งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การสร้างพันธุ์ข้าวโพดหวานลูกผสม เพื่ออุตสาหกรรมการเกษตร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การสร้างพันธุ์ข้าวโพดหวานลูกผสม เพื่ออุตสาหกรรมการเกษตร"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การสร้างพันธุ์ข้าวโพดหวานลูกผสม เพื่ออุตสาหกรรมการเกษตร
DEVELOPMENT OF SWEET CORN HYBRID VARIETY FOR AGRO-INDUSTRY

2 สถานการณ์การผลิตข้าวโพดหวาน (ตัน)

3 อุตสาหกรรมข้าวโพดหวาน Whole kernel in brine, Frozen sweet corn
U.S.A. : Jubilee, Silver Queen, Challenger, Miracle Thailand : HSSW DMR, Argo, KU17127, KU11476 Insee1, Insee2 (sh2), KSSC923, KSSC941, KSSC942 (bt1), Nappawan 1, CMS 1540, KKU991, KU992 ATS1, ATS2, Hybrix5, Hybrix10, Sugar73, Sugar74

4 วัตถุประสงค์หลัก 1. เพื่อคัดเลือกและปรับปรุงความแข็งแรงของพันธุ์แท้
1. เพื่อคัดเลือกและปรับปรุงความแข็งแรงของพันธุ์แท้ 2. เพื่อสร้างพันธุ์ข้าวโพดหวานลูกผสม Test Cross 3. เพื่อเปรียบเทียบคุณภาพความหวานอ่อนนุ่ม ผลผลิต ความสม่ำเสมอของฝัก การเรียงเมล็ดและสี กับพันธุ์ มาตรฐานของรัฐบาลและบริษัทเอกชน ในท้องถิ่น

5 4. เพื่อปรับปรุงคุณภาพและผลผลิตเพื่อแปรรูป คุณภาพความหวาน 14% Brix ขึ้นไป น้ำหนักเฉลี่ยทั้งเปลือกฝักละ กรัม น้ำหนักฝักปอกเปลือก 220 กรัม - ฝักยาว 17 ซม. เส้นผ่าศูนย์กลาง 4.5 ซม สีเมล็ดเหลืองอ่อน เรียง แถว - รูปทรงฝักเป็นทรงกระบอก

6 5. เพื่อคัดเลือกพันธุ์ที่ดีที่สุด ให้เกษตรกรปลูก และส่งผลผลิต แปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ข้าวโพดหวาน
6. เพื่อขยายเมล็ดสายพันธุ์แท้ที่ใช้เป็นสายพันธุ์พ่อและสายพันธุ์แม่ในแปลงปลอดละอองเกสรจากพันธุ์อื่น 7. เพื่อผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดหวานลูกผสมเดี่ยว และส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกเพื่ออุตสาหกรรมเกษตร

7 ขั้นตอนการวิจัย 3 ปี ปี 2538 LR รวบรวมและศึกษาเชื้อพันธุกรรม ปี 2539 D คัดเลือกสายพันธุ์ด้วยสายตา ประเมินลักษณะและผลผลิต ปี 2539 LR ขยายสายพันธุ์แท้ที่ผ่านการคัดเลือก ปี 2540 D สร้างพันธุ์ลูกผสมเดี่ยว (Test cross)

8 ขั้นตอนการวิจัย 3 ปี ปี 2540 R การเปรียบเทียบคุณภาพและผลผลิต ปี 2540 LR การขยายเมล็ดสายพันธุ์พ่อและแม่ ปี 2541 D การผลิตเพื่อผลิตเมล็ดพันธุ์ชั่วที่ ปี 2541 R การทดสอบพันธุ์ลูกผสมในไร่เกษตรกร แปรรูปฝัก ในโรงงานอุตสาหกรรม

9 สถานที่ทำการวิจัย 1. มหาวิทยาลัยแม่โจ้ อ.สันทราย เชียงใหม่
1. มหาวิทยาลัยแม่โจ้ อ.สันทราย เชียงใหม่ 2. ศูนย์วิจัยพืชไร่เชียงใหม่ อ.สันทราย เชียงใหม่ 3. สถานีโครงการหลวงแม่สาใหม่ อ. แม่ริม เชียงใหม่ 4. ไร่เกษตรกร อ. แม่แตง และ อ. สันทราย เชียงใหม่ 5. โรงงานอาหารสำเร็จรูปสันติภาพ เชียงใหม่

10 ผลการวิจัย ปี 2538 LR รวบรวมและศึกษาเชื้อพันธุกรรม
Inbred No %Tass 50%Silk Poll. Date Mean Standard Dev Minimum Maximum

11 ผลการวิจัย 2539 D ประเมินผลผลิตและคัดเลือกสายพันธุ์

12 ผลการวิจัย 2539 LR ขยายสายพันธุ์แท้ที่ผ่านการคัดเลือก
11 สายพันธุ์ ได้เมล็ด # เฉลี่ย 489 กรัม/สายพันธุ์ Vigor = 2.9 Ear Aspect =1.8 Grain Type = Yellow

13 ผลการวิจัย ปี 2540 D สร้างพันธุ์ลูกผสมเดี่ยว (Test cross)
ลูกผสม F1 62 คู่ CMS 1540 F1 #1 - #62 119 กรัม

14 ผลการวิจัย ปี 2540 R การเปรียบเทียบคุณภาพและผลผลิต
CMS 1540#50, 2094 CMS 1540#42, 1978 CMS 1540#51, 1920 CMS 1540#56, 1862 Mean of Exp., 1860

15 ลักษณะฝักพันธุ์ลูกผสมที่ผ่านการคัดเลือก

16 ผลการวิจัย ปี 2540 LR การขยายเมล็ดสายพันธุ์พ่อและแม่
ไร่เกษตรกร อ.แม่แตง Female Inbred #15-S5#2 กิโลกรัม Male Inbred # 40 -S5 5.8 กิโลกรัม

17 ผลการวิจัย ปี 2541 D การผลิตเพื่อผลิตเมล็ดพันธุ์ชั่วที่ 1
แถวตัวเมีย : แถวตัวผู้ 3 : 1 ระยะปลูก 65 x 25 x 2 อายุเก็บเกี่ยว 100 วัน

18 เมล็ดพันธุ์ลูกผสม CMS 1540#51 F1
ผลผลิตเมล็ดพันธุ์ 90 กก./ไร่ น.น.1,000 เมล็ด 98.2 กรัม บรรจุถุง 1 กก. ปลูกได้ 1 ไร่

19 ผลการวิจัย ปี 2541 R ทดสอบพันธุ์ลูกผสมในไร่เกษตรกร แปรรูปฝัก ในโรงงานอุตสาหกรรม

20 เปรียบเทียบผลิตภัณฑ์เมล็ดข้าวโพดในน้ำเกลือ
ATS 2 F1 สีเหลืองอ่อน สม่ำเสมอ CMS 1540 F1 สีเหลืองเข้ม

21 สรุปผลการทดลอง พันธุ์ข้าวโพดหวานลูกผสม CMS 1540#51 F1
อายุสั้น ออกดอกตัวผู้ 48 วัน ออกไหม 51 วัน สูง 180 ซม. สม่ำเสมอ น.น.ฝักสดทั้งเปลือก 320 กรัม ผลผลิตเฉลี่ย 1,920 กิโลกรัมต่อไร่ คุณภาพฝักสดดี อ่อนนุ่ม หวาน 14.6 % Brix แปรรูปเป็นเมล็ดข้าวโพดในน้ำเกลือได้ดีพอควร ผลผลิตเมล็ดพันธุ์ 90 กก./ไร่ น.น.1000 เมล็ด 98.2 g.

22 ขอขอบคุณ คณะทำงานปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดฝักสด
ศูนย์วิจัยพืชไร่ เชียงใหม่ กรมวิชาการเกษตร ดร. จินดา จันทร์อ่อน สถาบันวิจัยพืชไร่ คณะกรรมการวิจัยของมหาวิทยาลัยแม่โจ้


ดาวน์โหลด ppt การสร้างพันธุ์ข้าวโพดหวานลูกผสม เพื่ออุตสาหกรรมการเกษตร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google