งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่ 5 การบริโภคสินค้าอาหาร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 5 การบริโภคสินค้าอาหาร"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 5 การบริโภคสินค้าอาหาร

2 สินค้า ผู้บริโภค ถูกสถานที่ ถูกเวลา ถูกกลุ่มเป้าหมาย

3 อะไรที่ผู้บริโภคกิน ? เหตุผลที่กิน ? ปริมาณที่กิน ? เมื่อไหร่ ?
คำถามที่น่าสนใจ อะไรที่ผู้บริโภคกิน ? เหตุผลที่กิน ? ปริมาณที่กิน ? เมื่อไหร่ ? บ่อยแค่ไหน ?

4 ก่อให้เกิด อะไรคือสิ่งจำเป็นสำหรับผู้บริโภค ??
4.1 Preference (ความพอใจ) ของสินค้าอาหาร อะไรคือสิ่งจำเป็นสำหรับผู้บริโภค ?? อะไรคือสิ่งที่ผู้บริโภคต้องการ ?? ก่อให้เกิด เงื่อนไขต่างๆ ในกระบวนการผลิต และ การตัดสินใจในด้านการตลาด

5 ทำการพิจารณา 2 ด้าน Foodways หมายถึง รูปแบบของสังคมในด้านอาหาร นั่นคือ การได้มาซึ่งอาหาร การเตรียมอาหาร และการกินอาหาร การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการบริโภค

6 Foodways ในทางการตลาด บอกคุณลักษณะ foodways ได้ 4 ลักษณะ

7 Foodways ในทางการตลาด บอกคุณลักษณะ foodways ได้ 4 ลักษณะ
3. Foodways คือ การตอบคำถาม “How to eat” ซึ่งหมายรวมถึงการบริโภคที่เพียงพอไม่ขาดสารอาหาร 4. Foodways พัฒนาเศรษฐกิจของสังคม พัฒนาการศึกษา เทคโนโลยี เปลี่ยนวิถีชีวิตของคน เปลี่ยนชนบทให้กลายเป็นเมือง

8 การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการบริโภค
ผู้บริโภคสมัยใหม่ สิ่งที่ต้องการไม่ใช่แค่อาหาร แต่เป็นอาหารที่มีคุณสมบัติสามารถตอบสนอง 4 utilities ได้ ผลจากการวิจัย มูลค่าของสินค้าอาหารยุคใหม่ สูงขึ้นเนื่องจากมีค่าของการออกแบบ ค่า packaging ค่าการจัดสินค้า และค่าโฆษณา เพิ่มมากขึ้น

9 4.2 รูปแบบของการบริโภคและรูปแบบค่าใช้จ่ายของสินค้าอาหาร
แนวโน้มการบริโภค ลักษณะการบริโภค ปัจจัยที่มีผลกระทบ ปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอก

10

11

12

13 4.3 ประชากรกับการบริโภคอาหาร
How many people there are ? Where they live ? How they live ? มีอิทธิพลต่อการตลาดอย่างไร ? The number of mouths to feed What people live ? Where food is sold ? How people buy their food?

14 แนวโน้มของประชากร

15 แนวโน้มของประชากร

16 การบริโภคอาหาร

17 ปริมาณการจำหน่ายในประเทศ(ตัน)
ปี 2547 ปี 2548 ปศุสัตว์ 723,789.20 730,679.50 0.95% ประมง 136,046.00 117,079.60 -13.94% ผักผลไม้ 116,886.30 136,792.10 17.03% น้ำมันพืช 909,129.40 900,510.10 -0.95% ผลิตภัณฑ์นม 658,832.30 604,973.80 -8.17% ธัญพืชและแป้ง 793,674.10 761,665.90 -4.03% อาหารสัตว์ 4,892,830.30 4,916,378.80 0.48% น้ำตาล 3,520,729.90 3,155,114.80 -10.38% บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป 125,039.20 116,980.50 -6.44% รวม 11,876,956.60 11,440,175.20 -3.68% รวม(ไม่รวมน้ำตาล) 8,356,226.70 8,285,060.40 -0.85%

18 จำนวนประชากร => ปริมาณอาหารซึ่งจำเป็นในการดำรงชีพ รายได้ => ความสามารถในการซื้อ

19 4.4 รายได้กับการบริโภคสินค้าอาหาร
Effective food Demand รายได้ต่ำ มีความจำเป็นในการบริโภคสินค้า อาหารแต่ขาดกำลังซื้อ รายได้สูง นั่นคือ Strong Effective Demand Income Elasticity Normal good (รายได้เพิ่มปริมาณการบริโภคก็เพิ่มขึ้น) Inferior good (รายได้เพิ่มแต่ปริมาณการบริโภคลด)

20 หน่วย: บาทต่อครัวเรือน
ปี พ.ศ. ค่าใช้จ่ายทั้งสิ้น ค่าใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภค ค่าใช้จ่ายด้านอาหารและเครื่องดื่ม รายได้ทั้งหมด สัดส่วน 2524 3,374.00 3,151.00 1,487.00 3,378.00 44.02% 2529 3,783.00 3,486.00 1,472.00 3,631.00 40.54% 2531 4,161.00 3,804.00 1,519.00 4,106.00 36.99% 2533 5,437.00 4,942.00 1,969.00 5,625.00 35.00% 2535 6,529.00 5,892.00 2,272.00 7,062.00 32.17% 2537 7,567.00 6,784.00 2,548.00 8,262.00 30.84% 2539 9,190.00 8,072.00 2,957.00 10,779.00 27.43% 2541 10,389.00 8,966.00 3,648.00 12,492.00 29.20% 2542 10,238.00 8,903.00 3,408.00 12,729.00 26.77% 2543 9,848.00 8,558.00 3,174.00 12,150.00 26.12% 2544 10,025.00 8,758.00 3,261.00 12,185.00 26.76% 2545 10,889.00 9,601.00 3,654.00 13,736.00 26.60% 2547 12,297.00 10,885.00 3,769.00 14,963.00 25.19%

21 ผลกระทบจากการเพิ่มขึ้นของรายได้
ผู้บริโภคไม่ได้ซื้อสินค้าอาหารในปริมาณที่เพิ่มขึ้น แต่ ซื้อสินค้าอาหารที่แพงขึ้น สัดส่วนค่าใช้จ่ายด้านอาหารต่อค่าใช้จ่ายทั้งหมดลดลง (ค่าใช้จ่ายด้านอาหารเพิ่มขึ้นน้อยกว่าค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่เพิ่มขึ้น) ผู้บริโภคต้องการสินค้าที่มีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น (นั่นหมายถึงกระบวนการทางการตลาดเพิ่มขึ้น) ความต้องการ Convenience foods เพิ่มขึ้น

22 4.5 ตลาดกับการบริโภคอาหารนอกบ้าน
สาเหตุการเพิ่มขึ้นของการบริโภคอาหารนอกบ้าน รายได้เพิ่มขึ้น Working woman การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต

23 Foodservice sector ร้านอาหาร โรงเรียน สถานที่ทำงาน โรงอาหารใน โรงพยาบาล โรงแรม รัฐบาล ทหาร

24 ผลกระทบของการบริโภคอาหารนอกบ้าน
ผู้บริโภคจ่ายค่าอาหารแพงขึ้น แต่เกษตรกรยังมีรายได้ต่ำ เนื่องจากสิ่งที่ผู้บริโภคจ่ายเป็นต้นทุนการบริการ เกษตรกรปรับเปลี่ยนรูปแบบการผลิต


ดาวน์โหลด ppt บทที่ 5 การบริโภคสินค้าอาหาร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google