งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

วรรณคดีเรื่องกาพย์เห่เรือ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "วรรณคดีเรื่องกาพย์เห่เรือ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 วรรณคดีเรื่องกาพย์เห่เรือ
ผู้แต่ง เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรไชยเชษฐสุริยวงศ์หรือเจ้าฟ้ากุ้ง เป็นโอรสของพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศพระราชมารดาคือพระพันวสาใหญ่

2 เจ้าฟ้ากุ้งทรงมีความรู้ทางอักษรศาสตร์แตกฉานมาก เป็นผู้รอบรู้ทั้งทางคดีโลกและคดีธรรม ได้รับยกย่องเป็นกวีเอกแห่งกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย ( พ.ศ )

3 งานนิพนธ์ที่สำคัญของเจ้าฟ้ากุ้ง
1. นันโทปนันทสูตรคำหลวง เป็นวรรณกรรม ทางศาสนา 2. พระมาลัยคำหลวง

4 กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงนิราศพระบาท กาพย์เห่เรือ

5 ประวัติเจ้าฟ้ากุ้ง พ.ศ. 2258 ประสูติ
พ.ศ ประสูติ พ.ศ บวชที่วัดโคกแสง ได้ฉายาว่า สิริปาโล พ.ศ ลาผนวช เพราะพระราชมารดาประชวรหนัก ได้ทูลขอพระราชทานอภัยโทษให้แก่พระองค์

6 พ.ศ. 2284 ได้รับสถาปนาเป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคล พร้อมทั้งพระราชทานเจ้าฟ้าอินทสุดาวดีให้เป็นพระชายา
พ.ศ ทิวงคต เพราะต้องอาญาพระราชบิดาโดยถูกโบยจนสิ้นพระชนม์ เพราะมีความสัมพันธ์เชิงชู้สาวกับพระสนมของพระบิดา

7 รูปแบบการประพันธ์ กาพย์เห่เรือมีคำประพันธ์ 2 ชนิด คือ 1. โคลง 4 สุภาพ 2. กาพย์ยานี 11

8 รูปแบบโคลงสี่สุภาพ

9 วรรคหลัง 2 คำ ยกเว้นวรรคที่ 8 มี 4 คำ
องค์ประกอบโคลง 4 สุภาพ 1 บทมี 8 วรรค วรรคหน้า 5 คำ วรรคหลัง 2 คำ ยกเว้นวรรคที่ 8 มี 4 คำ คำในวงเล็บเรียกว่าคำสร้อย จะมีหรือไม่มีก็ได้ บังคับ เอก 7 โท บทมี 4 บาท 1 บาท มี 2 วรรค

10 คำสุดท้ายของวรรคที่ 2 ส่งสัมผัสไปยังคำสุดท้ายของวรรคที่ 3 และวรรคที่ 5
ลักษณะการบังคับ คำสุดท้ายของวรรคที่ 2 ส่งสัมผัสไปยังคำสุดท้ายของวรรคที่ 3 และวรรคที่ 5 คำสุดท้ายของวรรคที่ 4 ส่งสัมผัสไปยังคำสุดท้ายของวรรคที่ 7

11 รูปแบบกาพย์ยานี 11

12 องประกอบของกาพย์ยานี 11
องประกอบของกาพย์ยานี 11 1 บท มี วรรค วรรคหน้า 5 คำ วรรคหลัง 6 คำ บทมี บาท บาทมี วรรค

13 ที่มาของกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือได้แบบอย่างมาจากประเทศอินเดีย โดยชาวฮินดูจะใช้สวดเพื่อบูชาพระราม และพระลักษณ์ เพราะมีความเชื่อว่าพระรามและ พระลักษณ์ จากโลกมนุษย์ไปสู่สวรรค์ทางแม่น้ำคงคา ดังนั้นเมื่อจะข้ามแม่น้ำคงคา จึงต้องมีการสวดคำนมัสการพระรามเพื่อเป็นสิริมงคล

14

15 จุดมุ่งหมายการเห่เรือของไทย
1. เป็นกลวิธีที่ใช้ผ่อนแรงในขณะทำงานหนัก 2. ทำให้เกิดจังหวะในการพาย 3. เพื่อให้เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน

16 การเห่เรือมีอยู่ 2 ประเภท คือ
การเห่เรือมีอยู่ 2 ประเภท คือ 1. เห่เรือหลวง คือการเห่เรือเนื่องในงานพระราชพิธี 2. เห่เรือเล่น สำหรับเที่ยวเตร่กัน ฤดูของการเล่นเรือ เริ่มตั้งแต่ออกพรรษาไปจนถึง สิ้นเดือน 12

17 ลำนำสำหรับการเห่เรือ มี 4 ชนิด คือ
ลำนำสำหรับการเห่เรือ มี 4 ชนิด คือ 1. เกริ่นโคลง ใช้เมื่อพระเจ้าแผ่นดินเสด็จประทับในเรือ 2. ช้าลวะเห่ ใช้เห่เมื่อเรือเคลื่อนตัวออกช้า ๆ ลักษณะการพายเรียกว่า นกบิน

18 ใช้เห่เมื่อเรือจวนถึงที่ประทับ
3. สวะเห่ ใช้เห่เมื่อเรือจวนถึงที่ประทับ 4. มูลเห่ ใช้เห่ตอนกลับ เป็นจังหวะที่เร็ว ซึ่งต้องพายเรือทวนน้ำ พวกฝีพายจะออกแรงมาก และจะรับว่า “ ฮ้าไฮ้” พร้อมกันทุกบท อนันตนาคราช

19 - - ชะ - - - ชะ ฮ้าไฮ้ เฮ้เฮ เฮ้เฮ เฮเห่เฮเฮ เฮเฮเฮ เฮ้เฮเฮเห่เฮเฮ
จังหวะของการเห่ - - ชะ ชะ ฮ้าไฮ้ เฮ้เฮ เฮ้เฮ เฮเห่เฮเฮ เฮเฮเฮ เฮ้เฮเฮเห่เฮเฮ


ดาวน์โหลด ppt วรรณคดีเรื่องกาพย์เห่เรือ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google