งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ภาษามาตรฐานสำหรับนิยามข้อมูล และการใช้ข้อมูล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ภาษามาตรฐานสำหรับนิยามข้อมูล และการใช้ข้อมูล"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ภาษามาตรฐานสำหรับนิยามข้อมูล และการใช้ข้อมูล

2 ภาษามาตรฐานสำหรับนิยามข้อมูล และการใช้ข้อมูล
การกำหนดโครงสร้างข้อมูล การบันทึก ปรับปรุง ลบ และการเรียกข้อมูลอย่างง่าย การเรียกค้นข้อมูล

3 การกำหนดโครงสร้างของข้อมูล
โครงสร้างของภาษาเอสคิวแอล (Structured Query Language) สามารถสร้างและปฏิบัติการกับฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์โดยเฉพาะ พัฒนาขึ้นมาจากแนวคิดของ relational calculus และ relational algebra

4 การกำหนดโครงสร้างของข้อมูล
ประเภทของคำสั่งของภาษา SQL ภาษาสำหรับการนิยามข้อมูล (Data Definition Language : DDL) ภาษาสำหรับการจัดการข้อมูล (Data Manipulation Language : DML) ภาษาควบคุม (Data Control Language : DCL)

5 การกำหนดโครงสร้างของข้อมูล
ชนิดของข้อมูลที่ใช้ในภาษา SQL ตัวหนังสือ ความยาวคงที่ (Fixed-length Character) จะใช้ char(n) หรือ character(n) ความยาวไม่คงที่ (Variable-length Character) จะใช้ varchar(n) จำนวนเลข มีจุดทศนิยม (Decimal) จะใช้ dec(m,n) หรือ decimal(m,n) ไม่มีจุดทศนิยม (Integer) จะใช้ int, integer (10 หลัก) หรือ smallint (5หลัก) เลขจำนวนจริง (Number) จะใช้ number(n)

6 การกำหนดโครงสร้างของข้อมูล
ชนิดของข้อมูลที่ใช้ในภาษา SQL ข้อมูลในลักษณะอื่นๆ วันที่และเวลา (Date/Time)

7 การกำหนดโครงสร้างของข้อมูล
ลักษณะการใช้งานของภาษา SQL ภาษา SQL ที่ตอบโต้ได้ ใช้เพื่อปฏิบัติงานกับฐานข้อมูล โดยตรง ภาษา SQL ที่ฝังในโปรแกรม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ความสามารถของภาษา SQL ให้มากยิ่งขึ้น

8 การกำหนดโครงสร้างของข้อมูล
ภาษาสำหรับนิยามข้อมูล ตาราง สร้างตาราง CREATE TABLE <table name> (<column_name><>[<size>][[constraint<constraint name>]constraint type] [column name>data type>[<size>],…]); ลบตาราง DROP TABLE <table name>[CASECADE CONSTRAINTS];

9 การกำหนดโครงสร้างของข้อมูล
ตาราง เปลี่ยนแปลงโครงสร้างตาราง ALTER TABLE <table name> Database update (<column name> data type [size]);

10 การกำหนดโครงสร้างของข้อมูล
ดัชนี สร้างดัชนี CREATE INDEX <index name> on <table name>(<column>name>[,<column name>]..); ลบดัชนี DROP INDEX <index name>;

11 การบันทึก ปรับปรุง ลบ และการเรียกข้อมูลอย่างง่าย
การบันทึก ปรับปรุง ลบ และการเรียกข้อมูลอย่างง่าย การบันทึกข้อมูล ปรับปรุง และการลบข้อมูล เพิ่มข้อมูลทีละแถว INSERT INTO <table name>[(column1, column2,….)] values (<value1, value2,…>); เพิ่มข้อมูลโดยการใช้คำสั่งค้นหาข้อมูล SELECT statement;

12 การบันทึก ปรับปรุง ลบ และการเรียกข้อมูลอย่างง่าย
การบันทึก ปรับปรุง ลบ และการเรียกข้อมูลอย่างง่าย ปรับปรุงแถวข้อมูล UPDATE <table name> SET<column1>[, column2, ...)]=<expression|subquery> [WHERE <condition>]; ลบข้อมูลทั้งแถว DELETE FROM <table name>

13 การบันทึก ปรับปรุง ลบ และการเรียกข้อมูลอย่างง่าย
การบันทึก ปรับปรุง ลบ และการเรียกข้อมูลอย่างง่าย การเรียกค้นข้อมูลอย่างง่าย SELECT <column1, column2,…> FROM <table name> [WHERE <condition>];

14 การบันทึก ปรับปรุง ลบ และการเรียกข้อมูล อย่างง่าย
โอเปอร์เรเตอร์ สามารถแยกออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ โอเปอเรเตอร์คณิตศาสตร์ ได้แก่ plus(+), minus(-), divide(/), multiply(*), modula(%) โอเปอเรเตอร์เปรียบเทียบ จะได้ค่ากลับคืนมา 3 ค่า คือ TRUE, FALSE และ UNKNOW (ในกรณีค่าที่เปรียบเทียบเป็น Null) โอเปอเรเตอร์อักขระ ได้แก่ LIKE ใช้ร่วมกับ ‘%’ หรือ ‘_’ โอเปอเรเตอร์ตรรกะ ได้แก่ AND, OR, NOT, IN, BETWEEN…AND

15 การเรียกค้นข้อมูล ฟังก์ชัน มีทั้งหมด 6 ประเภท คือ
ฟังก์ชันในการรวม (Aggregate functions) COUNT, SUM, AVG, MAX, MIN ฯลฯ ฟังก์ชันวันและเวลา (Date and tune functions) ADD_MONTHS, LAST_DAY, MONTHS_BETWEEN ฯลฯ ฟังก์ชันคณิตศาสตร์ (Arithmetic functions) ABS, EXP, ฟังก์ชันทางตรีโกณ, LN, LOG, MOD, SQRT ฯลฯ

16 การเรียกค้นข้อมูล ฟังก์ชันตัวอักขระ (Character functions)
CHR, CONCAT, LOWER, UPPER, REPLACE, SUBSTR ฯลฯ ฟังก์ชันการแปลง (Converter functions) TO_CHAR, ฟังก์ชันอื่นๆ (Miscellaneous functions)

17 การเรียกค้นข้อมูล การเรียกดูข้อมูลในรูปแบบต่างๆ
การเรียกดูข้อมูลโดยใช้ฟังก์ชันรวม เป็นการจัดกลุ่มข้อมูลโดยใช้คำสั่ง GROUP BY SELECT <column1, column2, …> FROM <table name> [WHERE <condition>] [GROUP BY <grouping column>] [HAVING <condition>]

18 การเรียกดูข้อมูลในรูปแบบต่างๆ
การเรียกค้นข้อมูล การเรียกดูข้อมูลในรูปแบบต่างๆ การเรียกดูข้อมูลจากหลายตาราง เป็นการกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างตารางทั้งหลาย ซึ่งสามารถ เชื่อมต่อข้อมูลกันโดยการใช้คำสั่ง WHERE

19 การเรียกค้นข้อมูล การเรียกดูข้อมูลในรูปแบบต่างๆ
การเรียกดูข้อมูลแบบซ้อนกัน เป็นการสร้างคำสั่ง SELECT ซ้อนกัน เพื่อลดภาระการเชื่อมตาราง ซึ่งต้องใช้หน่วยความจำเป็นจำนวนมาก SELECT [*] <column1, column2, …> FROM <table name> [WHERE <column_list = <Select Statement>]


ดาวน์โหลด ppt ภาษามาตรฐานสำหรับนิยามข้อมูล และการใช้ข้อมูล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google