ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การประเมินความเสี่ยง เพื่อวางแผนการตรวจสอบ
2
วัตถุประสงค์ในการวางแผนการตรวจสอบ
ช่วยให้มั่นใจว่าทุกกิจกรรมได้รับการตรวจสอบอย่างครบถ้วน ตามลำดับความสำคัญ ฝ่ายบริหารและคณะกรรมการตรวจสอบมีส่วนร่วมในการพิจารณาให้ความเห็นและอนุมัติ แสดงถึงการปฏิบัติงานตามมาตรฐานเป็นที่ยอมรับจากผู้บริหารและผู้รับตรวจ เป็นเครื่องมือควบคุมกิจกรรมตรวจสอบ
3
การวางแผนการตรวจสอบตามความเสี่ยง
กิจกรรมที่มีความเสี่ยงสูงได้รับการตรวจสอบก่อน ใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิผล คุ้มค่า เป็นไปตามมาตรฐานการตรวจสอบภายใน
4
เทคโนโลยีช่วยในการปฏิบัติงาน
ระบบสารสนเทศเพื่อบริหารงานตรวจสอบ พัฒนาระบบด้วย Oracle Developer Suite ระบบจัดการฐานข้อ มูล Oracle Database 10g Microsoft operating System windows 2003 Server Client Microsoft window XP
5
ระบบสารสนเทศเพื่อบริหารงานตรวจสอบ
Information System For Internal Auditing and Risks Assessment : IIARA มีระบบย่อย 9 ระบบ
6
ระบบที่ 1 ระบบการจัดการงานตรวจสอบภายใน (Internal Audit Management System)
บันทึกข้อมูลหลักเพื่อการวางแผนการตรวจสอบประจำปี ข้อมูลหน่วยงานภายในองค์กร ข้อมูลกิจกรรมงานตรวจสอบภายใน ข้อมูลปัจจัยเสี่ยงขององค์กร ข้อมูลทีมงานตรวจสอบภายใน ข้อมูลวันลาวันหยุด
7
ระบบที่ 2 ระบบผู้รับการตรวจสอบภายใน (Engagement Client System)
การระบุระบบงานที่เข้าตรวจสอบ วัตถุประสงค์ ขอบเขตการตรวจสอบ การประเมินความเสี่ยงในระดับระบบงาน ให้น้ำหนักปัจจัยความเสี่ยง ให้คะแนนความเสี่ยง
8
ระบบที่ 3 ระบบแผนงานตรวจสอบภายใน (Audit Plan System)
การวางแผนงานการตรวจสอบประจำปี เลือกระบบที่จะเข้าตรวจตามลำดับความเสี่ยง กำหนดระยะเวลาที่ใช้ในการตรวจสอบ วันทำงานของสายงานตรวจสอบ ติดตามสถานการณ์ปฏิบัติงาน จัดทำแผนปฏิบัติงานตรวจสอบ
9
ระบบที่ 4 ระบบจัดการงานตรวจสอบภายใน (Engagement Work System)
จดหมายเปิดตรวจ บันทึกสถานะงานตรวจสอบภายใน เก็บข้อมูลเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานตรวจสอบ เช่น จดหมายเปิดตรวจ ข้อมูลการสัมภาษณ์ผู้รับตรวจ ข้อมูลและเอกสารต่างๆ
10
ระบบที่ 5 ระบบประเมินความเสี่ยงและการควบคุม (Risk and Control Assessment System)
บันทึกขั้นตอนกระบวนการทำงาน วัตถุประสงค์ของกระบวนการทำงาน เป้าหมายของงานที่มีผลต่อวัตถุประสงค์การควบคุมภายใน เหตุการณ์ความเสี่ยงของแต่ละวัตถุประสงค์ โอกาสและผลกระทบที่อาจเกิดผลเสียหาย กระบวนการควบคุมภายในในแต่ละขั้นตอน
11
ระบบที่ 6 ระบบแนวทางการตรวจสอบภายใน (Engagement Program System)
การพัฒนาแนวการตรวจสอบภายใน เลือกระบบ/กระบวนงานตรวจสอบ บันทึกวัตถุประสงค์ในการตรวจสอบ บันทึกเทคนิคการตรวจสอบภายใน ขั้นตอน วิธีการตรวจสอบ กำหนดผู้ตรวจสอบภายในที่รับผิดชอบในแต่ละขั้นตอน
12
ระบบที่ 7 ระบบการตรวจสอบภายในงานภาคสนาม (Audit Fieldwork System)
จัดทำกระดาษทำการบันทึกผลการปฏิบัติงาน บันทึกวัตถุประสงค์ ขอบเขต เทคนิคการตรวจสอบ สรุปประเด็นตรวจพบ หลักเกณฑ์ ข้อเท็จจริง สาเหตุ ผลกระทบและข้อเสนอแนะ สอบทานกระดาษทำการ จัดทำดัชนีประเด็นตรวจพบ
13
ระบบที่ 8 ระบบสื่อสารและรายงานการตรวจสอบภายใน (Communication and Report System)
จัดทำดัชนีสรุปข้อตรวจพบ โดยนำข้อมูลจากงานภาคสนาม ร่างรายงานการตรวจสอบจากข้อมูลกระดาษทำการ บันทึกความคิดเห็นของผู้รับบริการ วันที่เริ่มดำเนินการตามข้อเสนอแนะ รายงานผลการตรวจสอบ
14
ระบบที่ 9 ระบบติดตามผลการตรวจสอบภายใน (Follow Up System)
ติดตามผลการตรวจสอบที่ได้ออกรายงานไป วางแผนการติดตามผลการตรวจสอบ บันทึกความคืบหน้าของการติดตามผลการตรวจสอบ จัดทำรายงานการติดตามผลการตรวจสอบภายใน
15
Contact Us สำนักงานตรวจสอบภายใน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
254 อาคารจามจุรี 4 ชั้น 4 ถนนพญาไท เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.