งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

พันธะเคมี Chemical bonding.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "พันธะเคมี Chemical bonding."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 พันธะเคมี Chemical bonding

2 บทนำ

3 กฎออกเตต

4 พันธะเคมี พันธะเคมี หมายถึง แรงดึงดูดระหวาง “อะตอม” “โมเลกุล”หรือ “ไอออน” แรงทางเคมี ทําใหอะตอมเสถียรกวาอยูเดี่ยว ๆ เปนการให, รับ, หรือใช V.ē รวมกัน

5 ชนิดของพันธะเคมี พันธะไอออนิก พันธะโควาเลนซ์ ระหวาง พันธะโลหะ
พันธะไฮโดรเจน แรงแวนเดอร์วาลล์ ระหวาง อะตอม, ไอออน (ภายในโมเลกุล) ระหวางโมเลกุล

6 พันธะไอออนิก(พันธะอิเล็กโทรเวเลนต)

7 พันธะไอออนิก(พันธะอิเล็กโทรเวเลนต)

8 พันธะไอออนิก(พันธะอิเล็กโทรเวเลนต)
Lewis Structure สารประกอบที่เกิดพันธะไอออนิกเรียกวา “สารประกอบไอออนิก”

9 สูตรแบบจุด (Lewis Structure)

10 สูตรแบบจุด (Lewis Structure)

11 สูตรแบบจุด (Lewis Structure)

12 สูตรแบบจุด (Lewis Structure)

13 สูตรแบบจุด (Lewis Structure)

14 สูตรแบบจุด (Lewis Structure)

15 การเขียนสูตรสารประกอบไอออนิก
 cation  ให ē V.ē ครบ 8 (กฏชุด 8) “octet rule”  anion  รับ ē ประจุบนไอออน = ไอออนิกเวเลนซ หรือ อิเล็กโทรเวเลนซ์ คือ ประจุที่เกิดจาก การให/รับ อิเล็กตรอนจริงๆ  ผลบวกของไอออนิกเวเลนซมีคาเปนศูนย์  สูตร  NaCl, MgCl2, CaO

16 การเขียนสูตรสารประกอบไอออนิก
ธาตุแทรนซิชันมีไอออนิกเวเลนซไดหลายคา เนื่องจาก ē ใน d-orbital อาจหลุดไปหนึ่ง ē หรือมากกวา เชน  มี ionic valence หลายคา

17 พันธะไอออนิก(พันธะอิเล็กโทรเวเลนต)

18 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
 ไมเปนโมเลกุล แตเปนกลุม cation กับ anion มาอยูรวมกัน เชน Na+Cl- (ผลึก)  เมื่อเปนของแข็งไมนําไฟฟา  นําไฟฟาเมื่อเปนของเหลวหรือสารละลาย  จุดหลอมเหลวและจุดเดือดสูงความดันไอต่ำ  ไอออนมีแรงดึงดูดกันอยางแรง ตองใชพลังงานมากใน การคลายไอออนออกจากกัน

19 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
ละลายไดดีใน solvent ที่มีคาคงตัวไดอิเล็กทริก (dielectric constant) สูง ไดแกสารมีขั้ว เชน H2O (ความสามารถในการทําใหแรงดึงดูดของไอออน+, - ลดลง)  สวนมากแข็งแตเปราะ  ปฏิกิริยามักเกิดเร็ว ( เกิดระหวาง ion)

20

21

22

23

24 พันธะโควาเลนซ์ พันธะโควาเลนซ์ คือ พันธะที่เกิดจากการที่อะตอมใชอิเล็กตรอนรวมกัน  เกิดจากการรวมกันของธาตุที่เป็นอโลหะ + อโลหะ  มี 2 แบบ คือ  พันธะโคเวเลนตธรรมดา  พันธะโคเวเลนตแบบโคออรดิเนต ทั้ง 2 แบบมีสมบัติเหมือนกัน แตการเกิดตางกัน

25 พันธะโควาเลนซ์แบบธรรมดา
 อะตอมใชคู ē รวมกัน แตละอะตอมมี V.ē ครบ 8 (ยกเวน H )  อิเล็กตรอนที่ใชในการเกิด 1 พันธะ (2 อิเล็กตรอน)

26 พันธะโควาเลนซ์แบบธรรมดา
พันธะโคเวเลนซ มี 3 ชนิด คือ 1. พันธะเดี่ยว  ใช้ e ร่วมกัน 1 คู่

27 พันธะโควาเลนซ์แบบธรรมดา
2. พันธะคู่  ใช้ e ร่วมกัน 2 คู่

28 พันธะโควาเลนซ์แบบธรรมดา
3. พันธะสาม  ใช้ e ร่วมกัน 3 คู่

29 การเขียนสูตรลิวอิส(โควาเลนซ์)  นํา ē ที่มีอยูไปเขียนรอบอะตอมตางๆ 
1. เขียนอะตอมทั้งหมดใหอะตอมที่เกิดพันธะกันอยูใกลกัน (ถามี 3 อะตอม อะตอมที่ E.N. ต่ำาอยูกลาง ) ยกเวน H ใชเปนอะตอมกลางไมได้ 2. หาจํานวน V.ē ทั้งหมดซึ่ง = V.ē ของอะตอมทุกอะตอม รวมกัน Cation  ลด ē ลงเทาประจุ Anion  เพิ่ม ē เทาประจุ  นํา ē ที่มีอยูไปเขียนรอบอะตอมตางๆ 

30 การเขียนสูตรลิวอิส(โควาเลนซ์)
3. ใช V.e เขียน รอบอะตอมที่อยูติดกัน คูละ 2 e 4. ใช e ที่เหลือเขียนรอบอะตอม ที่ไมใชอะตอมกลางใหครบ 8 แลว จึงเขียนรอบ อะตอมกลาง 5. ถาใชเวเลนซอิเล็กตรอนหมดแลวอะตอมกลางยังไมครบ 8 ē แสดงวาอาจมีพันธะคู หรือ พันธะสามดวย

31 การเขียนสูตรลิวอิส(โควาเลนซ์)

32 การเขียนสูตรลิวอิส(โควาเลนซ์)

33 พันธะโคเวเลนตแบบโคออรดิเนต
พันธะโคเวเลนตชนิดหนึ่งที่มีอะตอมหนึ่งให Lone paired electron กับอะตอมที่รับคูอิเล็กตรอนนั้นเพื่อสรางพันธะ  หลังจากเกิดพันธะแลว อะตอมทั้งสองจะใชอิเล็กตรอน รวมกัน เชน H+ + :NH3  NH4+

34 พันธะโคเวเลนตแบบโคออรดิเนต
N เป็นฝ่ายให้คู่อิเล็กตรอนกับ H ในการสร้างพันธะ

35 การขยายกฎออกเทต (Expanded Octet)
หรือ ขอยกเวนของกฎออกเทต 1. สารประกอบของ Be, B  Be, B มี ē รอบอะตอมกลางนอยกวา 8 เชน BeCl2 , BF3

36 การขยายกฎออกเทต (Expanded Octet)
2. ธาตุคาบ 3 ขึ้นไป (เชน s, p) เมื่อเปนอะตอมกลางอาจ มี ē > 8 ได (อะตอมที่ไมใชอะตอมกลาง ē ตอง = 8 เสมอ) หมู 5 เชน P (PCl3 ē รอบ P = 8, PCl5 ē รอบ P = 10) หมู 6 เชน S (SCl3+ ē รอบ S = 8, SF6 ē รอบ S = 12)

37  อิเล็คตรอนที่ใชในการเกิดพันธะ 1 พันธะ (2ē) เรียกวา
คูพันธะ (bonded pair)  คูอิเล็คตรอน (2ē) ที่ไมไดใชในการเกิดพันธะ เรียกวา คูโดดเดี่ยว (lone pair)  แตอิเล็คตรอนเดี่ยว (single electron) คือ อิเล็คตรอนที่ไม่มีคู่

38

39 การขยายกฎออกเทต (Expanded Octet)

40 การขยายกฎออกเทต (Expanded Octet)

41 การขยายกฎออกเทต (Expanded Octet)
3. มีโมเลกุล ที่เสถียร ที่มี V.ē เปนเลขคี่ (มี ē เดี่ยว) เชน  NO (5 + 6 = 11 ē)

42

43

44 Transitional Page

45 elements

46


ดาวน์โหลด ppt พันธะเคมี Chemical bonding.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google