจรรยาบรรณที่พึงมีในสถาบันฯ ประกาศ มข. (1326) หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการปฏิบัติตามจรรยาบรรณของบุคลากรฯ 2552 ข้อบังคับ สภามข.ว่าด้วยจรรยาบรรณของบุคลากรฯ ประกาศ มข. (1729) หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการปฏิบัติตามจรรยาบรรณของบุคลากรฯ

10 สังคม เพื่อนร่วมงาน วิชาชีพ นักศึกษา การปฏิบัติงาน หน่วยงาน
ตนเอง วิชาชีพ การปฏิบัติงาน หน่วยงาน นักศึกษา ผู้รับบริการ สังคม เพื่อนร่วมงาน

11 จรรยาบรรณของบุคลากร มข.
หมวด ๑ ข้อ ๗ (๒๒ ข้อ) ต่อตนเอง (๓): มีศีลธรรม ไม่แสวงหาประโยชน์ที่มิชอบ ทัศนคติดี ต่อหน่วยงาน (๔): สุจริต ขยัน ตรงเวลา รักษาทรัพย์สิน ต่อเพื่อนร่วมงาน (๕): ดูแลขวัญกำลังใจ สุภาพ รับผิดชอบ เกื้อกูล ไม่นำผลงานผู้อื่นป็นของตน ต่อนักศึกษา ผู้รับริการ (๕): ใช้ภาษาสุภาพ ไม่ใช้อำนาจแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบ ข้อมูลโปร่งใส จิตสำนึกบริการ ไม่ให้คำแนะนำที่ผิด ต่อประชาชนและสังคม (๓): บริการเต็มความสามารถ สุภาพอ่อนโยน ไม่รับทรัพย์สินเกิน ต่อวิชาชีพ (๒) หมวด ๑ ข้อ ๘ จรรยาบรรณอาจารย์ (๑๐)

12 จรรยาบรรณอาจารย์ เป็นแบบอย่างที่ดี สอนอย่างตั้งใจ เต็มความสามารถ
มีจิตสำนึก รับผิดชอบ สนับสนุนเสรีภาพทางวิชาการ หมั่นศึกษาค้นคว้า ต่อเนื่อง กล้าแสดงออกทางวิชาการ ปฏิบัติภารกิจ ๔ ด้านเต็มความสามารถ จรรยาบรรณนักวิจัย ส่งเสริมความสามัคคี สนับสนุนการพัฒนาส่วนรวม รับผิดชอบต่อผู้อื่น ชุมชน ประเทศชาติ

13 การกระทำผิดจรรยาบรรณอย่างร้ายแรง
นำผลงานทางวิชาการของผู้อื่นมาเป็นของตน ล่วงละเมิดทางเพศหรือมีความสัมพันธ์ทางเพศ กับนศ. เรียกรับทรัพย์สินจาก นศ.หรือผู้รับบริการ เพื่อ กระทำหรือไม่กระทำการ เปิดเผยความลับของ นศ. หรือผู้รับบริการ โดย มิชอบ ก่อให้เกิดความเสียหาย สอน อบรม นศ. ให้กระทำผิดกฎหมาย ความผิดอื่นๆ ที่ สภาสถาบันกำหนด

14 การดำเนินการทางจรรยาบรรณ กรณีไม่เป็นความผิดทางวินัย
การดำเนินการทางจรรยาบรรณ กรณีไม่เป็นความผิดทางวินัย  ให้ผู้บังคับบัญชาดำเนินการดังต่อไปนี้ ตักเตือน สั่งให้ดำเนินการให้ถูกต้องภายในเวลาที่ กำหนด ทำทัณฑ์บน  บันทึกในทะเบียนประวัติบุคคล  บุคลากรใดไม่ปฏิบัติตามให้ถือว่ากระทำผิด วินัย

15 ตัวอย่างแผนปฏิบัติงานกิจกรรมระดับคณะฯ และหน่วยงาน ๒๕๕๓ (๔ ด้าน)
ตัวอย่างแผนปฏิบัติงานกิจกรรมระดับคณะฯ และหน่วยงาน ๒๕๕๓ (๔ ด้าน) การให้ความรู้ ความเข้าใจด้านจรรยาบรรณ กระตุ้นส่งเสริม การปฏิบัติตามจรรยาบรรณ มีช่องทางรับข้อคิดเห็น เสนอแนะจากผู้รับริการ มีการสร้างสื่อประชาสัมพันธ์ ความรู้ ความเข้าใจ มีแนวทางการให้รางวัลด้านแก่ผู้ปฏิบัติหรือมีจรรยาบรรณ ดีงาม มีมาตรการในการกำกับ ดูแลผู้ไม่ปฏิบัติตามจรรยาบรรณ หรือฝ่าฝืน มีระบบประเมินผลการปฏิบัติตามจรรยาบรรณของบุคลากร มีรายงานผลการดำเนินงานต่อคณะกรรมการจรรยาบรรณ

16 พระบรมราโชวาท “… ในบ้านเมืองนั้น มีทั้งคนดีและคนไม่ดี
“… ในบ้านเมืองนั้น  มีทั้งคนดีและคนไม่ดี ไม่มีใครจะทำให้คนทุกคนเป็นคนดีได้ทั้งหมด  การทำให้บ้านเมืองมีความปรกติสุขเรียบร้อย  จึงมิใช่การทำให้ทุกคนเป็นคนดี หากแต่อยู่ที่การส่งเสริมคนดี  ให้คนดีได้ปกครองบ้านเมือง และควบคุมคนไม่ดีไม่ให้มีอำนาจ  ไม่ให้ก่อความเดือดร้อนวุ่นวายได้ …”  ๑๑ ธันวาคม ๒๕๑๒


ดาวน์โหลด ppt การส่งเสริมจรรยาบรรณ ในระดับคณะ/หน่วยงาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google