งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Chapter 3 การกำหนดราคามุ่งที่ต้นทุน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Chapter 3 การกำหนดราคามุ่งที่ต้นทุน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Chapter 3 การกำหนดราคามุ่งที่ต้นทุน
Thonburi University A.suchada Hommanee

2 1. บทบาทและประเภทของต้นทุน
1.1 บทบาทของต้นทุนในการกำหนดราคา 1.2. ต้นทุนจำแนกตามความสัมพันธ์กับส่วนธุรกิจ มีดังนี้ 1 ต้นทุนโดยตรง 2 ต้นทุนทางอ้อมที่จำแนกได้ 3 ต้นทุนร่วม 4 ต้นทุนเสียโอกาส 5 ต้นทุนเป็นเงินสดและไม่ใช่เงินสด

3 บทบาทและประเภทของต้นทุน (ต่อ)
1.3. ต้นทุนจำแนกตามความสัมพันธ์กับกิจกรรมของกิจการ 1. ต้นทุนผันแปร (Variable Costs : VC) หมายถึง ต้นทุนซึ่งผันแปรไป ตามระดับของกิจกรรมในช่วงเวลาหนึ่ง สามารถวัดต้นทุนผันแปรในลักษณะของ ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย (Average Variable Cost : AVC) และต้นทุนผันแปรรว (Total Variable Cost: TVC) ความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุนผันแปรเฉลี่ยและต้นทุนผันแปรรวม แสดงโดยสูตร ดังนี้ TVC = AVC * Q หรือ AVC = TVC Q Thonburi University A.suchada Hommanee

4 ต้นทุนผันแปร (Variable Costs : VC)
2. ต้นทุนคงที่ (Fixed Cost : FC) - ต้นทุนคงที่ของโปรแกรมหนึ่งโดยเฉพาะ(Specific Programmed Cost) - ต้นทุนคงที่ทั่วไป (General Programmed Cost) 3. ต้นทุนกึ่งผันแปรกึ่งคงที่ (Semivariable Cost) 2. วิธีการกำหนดราคาโดยมุ่งที่ต้นทุน 2.1 การกำหนดราคาแบบบวกเพิ่มจากต้นทุน (Cost Plus Method) 2.2 การกำหนดราคาโดยแบบบวกกำไรส่วนเพิ่มไว้ในราคาขาย (Markup Pricing) Thonburi University A.suchada Hommanee

5 1. การตั้งราคาโดยบวกเพิ่มจากต้นทุน (Cost-plus Method)
ราคา = ต้นทุนคงที่รวม + ต้นทุนผันแปรรวม + กำไรที่ต้องการ ปริมาณการขาย (ปริมาณการผลิต) หรือ TC + กำไรทั้งหมด Q ตัวอย่าง ต้นทุนรวมคงที่ 40,000 บาท ต้นทุนผันแปรรวม 50,000 บาท ต้องการกำไร 10,000 บาท ปริมาณการผลิต 10,000 บาท ราคา = 40, , ,000 = 10 บาท 10,000 Thonburi University A.suchada Hommanee

6 แบบฝึกหัด 1. การตั้งราคาโดยบวกเพิ่มจากต้นทุน (Cost-plus Method)
ราคา = ต้นทุนคงที่รวม + ต้นทุนผันแปรรวม + กำไรที่ต้องการ ปริมาณการขาย (ปริมาณการผลิต) โจทย์ กิจการแห่งหนึ่งมีต้นทุนรวมคงที่เท่ากับ 200,000 บาท ต้นทุนผันแปรรวม 100,000 บาท และต้องการกำไร เท่ากับ 200,000 บาท ปริมาณการผลิต 100,000 หน่วย จะต้องตั้งราคาสินค้าเท่าใด Thonburi University A.suchada Hommanee

7 2. การตั้งราคาโดยบวกเพิ่มจากราคาขาย (Mark Up on Selling Price or Mark up Pricing)
ราคา = ______________ต้นทุน_________________ 100% - อัตรากำไรส่วนเพิ่มในราคาขาย ตัวอย่าง ต้นทุนเสื้อตัวละ 30 บาท พ่อค้าต้องการกำไรส่วนเพิ่มในราคา 40% จะขายราคาเท่าไร ราคา = ____30____ = 30_ = 50 บาท 100% - 40% 60% Thonburi University A.suchada Hommanee

8 แบบฝึกหัด 2.การตั้งราคาโดยบวกเพิ่มจากราคาขาย (Mark Up on Selling Price or Mark up Pricing)
ราคา = ______________ต้นทุน_________________ 100% - อัตรากำไรส่วนเพิ่มในราคาขาย โจทย์ ร้านจำหน่ายรองเท้าแห่งหนึ่ง ซื้อรองเท้ามาราคา คู่ละ 100 บาท เขาต้องการกำไรประมาณ 50% ของราคาขาย เขาควรขายรองเท้าใน ราคาคู่ละเท่าใด Thonburi University A.suchada Hommanee

9 การสร้างราคาโดยวิธีที่เหมาะสม
1. ใช้ต้นทุนเป็นหลักสำคัญ Cost-plus Pricing Mark up Pricing Break – Even Point Fix cost Variable Cost Total Cost 2. การกำหนดราคาตามตลาด Thonburi University A.suchada Hommanee

10 การกำหนดราคาโดยบวกเพิ่มจากต้นทุน (Cost-plus Pricing)
คำนวณง่าย สะดวก ประมาณการยอดขาย คำนวณต้นทุนต่อหน่วย กำหนดกำไรต่อหน่วยที่ต้องการ มีข้อควรระวังในการคำนวณต้นทุนต่อหน่วย ที่เป็นต้นทุนเฉลี่ย ณ ระดับการประมาณการยอดขาย Thonburi University A.suchada Hommanee

11 กิจการผลิตครีมสปา มีต้นทุนผันแปร กระปุกละ 100 บาท
ตัวอย่างที่ 1 กิจการผลิตครีมสปา มีต้นทุนผันแปร กระปุกละ 100 บาท ต้นทุนคงที่รวม 3,000,000 บาทต่อเดือน คาดว่าจะขายได้เดือนละ 50,000 กระปุก ต้องการได้กำไร กระปุกละ 50 บาท ต้นทุนต่อหน่วย = VC + FC = ,000,000 = 160 บาท Q ,000 ราคาขาย = ต้นทุนต่อหน่วย + กำไรที่ต้องการ = = 210 บาท Thonburi University A.suchada Hommanee

12 การกำหนดราคาโดยใช้ส่วนเพิ่ม (Markup Pricing)
สะดวกในการเปรียบเทียบราคาขาย ทำให้เข้าใจโครงสร้างต้นทุน ราคา และกำไร กำหนดร้อยละส่วนเพิ่ม (Markup Percentage) ที่ต้องการ คำนวณราคาโดยอ้างอิงต้นทุนและร้อยละส่วนเพิ่ม มีวิธีคำนวณ 2 แบบ คือ Markup on Cost Markup on Selling Price Thonburi University A.suchada Hommanee

13 Mark-Up on Cost Mark-Up on Price
ตัวอย่าง 1-1 เข็มขัดราคาทุน 160 บาท ต้องการกำไร 20% จะตั้งราคาเท่าไร? ใช้วิธีการเทียบบัญญัติไตรยางศ์จากสูตร Price = Cost + Mark-Up Mark-Up on Cost Mark-Up on Price Price = Cost + Mark-Up Price = 120 = Price = Cost + Mark-Up 100 = Cost + 20 100 = วิธีคิด ทุน 100 ขาย 120 ทุน 160 ขาย 120 x 160 100 ตอบ ขาย 192 บาท วิธีคิด ทุน 80 ขาย 100 ทุน 160 ขาย 100 x 160 80 ตอบ ขาย 200 บาท Thonburi University A.suchada Hommanee

14 การกำหนดราคาจากการวิเคราะห์จุดคุ้มทุน
เป็นการกำหนดราคาโดยอาศัยต้นทุนร่วมกับระดับความต้องการ (Demand) ณ ระดับราคาต่างๆมาเป็นปัจจัยหลักในการกำหนดราคา - จุดคุ้มทุน (Break – Even Point) หมายถึง “ระดับปริมาณการผลิตและ จำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่ทำให้เกิดรายได้รวมเท่ากับต้นทุนรวมของกิจการ จุดคุ้มทุน = ต้นทุนคงที่รวม (หน่วยผลิตภัณฑ์) ราคาขาย - ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย ราคาขาย ณ จุดคุ้มทุน = ต้นทุนคงที่รวม + ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย = ต้นทุนคงที่ต่อหน่วย + ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย ปริมาณขาย (หน่วย) Thonburi University A.suchada Hommanee

15 การกำหนดเป้าหมายกำไร (Target Profit Pricing)
นำแนวคิดเรื่องจุดคุ้มทุน (Break Even) มาใช้ใน การกำหนดราคา การคำนวณกำไรส่วนที่เกิน จากต้นทุนคงที่ ใช้สูตร TR (= P x Q) BEP P Q Profit TC (= FC + VC) FC FC Contribution = P - VC Thonburi University A.suchada Hommanee

16 ดังนั้น จะต้องขายเพิ่มขึ้นอีก = 200 10 = 20 ด้าม
ตัวอย่างที่ 2 กิจการผลิตปากกาแห่งหนึ่ง มีต้นทุนคงที่ 600 บาท ต้นทุนผันแปร ด้ามละ 5 บาท ตั้งราคาขาย ด้ามละ 15 บาท BEP (Unit) = FC P - VC FC Contribution = P - VC = = 10 บาทต่อหน่วย = 600 15 - 5 ดังนั้น จะต้องขายเพิ่มขึ้นอีก = 200 10 = ด้าม รวมเป็นต้องขายทั้งสิ้น 80 ด้าม BEP (Unit) = 60 ด้าม ถ้าต้องการกำไร 200 บาท จะต้องขายปากกาให้ได้กี่ด้าม? Thonburi University A.suchada Hommanee

17 2 การกำหนดราคาโดยอาศัยกลไกการตลาด
2 การกำหนดราคาโดยอาศัยกลไกการตลาด การกำหนดราคาโดยอาศัยกลไกตลาด (Price Base on Demand and Supply) เป็นการกำหนดราคาโดยทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ ที่ว่าด้วยกฎ ของอุปสงค์ (Demand) และอุปทาน (Supply) ราคา Supply เป็น ระดับราคา ดุลภาค จุดดุลภาพ Demand ปริมาณ Thonburi University A.suchada Hommanee


ดาวน์โหลด ppt Chapter 3 การกำหนดราคามุ่งที่ต้นทุน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google