งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

คุณค่าที่เกิดขึ้นจากการจัดงานมหกรรมพลังเยาวชน พลังสังคม ครั้งที่ 1

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "คุณค่าที่เกิดขึ้นจากการจัดงานมหกรรมพลังเยาวชน พลังสังคม ครั้งที่ 1"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1

2 คุณค่าที่เกิดขึ้นจากการจัดงานมหกรรมพลังเยาวชน พลังสังคม ครั้งที่ 1
1. เยาวชนมีโอกาสและพื้นที่ได้แสดงผลงานและศักยภาพให้สังคมรับรู้เรื่องราวดีๆของเยาวชนในฐานะที่เป็นพลังร่วมในการพัฒนาสังคม 2. เยาวชนรู้สึกมีคุณค่าและภาคภูมิใจในตนเอง เกิดกำลังใจ มีแรงบันดาลใจในการทำสิ่งดีๆ ที่เป็นการพัฒนาตนเอง และสังคมต่อไป 3. เชื่อมโยงภาคีเครือข่ายที่ทำงานด้านการพัฒนาเยาวชนมาร่วมกันสื่อสารสร้างการรับรู้ให้สังคมเห็นศักยภาพของเยาวชนและเห็นความสำคัญในการสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพของเยาวชนได้อย่างมีพลัง 4. เกิดการรวบรวมฐานข้อมูลเยาวชนต้นแบบใน 10 ประเด็น (ประมาน 200 ตัวอย่าง) และฐานข้อมูลองค์กรภาคีที่ทำงานด้านพัฒนาเด็กและเยาวชน (จำนวน 102 องค์กร) โดยจัดทำเป็นสื่อสิ่งพิมพ์สื่อสารสร้างการรับรู้ของสังคมได้ในวงกว้าง 5. องค์กรภาคีเครือข่ายได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเชื่อมโยงการทำงานภายในประเด็น นำไปสู่ความร่วมมือขับเคลื่อนงานเชิงประเด็น เช่น ประเด็นจิตอาสา สิ่งแวดล้อม กลุ่มสภาเด็ก และเยาวชนกับ ICT

3 12/29/09 งานมหกรรมพลังเยาวชน เป็นการจัดงานเพื่อ แสดงพลังเชิงบวก ของเยาวชนในสังคม เพื่อให้สังคมยอมรับ “พลังเยาวชน” ที่จะร่วม คิด และ สร้าง สังคมไทยร่วมกับผู้ใหญ่ เปิดโอกาส และ ให้พื้นที่ ในการนำเสนอเรื่องราวและผลงานดีๆ ของเยาวชนที่ได้ใช้ พลัง ศักยภาพ ความคิดสร้างสรรค์ ในการพัฒนาตนเอง ผ่านการลงมือทำ ด้วยมุ่งมั่น และจริงจัง รวมทั้งแบ่งปันความรู้ ความสามารถให้กับสังคม นอกจากนี้ยังมีการนำเสนอผลงานและพัฒนาเยาวชนในรูปแบบต่างๆ และการสังเคราะห์ความรู้เสนอต่อสังคม 3

4 12/29/09 วัตถุประสงค์ สร้างความตระหนักของสังคมว่า เยาวชน เป็นกลุ่มที่มีพลังสร้างสรรค์ เป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนา/แก้ปัญหาสังคม เปิดพื้นที่ให้เยาวชนแสดงผลงานและเพื่อสร้างความภาคภูมิใจ และเกิดพลังในการพัฒนาตนเองและแบ่งปันกับสังคมต่อไป สร้างโอกาสให้เยาวชนแกนนำ ภาคีองค์กรพัฒนาเยาวชน ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ความรู้ เครื่องมือใหม่ๆ ในการพัฒนาเยาวชนร่วมกัน สานพลังภาคีเครือข่ายองค์กรพัฒนาเยาวชนให้ มีส่วนร่วมเป็นเจ้าของงาน และใช้งานมหกรรมพลังเยาวชนฯ เพื่อผลักดันการทำงานของแต่ละองค์กร 5. เผยแพร่องค์ความรู้ใหม่ในการทำงานพัฒนาเยาวชน เพื่อยกระดับการทำงานภาคีเครือข่ายและเป็นประโยชน์ต่อการนำไปใช้ขับเคลื่อนนโยบาย 6. เป็นตลาดนัดให้คนทำงานพบกับผู้สนับสนุน

5 กลุ่มเป้าหมาย 2.ผู้เข้าร่วมงาน ประมาณ 700 คน ประกอบด้วย :- เยาวชน
ได้ แสดงผลงาน ผ่านเวทีแสดงความสามารถ สื่อ สิ่งพิมพ์ หนังสั้น ละคร ฯ ได้เรียนรู้ เครื่องมือการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ใหม่ๆ และได้เรียนรู้ข้ามกลุ่ม 1.เยาวชนแกนนำที่นำความสำเร็จมาแสดง จำนวน 700 คน 2.ผู้เข้าร่วมงาน ประมาณ 700 คน ประกอบด้วย :- เยาวชน พ่อ-แม่ ผู้ปกครอง ครูอาจารย์ บุคคลทั่วไป เติม ทักษะการเรียนรู้ และ พัฒนาตนเองภายใน ผ่านเครื่องมือการเรียนรู้ใหม่ๆ เห็นตัวอย่างการทำงาน เพื่อสังคม และชุมชน เกิดแรงจูงใจและนำความรู้ที่ได้ไปพัฒนาต่อยอดงานของตน ได้ แสดงผลงาน ผ่านการจัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติ (Workshop) ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเชื่อมร้อยเครือข่าย เพื่อขับเคลื่อนงานแต่ละประเด็น 3.องค์กรพัฒนาเยาวชน ได้ แสดงผลงาน CSR ขององค์กร (ด้านการพัฒนาเยาวชน) ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ รูปแบบกิจกรรมการพัฒนาเยาวชนของเครือข่าย เชื่อมร้อยเครือข่าย แสวงหาโอกาสในการสนับสนุนงานพัฒนาเยาวชน 4. องค์กรภาคธุรกิจ CSR club 5.สื่อมวลชน เห็นคุณค่าในพลังของเยาวชนที่มีต่อสังคมไทย นำข้อมูลไปสื่อสารขยายผล

6 ถอดความรู้ ถ่ายทอดประสบการณ์ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ สะท้อนมุมมอง
12/29/09 สานเสวนา ถอดความรู้ ถ่ายทอดประสบการณ์ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ สะท้อนมุมมอง ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ สร้างกระแสสังคมด้านการพัฒนาเยาวชน นิทรรศการ สื่อ สารคดี หนังสั้น แสดงเรื่องราวดีๆ ของเยาวชนตัวอย่าง จาก 5 ประเด็น รูปแบบการจัดงาน มหกรรมพลังเยาวชน พลังสังคม “การแบ่งปัน” 6 – 8 พฤษภาคม 2554 เวทีการแสดงความสามารถเยาวชนในสวน หลายรส หลากสีสัน ดนตรี ละคร โชว์ ของเยาวชนจากทั่วประเทศ กิจกรรมสาธิต และ WORKSHOP เติมความรู้, เทคนิค, เครื่องมือการทำงาน สำหรับพัฒนาเยาวชน และพี่เลี้ยง 6

7 เครือข่าย ประเด็น 1: IT เพื่อการพัฒนาเยาวชน
1. ภาคีพูนพลังเยาวชน: ICT Youth Connect (สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและ ครอบครัว ม.มหิดล) 2. เครือข่ายเยาวชนพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซอฟท์แวร์ (ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิคส์และ คอมพิวเตอร์แห่งชาติ-NECTEC) ประเด็น 5: การปฏิรูปเรียนรู้เพื่อการพัฒนาเยาวชน แบ่งเป็นประเด็นย่อย คือ: ศาสนากับการเรียนรู้ของเยาวชน ได้แก่ 17. โครงงานคุณธรรมเฉลิมพระเกียรติ 18. เสถียรธรรมสถาน 19. เครือข่ายพุทธิกาฯ 20. หอจดหมายเหตุพุทธทาส ศิลปะ/การแสดง พื้นที่สร้างสรรค์ ได้แก่ 21. ละครเพื่อการพัฒนาเยาวชน(เครือข่ายหน้ากากเปลือย) 22. เยาวชนบีบอย (เครือข่ายบีบอยประเทศไทย) 23. พื้นที่สร้างสรรค์กับการเรียนรู้ของเยาวชน (เครือข่าย พื้นที่นี้ดีจัง) ดนตรี ได้แก่ 24. เยาวชนกับดนตรีคลาสสิค (คณะดุริยางคศาสตร์ ม.ศิลปากร) สื่อสร้างสรรค์กับเยาวชน ได้แก่ 25. เครือข่ายเยาวชนผลิตสื่อสร้างสรรค์ (แผนงานสื่อสร้างสุขภาวะเด็กและเยาวชน) 26. เครือข่ายเยาวชนนักเขียนการ์ตูนไซไฟ (สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ -สวทช.) 27. เยาวชนผลิตหนังสั้นและสารคดี (FUSE) 28.เครือข่ายการ์ตูน อื่นๆ ได้แก่ 29. โครงการพัฒนาเยาวชนด้วยการเรียนรู้หลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง มูลนิธิสยามกัมมาจล 30. อุทยานการเรียนรู้ TK PARK 31. S CLUB 32. เครือข่ายศิลปะคนตรีคนพิการ ประเด็น 2: จิตอาสาเพื่อการพัฒนาเยาวชน 3. ภาคีพูนพลังเยาวชน : เครือข่ายจิตอาสา (30 องค์กร) 4. โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำจิตอาสา ในสถานศึกษา (มูลนิธิกระจกเงา) 5. โครงการจัดตั้งศูนย์อาสาสมัคร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เครือข่าย ประเด็น 3: พลังเยาวชน พลังท้องถิ่น 6. โครงการส่งเสริมการจัดการความรู้ของเยาวชน ในชุมชนท้องถิ่น 4 ภาค (สรส.) 7. เครือข่ายเยาวชนรักแม่กลอง (ศูนย์ประสานงานวิจัยเพื่อท้องถิ่นจ.สมุทรสงคราม) 8. PDA 9.เครือข่ายพัฒนาสุขภาพของเยาวชน (สปรส. ภาคเหนือ) 10.เครือข่ายเยาวชนคนไร้รัฐ สภาเด็กและเยาวชน 11. ภาคีพูนพลังเยาวชน:เครือข่ายสภาเด็กและเยาวชน (จ.อุบลฯ นนทบุรี เชียงใหม่ และตรัง) 12. สภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย 13. เครือข่ายเยาวชนเพื่อการปฏิรูป ประเด็น 4: เยาวชนรักษ์สิ่งแวดล้อม 14. ภาคีพูนพลังเยาวชน : ต้นกล้าในป่าใหญ่ (ศูนย์วนศาสตร์ชุมชนเพื่อคนกับป่า-RECOFTC) และเครือข่ายเยาวชนป่าชุมชน 20 กลุ่ม 15. โครงการรางวัลลูกโลกสีเขียว (ปตท.) 16.สมาคมสร้างสรรค์ไทย (โครงการตาวิเศษ)

8 Impact 4 ด้าน จากการดำเนินโครงการมหกรรมเยาวชนครั้งที่ 2
12/29/09 เปิดพื้นที่ทางสังคม เสริมพลังเยาวชน พัฒนาเครือข่าย พัฒนาคนทำงาน สื่อสร้างการเรียนรู้ ถอดบทเรียนสังเคราะห์องค์ความรู้ ขอเสนอนโยบายการพัฒนาเยาวชน หนังสือรายงานศักยภาพเยาวชนไทยประจำปี ผลที่คาดว่าจะได้รับ จากการดำเนินการ พัฒนาเครือข่ายองค์กร / พัฒนาคน เปิดพื้นที่ทางสังคม / เสริมพลังเยาวชน ได้องค์ความรู้การพัฒนาเยาวชน และข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย สื่อสารสร้างการรับรู้และเรียนรู้ของสังคมในประเด็นที่เคียงข้างกับการพัฒนาเยาวชน 8

9 กรอบการดำเนินงาน กิจกรรม ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค.
1 ประชุมร่วมกับภาคีเครือข่ายเพื่อระดมความคิดเพื่อเตรียมจัดงานมหกรรมฯ 2 ประชุมองค์กรเจ้าภาพร่วมจัดงานมหกรรมฯ 3 ภาคีเครือข่ายแต่ละประเด็น/กลุ่ม เตรียมเนื้อหา กลุ่มเป้าหมาย และรูปแบบการจัดงานมหกรรมฯ 3 ภาคีเครือข่ายแต่ละประเด็น/กลุ่ม สรุปและส่งเนื้อหา กลุ่มเป้าหมาย และรูปแบบการจัดงานมหกรรมฯ 4 จัดทำกำหนดการ และตารางเวลาการจัดงานมหกรรมพลังเยาวชนฯ 5 ประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางต่างๆ 6 จัดทำสื่อและเอกสารแจกในงานมหกรรมฯ

10 กรอบการดำเนินงาน (ต่อ)
กิจกรรม ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. 7 รับสมัคร และจัดอบรมเตรียมอาสาสมัคร 8 จัดแถลงข่าว 9 เตรียมความพร้อม (คน, สถานที่, ที่พัก, อาหาร) 10 งานมหกรรมพลังเยาวชนฯ และสรุปงานมหกรรมพลังเยาวชน

11 สถานที่จัดงาน หอจดหมายเหตุ พุทธทาส อินทปัญโญ

12 ติดต่อกองเลขา กิตติรัตน์ ปลื้มจิตร โทร 02-5441258, 086-3005962
กิตติรัตน์ ปลื้มจิตร โทร , อุบลวรรณ เสือเดช โทร , รัตนา กิติกร โทร ,


ดาวน์โหลด ppt คุณค่าที่เกิดขึ้นจากการจัดงานมหกรรมพลังเยาวชน พลังสังคม ครั้งที่ 1

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google