งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สมุทรศาสตร์เบื้องต้น (HE202)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สมุทรศาสตร์เบื้องต้น (HE202)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สมุทรศาสตร์เบื้องต้น (HE202)

2 สมุทรศาสตร์ (Oceanography)
วิทยาศาสตร์แขนงหนึ่ง ซึ่งมีความเกี่ยวพันกับ วิทยาศาสตร์แขนงอื่น ๆ อีกหลายสาขาโดยมี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ให้เกิดความรู้และความ เข้าใจเกี่ยวกับทะเลและ มหาสมุทร

3 สมุทรศาสตร์ (Oceanography)
วิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งซึ่งมีความเกี่ยวพันกับวิทยาศาสตร์แขนงอื่น ๆ อีกหลายสาขาโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาให้เกิดความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับทะเลและมหาสมุทร

4 สมุทรศาสตร์ (Oceanography)
สมุทรศาสตร์กายภาพ (Physical Oceanography) สมุทรศาสตร์เคมี (Chemical Oceanography) สมุทรศาสตร์ชีวะ (Biological Oceanography) สมุทรศาสตร์ธรณี (Geological Oceanography) สมุทรศาสตร์อุตุนิยมวิทยา (Meteorological Oceanography)

5 สมุทรศาสตร์กายภาพ การศึกษาลักษณะทางกายภาพของทะเล และมหาสมุทรได้แก่
การศึกษาลักษณะทางกายภาพของทะเล และมหาสมุทรได้แก่ น้ำขึ้น - น้ำลง กระแสน้ำ คลื่น อุณหภูมิ ความหนาแน่น การหมุนเวียนของน้ำ เสียงในทะเล ความโปร่งแสงของน้ำทะเล น้ำแข็งในทะเล และปัจจัยอื่น ๆ ทางฟิสิกส์ของน้ำทะเล

6 Sea Surface Temperature - October 7, 2002

7

8 WAVES

9 สมุทรศาสตร์เคมี ศึกษาถึงที่มา องค์ประกอบและปฏิกิริยาทางเคมีของน้ำทะเล รวมทั้ง สภาพความเค็ม ความนำไฟฟ้า ความเป็นกรด - ด่าง ปริมาณสารอาหาร แร่ธาตุ กัมมันตรังสี ปริมาณก๊าซที่ละลายอยู่ในน้ำทะเล

10 CHEMISTRY

11 ค่าความเค็มเฉลี่ยในมหาสมุทร

12 สมุทรศาสตร์ชีวะ ศึกษาถึงสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์ในทะเล วัฏจักรและความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในทะเล รวมทั้งสภาพแวดล้อมของทะเลและมหาสมุทรที่เกี่ยวข้องกับสิ่งมีชีวิต

13

14 ปรากฎการณ์ขี้ปลาวาฬ (Red Tides)

15

16 สมุทรศาสตร์ธรณี ศึกษาถึง กำเนิดของเปลือกสมุทร
การเคลื่อนตัวของเปลือกสมุทร ลักษณะภูมิประเทศและส่วนประกอบทางกายภาพของพื้นท้องทะเล ลักษณะตะกอนพื้นท้องทะเล และลักษณะชายฝั่งชนิดต่าง ๆ

17

18 Mostly beach Mostly rocky shoreline

19 What are beaches made of?

20

21

22 สมุทรศาสตร์อุตุนิยมวิทยา
ศึกษาถึงปฏิสัมพันธ์ (Interaction) ระหว่างบรรยากาศ และผิวหน้าน้ำทะเล ลมและผลจากอิทธิพลของลม ทัศนวิสัยในทะเล และองค์ประกอบทางอุตุนิยมวิทยาอื่น ๆ ในทะเล

23 CLIMATE

24 WEATHER

25 CLIMATE, OCEAN CIRCULATION

26 HISTORY OF OCEANOGRAPHY
Early humans B.C. 500 B.C A.D. (Dark Ages) European explorers British explorers Scientists, Navigation Modern Oceanography

27 1500 - 500 B.C. PHOENICIANS - Africa; England
EGYPTIANS - Mediterranean; Red Sea

28 1500 - 500 B.C. ARAB TRADERS- Indian Ocean POLYNESIANS - Pacific Ocean
ชาวอาหรับได้ออกเดินทางสู่มหาสมุทรอินเดียและชาวโพลิเนเซียน ได้ออกเดินทาง สู่การค้นพบในมหาสมุทรแปซิฟิก การเดินทางเริ่มแรกเป็นการเดินเรือใกล้ชายฝั่งและนำเรือกลับเข้าฝั่งในช่วงเวลากลางคืน เมื่อออกจากฝั่งพวกเขาอาศัยนก คลื่น และการสังเกตเมฆ ช่วยในการเดินทางและอาศัยกลิ่นของดอกไม้ และการเผาไม้ช่วยในการเดินทางกลับสู่ฝั่ง Trade and War Stayed close to shore

29 500 B.C. - 500 A.D. GREEKS Aristotle water cycle

30 500 B.C. - 500 A.D. GREEKS Eratosthenes Earth circumferance
ประมาณ 200 ปี ก่อนคริสตศักราช อีราทอสเทนีส (Eratosthenes) ชาวอียิปต์ บรรณารักษ์ห้องสมุดที่เมือง Alexandria ได้จัดสร้างแผนที่ขึ้น และคำนวณเส้นรอบวงของโลกได้ 40,250 กิโลเมตร หรือ 25,000 ไมล์ (ปัจจุบัน วัดได้ 40,067 กิโลเมตรหรือ24,881 ไมล์)

31 ในวันที่ 21 มิ.ย. ซึ่งเป็นวันที่ดวงอาทิตย์ทำมุมตั้งฉากกับผิวโลกนั้น สามารถมองเห็นก้นบ่อน้ำที่เมือง Syene (หรือ Answan ในปัจจุบัน) ในขณะที่ไม่สามารถมองเห็นก้นบ่อน้ำที่เมือง Alexandria จึงสรุปได้ว่า เกิดจากส่วนโค้งของโลก ทำให้ดวงอาทิตย์ไม่ได้ทำมุมตั้งฉากกับผิวโลกที่เมือง Alexandria Syene Alexandria

32 เขาได้วัดมุมของดวงอาทิตย์มีค่าเท่ากับ 1/50 ของส่วนโค้งของวงกลม โดยระยะทางระหว่างเมือง Syene และ Alexandria เท่ากับ 5000 stadia (1 stadia มีค่าประมาณ 1/6 กิโลเมตร) เขาสามารถคำนวณเส้นรอบวงของโลกได้เท่ากับ 250,000 stadia หรือ ประมาณ 40,250 กิโลเมตร

33

34 500 B.C. - 500 A.D. GREEKS Posidonius ocean depth (1800 m = 1 mile)
โปไซโดเนียส (Posidonius) แจ้งว่าสามารถวัดความลึกน้ำทะเลใกล้เกาะซาร์ดิเนีย (Sardinia) ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ได้ประมาณ 1,800 เมตร (6,000 ฟุต)

35 500 B.C. - 500 A.D. GREEKS Pliny the Elder tides and moon
ไพลนี่ (Pliny) พบว่าดิถีดวงจันทร์มีความสัมพันธ์กับการขึ้น–ลงของระดับน้ำในทะเล และพบว่ามีกระแสน้ำไหลผ่านช่องแคบยิบรอลตาร์ (Gibraltar)

36 500 B.C. - 500 A.D. GREEKS Claudius Ptolemaeus (Ptolemy) “world” map
ได้นำแนวความคิดเรื่องโลกกลมของ Eratosthenes มาใช้ในการสร้างแผนที่ โดยเริ่มมีแผนที่ระบบ Grid System แต่ การสร้างแผนที่ยังคงได้จากการถาม นักเดินเรือและชาวประมง การสร้างแผนที่โลกยังคงเป็นลักษณะ แบน และภูมิภาคใดที่มีความสำคัญ เกี่ยวกับทรัพยากรที่เกี่ยวกับมนุษย์จะมี ขนาดใหญ่กว่าภูมิภาคอื่น

37 ในแผนที่ดังกล่าว ศรีลังกา (Taprobane) มีขนาดใหญ่กว่าอินเดีย

38 คาบสมุทรสุวรรณภูมิ (Aurea Chersonesus or Golden Peninsular) และไทยก็เป็นที่รู้จักในแง่ของ แร่ดีบุก(ถลาง)

39 Johannes Kepler ( )

40 Johannes Kepler ( ) นักดาราศาสตร์ชาวเยอรมันได้ทำการวิเคราะห์ข้อมูลตำแหน่งของดาวเคราะห์ ที่ได้จากการตรวจวัดจากการสังเกต การณ์อย่างละเอียด แล้วทำการคำนวณย้อนกลับ พบว่า ผลของการคำนวณซึ่งถือเอาวงโคจรเป็นรูปวงกลมนั้น ไม่สอดคล้องกับข้อมูลที่ได้จากการสังเกต การณ์ แต่กลับสอดคล้องกับผลของการคำนวณซึ่งถือเอาวงโคจรเป็นรูปวงรี    ในปี ค.ศ.1609 เคปเลอร์ได้ประกาศว่า “ดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์เป็นวงรี โดยมีดวงอาทิตย์อยู่ที่โฟกัสจุดหนึ่ง” (กฎข้อที่ 1 กฎของวงรี)

41 Galileo Galilei ( )

42 Galileo Galilei (1564-1642) นักฟิสิกส์ผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดคนหนึ่งของโลก
เป็นบุคคลแรกที่ได้ใช้กล้องโทรทรรศน์แสดงให้มนุษย์รู้ธรรมชาติของจักรวาลและรู้ว่าโลกเป็นเพียงดาวบริวารดวงหนึ่งของดวงอาทิตย์เท่านั้นเอง นักวิทยาศาสตร์คนแรกที่ใช้คณิตศาสตร์ในการอธิบายปรากฎการณ์ต่าง ๆ ในธรรมชาติซึ่งการศึกษาด้านกลศาสตร์ของ Galileo ได้วางรากฐานให้ Newton ได้สร้างวิชาฟิสิกส์ในเวลาต่อมา

43 Sir Isaac Newton ( )

44 Sir Isaac Newton ( ) นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ สนใจดาราศาสตร์ และประดิษฐ์กล้องโทรทรรศน์ชนิดสะท้อนแสง (Reflecting telescope) ขึ้นโดยใช้โลหะเงาเว้าในการรวมแสง แทนการใช้เลนส์ เช่นในกล้องโทรทรรศน์ชนิดหักเหแสง (Refracting telescope) นิวตันติดใจในปริศนาที่ว่า แรงอะไรทำให้ผลแอปเปิลตกสู่พื้นดินและตรึงดวงจันทร์ไว้กับโลก และสิ่งนี้เองที่นำเขาไปสู่การค้นพบกฎที่สำคัญ 3 ข้อ

45 Edmund Halley ( )

46 Edmund Halley (1656-1742) บันทึกตำแหน่งของดวงจันทร์จนครบรอบ 19 ปี
ทำแผนที่ดาวของซีกโลกใต้สำเร็จ ชื่อดาวหางฮัลเลย์ตั้งเพื่อเป็นเกียรติแก่ฮัลเลย์ ผู้คำนวณการปรากฎของดาวหางดวงนี้และเป็นคนแรกที่รู้ว่า แรงโน้มถ่วงระหว่างมวลของสารที่ดวงอาทิตย์กระทำต่อดาวหางทำให้ดาวหางเคลื่อนที่รอบดวงอาทิตย์เหมือนกับดาวเคราะห์ ดาวหาง ฮัลเลย์กลับมาให้เห็นอีกในปีพ.ศ พ.ศ และ พ.ศ เป็นดาวหางที่มีความสว่างมากและเคลื่อนที่รอบดวงอาทิตย์รอบละประมาณ 75 – 76 ปี

47 Charles Darwin ( )

48 Early Exploration ชาร์ล ดาร์วิน ผู้ก่อตั้งทฤษฎีวิวัฒนาการ(Origin of Species) ในช่วงระหว่าง ค.ศ ขณะปฏิบัติงานบนเรือบีเกิล (H.M.S.Beagle) ได้รวบรวม คัดแยก สิ่งมีชีวิตทั้งบนบกและในทะเล ซึ่งรวมถึงข้อมูลปะการังหลายร้อยชนิดในมหาสมุทร แปซิฟิค และเผยแพร่ผลงานทฤษฎีวิวัฒนาการของปะการังและแนวปะการัง (Atoll) ซึ่งเป็นทฤษฎีที่ยังยอมรับจนถึงทุกวันนี้

49 Darwin “Beagle” ( )

50 Early Exploration ในช่วงปี ค.ศ ราชนาวีแห่งสหราชอาณาจักรได้ส่งเรือคุ้มกัน (คอร์เวท) แชลเลนเจอร์ พร้อมด้วยนักวิทยาศาสตร์จำนวนหนึ่งไปดำเนินการสำรวจทะเลใหญ่ทั้ง 7 แห่งของโลก คิดเป็นระยะทางถึง 68,890 ไมล์ และกินเวลานานถึง 3 ปีครึ่ง

51 Challenger ( )

52 Challenger Expedition 1872-1876
ภายใต้ความควบคุมของศาสตราจารย์ทอมสัน (Professor C. Wyville Thomson) โดยเก็บตัวอย่างน้ำทะเล ตัวอย่างพื้นท้องทะเล ตัวอย่างสิ่งมีชีวิต และวัดอุณหภูมิน้ำทะเล ผลการสำรวจได้พิมพ์เป็นรูปรายงานโดยใช้ชื่อว่า Challenger Reports การสำรวจในครั้งนี้ทำให้ทราบข้อมูลความลึกของทุกมหาสมุทรในโลก ยกเว้นมหาสมุทรอาร์คติก

53 Benjamin Franklin ( )

54 Benjamin Franklin ( ) ได้รวบรวมและพิมพ์แผนที่ของกระแสน้ำอุ่น กลัฟสตรีม (Gulf Stream) ซึ่งถือว่าเป็นการเผยแพร่งานสมุทรศาสตร์ครั้งแรก

55 Nathaniel Bowditch (1773-1838)

56 Nathaniel Bowditch (1773-1838)
early American mathematician remembered for his work on ocean navigation. He is often credited as the founder of modern maritime navigation; his book The New American Practical Navigator, first published in 1802, is still carried onboard every commissioned U.S. Naval vessel

57 Thomas Jefferson ( )

58 Thomas Jefferson ( ) the founder of National Oceanic and Atmospheric Administration (NOAA). In 1807, Jefferson created our nation’s first scientific agency–the Survey of the Coast, an early forerunner of NOAA.

59 Matthew F. Maury

60 Matthew F. Maury นายทหารเรืออเมริกันรับผิดชอบในการดูแลคลังแผนที่และเครื่องมือเดินเรือของสหรัฐ มอรี่ได้วิเคราะห์สมุดปูมเรือจำนวนมากที่มีในคลังเพื่อรวบรวมข้อมูลทางด้านกระแสน้ำและสภาพอากาศในมหาสมุทรต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ ซึ่งข้อมูลดังกล่าวนี้ถูกนำมาใช้ประโยชน์อย่างแพร่หลายต่อการเดินเรือ

61 Matthew F. Maury ในช่วงศตวรรษที่ 19 เขาเป็นผู้ริเริ่มให้มีการจัดการประชุมทางด้านอุตุนิยมวิทยาในทะเลเพื่อกำหนดมาตรฐานในการเก็บข้อมูลสมุทรศาสตร์และอุตุนิยมวิทยาทางทะเลของเรือในทะเล มอรี่เป็นผู้ที่ได้รับการขนานนามว่า “บิดาของวิชาสมุทรศาสตร์”

62 Echo-sounding (Meteor - 1925)
The Last 100 Years Echo-sounding (Meteor )

63 WHOI (1927); SIO; . . .

64 SCUBA (Jacques Cousteau)

65 Satellites (Sputnik - 1957)

66 Deep-sea research vessels (Trieste)

67 Deep-sea research vessels (ALVIN)

68 Glomar Challenger; Glomar Explorer

69 US. Navy Oceanographic Office (NAVOCEANO)

70

71 US. Navy Oceanographic Office (NAVOCEANO)
จัดตั้งขึ้นมาเพื่อวัตถุประสงค์ในการปรับปรุงและพัฒนาความพร้อมในการรบของกองเรือ และดำเนินงานวิจัยทางทะเลเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์นี้ ซึ่งผลงานวิจัยของ NAVOCEANO ตลอดจนสำนักงานวิจัยของสหรัฐนาวี (Office of Naval Research)) และหน่วยงานยามฝั่งของสหรัฐอเมริกา (US. Coast Guard) ล้วนแต่มีคุณค่าต่อนักสมุทรศาสตร์ในรุ่นต่อ ๆ มาเป็นอย่างมาก

72

73

74 US. Coast and Geodetic Survey

75 US. Coast and Geodetic Survey
ค.ศ.1807 หน่วยงานสำรวจฝั่งและสำรวจยีออเดติกของสหรัฐอเมริกา (US. Coast and Geodetic Survey) ได้ถูกก่อตั้งขึ้นโดยสภาคองเกรสหลังจากที่ประธานาธิบดีเจฟเฟอร์สันร้องขอให้มีการสำรวจชายฝั่งของสหรัฐอเมริกา ซึ่งหน่วยงานดังกล่าวนี้ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็นหน่วยงานสำรวจมหาสมุทรแห่งชาติ (National Ocean Survey) ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบหลักในการสำรวจหาความลึกของมหาสมุทร (Bathymetric Survey) ในน่านน้ำของประเทศติดต่อกับทวีปอเมริกาเหนือ ซึ่งเรือสำรวจของหน่วยงานนี้ยังได้ดำเนินการสำรวจเก็บข้อมูลและทำการวิจัยสมุทรศาสตร์ด้านอื่น ๆ อีกมากมาย

76 National Oceanic and Atmospheric Administration : NOAA

77 National Oceanic and Atmospheric Administration : NOAA
หน่วยงานบริหารการใช้มหาสมุทรและนภากาศแห่งชาติ (National Oceanic and Atmospheric Administration : NOAA) ซึ่งสังกัดกรมการพาณิชย์สหรัฐ (Commerce Department) เป็นหน่วยงานที่ดำเนินงานเพื่อควบคุมให้การใช้ทรัพยากรทางทะเลของชาติ เป็นไปอย่างชาญฉลาดโดยอาศัยความร่วมมือของหน่วยงานสำรวจสมุทรศาสตร์แห่งชาติ หน่วยงานบริการทางด้านประมงทางทะเลแห่งชาติ (National Marine Fisheries Service) และ สำนักงานกองทุนทางทะเล (Office of Sea Grant)

78 Marine Laboratories นอกจากนั้นยังมีห้องทดลอง และวิจัยทางทะเล (Marine Laboratories) ที่สำคัญ 3 แห่ง ซึ่งอยู่ภายใต้การควบคุมของรัฐบาลสหรัฐฯ ซึ่งมีส่วนสร้างความสำเร็จในการวิจัยทางทะเลที่สำคัญ ๆ ของสหรัฐอเมริกา เช่น สถาบันสคริปส์ (Scripps Institution) ซึ่งเป็นสถาบันทางสมุทรศาสตร์ที่เก่าแก่ที่สุดที่ก่อตั้งมาตั้งแต่ ค.ศ ตั้งอยู่ที่มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เมือง ซานดิเอโก และมีหน้าที่ตรวจสอบปัญหาทางทะเลที่เกิดขึ้นอย่างกว้างขวาง

79

80 Marine Laboratories สถาบันสมุทรศาสตร์วู้ดโฮล (WOODS HOLE Oceanographic Institution) ซึ่งตั้งอยู่ในมลรัฐแมสซาชูเซตส์ ที่ได้ก่อตั้งมาตั้งแต่ปี ค.ศ.1930 เป็นองค์กรเอกชนที่ไม่หวังผลกำไร โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษางานทางด้านวิทยาศาสตร์ของมหาสมุทรทั่วโลก สถาบันนี้มีเรือชื่อแอตแลนติส 2 เป็นพาหนะในการสำรวจทางสมุทรศาสตร์เป็นของตนเอง

81

82 Lamont - Doherty Geological Observatory

83 Marine Laboratories สถาบันศึกษาทางทะเลอีกแห่งหนึ่งที่มีชื่อเสียงได้แก่ ศูนย์สังเกตการณ์ทางธรณีวิทยา ลาม้อนท์ - โดเฮอตี (Lamont - Doherty Geological Observatory) แห่งมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย ซึ่งตั้งอยู่ที่นิวยอร์ก ตั้งแต่ปี ค.ศ.1949 ภายใต้การบริหารของ ดร. มอริส อีวิง ซึ่งเป็นหนึ่งในบรรดาผู้ริเริ่มวิธีการสำรวจทางธรณีฟิสิกส์ในการศึกษาธรณีวิทยาของพื้นท้องทะเล

84


ดาวน์โหลด ppt สมุทรศาสตร์เบื้องต้น (HE202)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google