งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

หลักสูตรระดับปริญญาโท และปริญญาเอก สาขาวิชาคณิตศาสตร์ M. Sc. And Ph. D

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "หลักสูตรระดับปริญญาโท และปริญญาเอก สาขาวิชาคณิตศาสตร์ M. Sc. And Ph. D"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 หลักสูตรระดับปริญญาโท และปริญญาเอก สาขาวิชาคณิตศาสตร์ M. Sc. And Ph. D
หลักสูตรระดับปริญญาโท และปริญญาเอก สาขาวิชาคณิตศาสตร์ M.Sc. And Ph.D. (Mathematics) ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

2 คุณสมบัติของผู้สมัครเข้าศึกษา
หลักสูตรปริญญาเอก และโท - เอก สำหรับผู้สำเร็จปริญญาตรี 1. สำเร็จปริญญาบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์ เกียรตินิยมอันดับสองหรือเทียบเท่า คณะกรรมการบริหารหลักสูตรพิจารณาแล้วเห็นสมควรให้มีสิทธิ์สมัครเข้าศึกษาได้ สำหรับผู้สำเร็จปริญญาโท 1. สำเร็จปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์ หรือเทียบเท่า 2. คณะกรรมการบริหารหลักสูตรพิจารณาแล้วเห็นสมควรให้มีสิทธิ์สมัครเข้าศึกษาได้ หลักสูตรปริญญาโท 1. สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาบัณฑิตสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่ง และเคยผ่านการศึกษารายวิชาทางคณิตศาสตร์มาแล้วไม่ต่ำกว่า 12 หน่วยกิต 2. คณะกรรมการบริหารหลักสูตรพิจารณาแล้วเห็นสมควรให้มีสิทธิ์สมัครเข้าศึกษาได้ ระยะเวลาเรียน หลักสูตรปริญญาเอก ปี หลักสูตรปริญญาโท ปี

3 โครงสร้างหลักสูตร หลักสูตรปริญญาเอก หลักสูตรปริญญาโท
สำหรับผู้ที่สำเร็จปริญญาโท จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร หน่วยกิต แบ่งเป็น รายวิชาเรียน หน่วยกิต และ วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร หน่วยกิต แบ่งเป็น รายวิชาเรียน หน่วยกิต และ วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต สำหรับผู้ที่สำเร็จปริญญาตรี จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร หน่วยกิต แบ่งเป็น รายวิชาเรียน หน่วยกิต และ วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต

4 สาขางานวิจัย Algebra and Number Theory Combinatorics and Graph Theory
ศาสตราจารย์ ดร.ยุพาภรณ์ เข็มประสิทธิ์ Algebraic Semigroup Theory, Ring Theory, Hyperstructure Theory รองศาสตราจารย์ ดร.พัฒนี อุดมกะวานิช Coding Theory, Syntactic Monoids of Prefix Codes, Algebraic Semigroup Theory ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อมร วาสนาวิจิตร์ Algebra ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศจี เพียรสกุล Algebra, Representation Theory, Hyperstructure Theory อาจารย์ ดร.สุรีย์พร ชาวแพรกน้อย Algebraic Semigroup Theory, Hyperstructure Theory รองศาสตราจารย์ ดร.อัจฉรา หาญชูวงศ์ Number Theory, Algebraic Number Theory ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไพศาล นาคมหาชลาสินธุ์ Number Theory, Bio-informatics อาจารย์ ดร.ตวงรัตน์ ไชยชนะ Continued Fractions, Function Fields, p-adic Number Theory and Algebraic Independence อาจารย์ ดร.ยศนันต์ มีมาก Finite Fields, Algebraic Function Theory, Spectral Graph Theory Combinatorics and Graph Theory รองศาสตราจารย์ ดร.วนิดา เหมะกุล Graph Theory, Boundary Value Problems for O.D.E. อาจารย์ ดร.จริยา อุ่ยยะเสถียร Combinatorics and Graph Theory อาจารย์ ดร.ยศนันต์ มีมาก Finite Fields, Algebraic Function Theory, Spectral Graph Theory

5 Probability & Statistics
Analysis Probability & Statistics ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อิ่มจิตต์ เติมวุฒิพงษ์ Analysis, Fixed Point Theory ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิชาญ ลิ่วกีรติยุตกุล Functional Analysis, Analysis on Lie Groups ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐพันธ์ กิติสิน Geometric Analysis อาจารย์ ดร.ทรงเกียรติ สุเมธกิจการ Wavelet Theory, Analysis on Fractals อาจารย์ ดร.กิตติพัฒน์ วอง Probability Theory and Stochastic Analysis อาจารย์ ดร.คำรณ เมฆฉาย Numerical Analysis, Partial Differential Equations ศาสตราจารย์ ดร.กฤษณะ เนียมมณี Probability Theory (Limit Theorems and Stein’s Method) อาจารย์ ดร.กิตติพัฒน์ วอง Probability Theory and Stochastic Analysis อาจารย์ ดร.ณัฐกาญจน์ ใจดี Probability Theory (Limit Theorems and Stein’s Method) Geometry & Topology ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อิ่มจิตต์ เติมวุฒิพงษ์ Analysis, Fixed Point Theory ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิเชฐ ชาวหา Algebraic Topology, Fixed Point Theory ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐพันธ์ กิติสิน Geometric Analysis อาจารย์ ดร.วัชรินทร์ วิชิรมาลา Bubble Geometry, Classical Geometry Mathematical Logic อาจารย์ ดร.พิมพ์เพ็ญ เวชชาชีวะ Mathematical Logic, Set Theory

6 Applied Mathematics รองศาสตราจารย์ ดร.จักษ์ อัศวานันท์
รองศาสตราจารย์ ดร.จักษ์ อัศวานันท์ Fluid Mechanics, Applied Mathematics ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อนุสรณ์ ชนวีระยุทธ Opimal Control of Distributed Parameter System, Applied Functional Analysis ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พรชัย สาตรวาหา BEM, DRM, Driven cavity flow ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กรุง สินอภิรมย์สราญ Optimization, Mathematical Programming, Combinatorics, Algorithms, Data mining, Theory of Computations ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไพศาล นาคมหาชลาสินธุ์ Bio-informatics, Number Theory อาจารย์ ดร.คำรณ เมฆฉาย Numerical Analysis, Partial Differential Equations

7 กำหนดการรับสมัคร (เพื่อเข้าศึกษาในปีการศึกษา 2551)
หลักสูตรปริญญาโท และเอก เปิดรับสมัครสมัครตลอดทั้งปี โดยเปิดรับสมัครและจำหน่ายใบสมัคร ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2550 เป็นต้นไป โดยดูรายละเอียดได้จากเว็บ และกำหนดสอบคัดเลือก 2 ช่วง ช่วงแรก ในเดือนตุลาคม 2550 ดังกำหนดการข้างล่างนี้ สำหรับช่วงที่สองประมาณ เดือนมกราคม 2551 นอกจากการรับสมัครด้วยวิธีปกติข้างต้น หลักสูตรฯ ยังเปิดรับสมัคร บุคคลที่มีความรู้ความสามารถสูงเข้าศึกษาด้วยวิธีพิเศษตลอดทั้งปี ซึ่งผู้ผ่านการสอบคัดเลือกด้วยวิธีพิเศษ มีสิทธิ์สมัครขอรับทุนอุดหนุน การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา (ทุน 72 พรรษา) ได้ รายวิชาที่สอบ วัน เวลาสอบ 1. Principles of Mathematics, Calculus 25 ตุลาคม 2550 (08.30 – น.) 2. Linear Algebra, Abstract Algebra และ Mathematical Analysis 26 ตุลาคม 2550 3. สอบสัมภาษณ์ทางวิชาการ 28 ตุลาคม 2550 (08.30 – น.)

8 ทุนการศึกษา / อัตราค่าเล่าเรียน
นิสิตที่ได้รับการคัดเลือกเข้าศึกษาในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สามารถขอรับทุนจากมหาวิยาลัยได้ อาทิเช่น ทุน 72 พรรษา (สำหรับผู้สมัครวิธีพิเศษเท่านั้น) ทุนอุดหนุนการศึกษา และทุนผู้ช่วยสอน อัตราค่าเล่าเรียน - นิสิตสัญชาติไทย ,000 บาท/ภาคการศึกษา - นิสิตชาวต่างชาติ ,500 บาท/ภาคการศึกษา - กรณีนิสิตชาวต่างประเทศเข้าศึกษา โดยไม่รับปริญญา หรือบุคคลภายนอก เข้าร่วมฟัง ต้องชำระค่าเล่าเรียนร้อยละ 50 ของอัตราข้างต้น ต้องการข้อมูลเพิ่มเติมกรุณาติดต่อ ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โทร. : (02) Fax : (02) Website :


ดาวน์โหลด ppt หลักสูตรระดับปริญญาโท และปริญญาเอก สาขาวิชาคณิตศาสตร์ M. Sc. And Ph. D

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google