งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กิจกรรมพัฒนาและประกันคุณภาพงานของภาควิชาพยาธิวิทยา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กิจกรรมพัฒนาและประกันคุณภาพงานของภาควิชาพยาธิวิทยา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กิจกรรมพัฒนาและประกันคุณภาพงานของภาควิชาพยาธิวิทยา
รศ.พญ.เสาวรัตน์ เอื้อเพิ่มเกียรติ 30 ต.ค.52

2 ข้อมูลอาจารย์ภาควิชาพยาธิวิทยา
จำนวนคน อาจารย์-MD 18 MD 15 MD, PhD 3 อาจารย์-non-MD 8 PhD 5 Master รวม 26 ขณะนี้ลาศึกษาต่อ 2 คน เหลือ 24 คน

3 ภาระงานสอน 1. ระดับก่อนปริญญา
เป็นผู้ประสานงานหลักรายวิชา , ร่วมสอนใน Block ต่างๆ ชั้นคลินิก และปรีคลินิก ภาระงานสอน ปี 2551 ชั้น preclinic ชม บรรยาย 72 ปฏิบัติการ 123 Facilitator PBL 906 Clinical correlation 15 ชั้น clinic 108 Team teaching 29 ER round 16 ER conference 4

4 การเรียนการสอน 2. ระดับหลังปริญญา
หลักสูตร ป.บัณฑิต/board training สาขาพยาธิวิทยากายวิภาค หลักสูตร ป.บัณฑิต/board training สาขาพยาธิวิทยาคลินิก ภาระงานสอน ชั่วโมง, คน ปี 49 ปี 50 ปี 51 บรรยาย แพทย์ใช้ทุนปีที่ 1 (วิทยฯ พื้นฐาน) 1.5 5 บรรยาย เวชศาสตร์ฉุกเฉิน 4 - แพทย์ใช้ทุนสาขาพยาธิวิทยาคลินิก แพทย์ใช้ทุนสาขาพยาธิวิทยากายวิภาค 1 คน 2 คน Elective patho พจบ/พชท ศัลย์/สูติ 16 คน 17 คน บรรยาย/ปฏิบัติการ/Group discussion หลักสูตร ชีวเวชศาสตร์,Molecular biology&Bioinformatics 16.5+6 15+8

5 สื่อการเรียนการสอนแบบ E-Learning
Anatomical Pathology : Case of the Month Surgico-Radio-Pathological Case Conference CAI VDO streaming

6

7

8

9 Introduction                      ความรู้ทางด้านพยาธิวิทยาเป็นความรู้พื้นฐานที่จำเป็นและสำคัญทางการแพทย์ เปรียบเสมือนลำต้นของต้นไม้ ในการเชื่อมโยงความรู้ทางด้าน basic science อันเปรียบเหมือนราก เข้ากับกิ่งก้านสาขา อันได้แก่ ความรู้ในสาขาวิชาต่างๆ ใน ทางการแพทย์ อาทิ อายุรศาสตร์ ศัลยศาสตร์ เป็นต้น วิชาพยาธิวิทยาช่วยเสริมสร้าง ความเข้าใจภาวะหรือโรคในผู้ป่วยที่พบเจอในชีวิตประจำวัน บุคลากรทางการแพทย์ที่เข้าใจในพยาธิกำเนิด และพยาธิสภาพของโรคเป็นอย่างดีนั้น จะทำให้สามารถให้การดูแลรักษาผู้ป่วยอย่างมีประสิทธิภาพ มากกว่าการท่องจำ ซึ่งมีโอกาสที่จะลืมได้ง่าย               ภาควิชาพยาธิวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้ส่งเสริมและสนับสนุนให้นักศึกษาแพทย์ เรียนรู้ด้วยตนเอง ผ่านสื่อต่างๆ ทั้งตำรา วารสาร และข้อมูลบนอินเตอร์เนต โดยที่แหล่งความรู้ทางพยาธิวิทยาบนอินเตอร์เนตนั้น เกือบทั้งหมดเป็นของมหาวิทยาลัยในต่างประเทศ ดังนั้น ภาควิชาพยาธิวิทยาจึงจัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อเป็นอีกทางเลือกหนึ่ง สำหรับนักศึกษาแพทย์ชั้นปรีคลินิกที่ต้องเรียนวิชาพยาธิวิทยา และนักศึกษาแพทย์ชั้นคลินิคที่ต้องการทบทวน ความรู้เดิมที่เคยเรียนมาแล้ว รวมทั้งบุคลากรทางการแพทย์ที่สนใจท่านอื่นด้วย โดยจะมีการสับเปลี่ยนหมุนเวียนเนื้อหาทุกเดือน

10

11

12

13

14

15

16 การประชุมวิชาการร่วมระหว่างภาควิชาศัลยศาสตร์ ภาควิชารังสีวิทยา และภาควิชาพยาธิวิทยา หรือ Surgico- Radio-Pathological conference (SRP) คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้จัดให้มีขึ้น เป็นประจำทุกวันศุกร์ สัปดาห์สุดท้ายของเดือน เวลา 8.15 น. ณ ห้องประชุมภาควิชาศัลยศาสตร์ ชั้น 1 ตึก อายุรกรรม- ศัลยกรรม เพื่อนำเสนอผู้ป่วยทางศัลยกรรมที่น่าสนใจ มีการอภิปรายร่วมระหว่างอาจารย์แต่ละภาควิชา เพื่ออธิบาย และสรุปโรคของผู้ป่วย เนื่องจากข้อจำกัดเรื่องเวลา ภาระหน้าที่การรักษาพยาบาล และระบบ rotation ของนักศึกษาแพทย์ แพทย์ใช้ทุน และแพทย์ประจำบ้าน ทำให้ผู้สนใจบางส่วนไม่สามารถเข้าร่วมประชุมในวันและเวลาดังกล่าวได้ ประกอบกับ การเรียนรู้สมัยใหม่นั้น การเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง และการเข้าถึงสื่อการเรียนรู้ได้อย่างสะดวก นับว่าเป็นสิ่งจำเป็น อย่างยิ่ง ดังนั้น ทางผู้ประสานงานของภาควิชาดังกล่าวได้มีความเห็นตรงกันว่า การประชุมวิชาการ SRP นี้น่าจะได้มีการ เผยแพร่ ให้กับบุคลากรผู้สนใจทั้งภายในและภายนอกคณะที่ไม่สามารถเข้าร่วมประชุมในเวลาดังกล่าว ได้มีโอกาสเรียนรู้ร่วมกัน

17 Editor: อ.สมรมาศ กันเงิน
Co-editor: อ.ถาวรเด่นดำรงทรัพย์ Co-editor: อาจารย์ภาคฯศัลย์

18

19

20

21

22

23

24

25

26

27

28

29

30 ผลการประเมิน Anatomical Pathology Case of the Month
ส่วนที่ 1 ข้อมูลของผู้ตอบแบบประเมิน 49 คน

31 ผลการประเมิน Anatomical Pathology Case of the Month
จำนวน%

32 ผลการประเมิน Surgico-Radio-Pathological Case Conference
ส่วนที่ 1 ข้อมูลของผู้ตอบแบบประเมิน (จำนวน 69 คน)

33 ผลการประเมิน Surgico-Radio-Pathological Case Conference
จำนวน(%)

34 CAI สรุปบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ภาควิชาพยาธิวิทยา
ปี พ.ศ. จำนวน/เรื่อง 2540 1 2541 2542 5 2543 2544 2545 2546 2 2547 2548 2550 3 2552 รวม 23

35 บทเรียน CAI ของภาควิชาพยาธิวิทยา และจำนวนการใช้ของนักศึกษาแพทย์
เรื่อง อาจารย์ เริ่มใช้เมื่อ จำนวนครั้งที่เข้า ปี 2 ปี 3 ปี 4 ปี 5 ปี 6 รวม 1 Iron Metabolism อ.ปิยรัตน์ 1/1/2540 27 72 5 105 2 โครโมโซมเอ็กซ์เปราะ นพ.พรพรต 1/1/2541 211 3 70 286 Pathology of pulmonary infection นพ.อนุพงศ์ 1/2/2542 37 49 6 94 4 Down syndrome 1/6/2542 216 135 172 59 586 Pathology of glomerular disease พญ.กอบกุล 1/7/2542 17 54 168 7 252 KUB tumor 1/10/2542 43 118 8 183 Urinalysis อ.จำนง 30/11/2542 Iron deficiency anemia 1/1/2543 15 41 57 9 The bethesda system for reporting cervicagical cytologic 1/9/2544 28 36 77 10 เนื้อเยื่อกระเพาะอาหาร อ.มุกดา 1/7/2545

36 บทเรียน CAI ของภาควิชาพยาธิวิทยา และจำนวนการใช้ของนักศึกษาแพทย์
เรื่อง อาจารย์ เริ่มใช้เมื่อ จำนวนครั้งที่เข้า ปี 2 ปี 3 ปี 4 ปี 5 ปี 6 รวม 11 พันธุประวัติและการถ่ายทอดทางพันธุกรรม นพ.พรพรต 1/6/2546 174 92 130 3 399 12 พันธุศาสตร์ของมะเร็ง 18/11/2546 43 1 10 24 2 80 13 การตรวจทางห้องปฏิบัติการด้านพยาธิวิทยาคลินิก 1 อ.ปิยรัตน์ 4/4/2547 23 36 4 63 14 การตรวจทางห้องปฏิบัติการด้านพยาธิวิทยาคลินิก 2 23/4/2547 16 18 15 DNA & chromosome พญ.สินิจธร 4/1/2548 7 54 69 135 พยาธิสภาพของโรคที่พบบ่อยในระบบทางเดินปัสสาวะและระบบสืบพันธุ์ อ.มุกดา 10/3/2548 8 44 68 138 17 พยาธิสภาพของระบบทางเดินอาหาร 5/4/2548 57 73 5 137 Normal Flora พญ.สินีนาฏ 1/12/2548 28 19 Pathology of th Breast Carcinoma พญ.เสาวรัตน์ 16/12/2548 29 86 20 Neoplasia อ.สุภาพร 27/2/2550 78 50 146 21 Cerebrospinal Fluid 25/3/2550 74 79 70 233 22 Granulopoiesis and monophagocytosis system 4/10/2550 9 46 102 ผิวดีมีสุข อ.เสาวรัตน์ 1/09/2552 704 740 1194 517 77 3232

37 สรุปผลการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนภาควิชาพยาธิวิทยาของนักศึกษาแพทย์ ตั้งแต่วันที่ 25 มีนาคม 2550 – 1 ตุลาคม 2552 จำนวนครั้งที่เข้า

38

39

40

41

42

43

44

45

46

47 แผนการจัดทำสื่อการสอนแบบ E-learning ต่อไป
เป้าหมาย จัดทำสื่อการเรียนการสอนแบบ E-learning อย่างน้อยสาขาละ 1 เรื่อง/ปี สาขาพยาธิวิทยาคลินิก พยาธิวิทยากายวิภาค และนิติเวชศาสตร์และพิษวิทยา

48 รูปแบบ แผนการจัดทำสื่อการสอนแบบ E-learning
เนื้อหา เป็นความรู้ตามรายวิชาที่สอนในชั้นปรีคลินิกและคลินิก เน้นให้มีตัวอย่าง case , lab interpretation คำถาม –พร้อมอธิบายเฉลยท้ายบทเรียน มีการประเมินผลบทการเรียนรู้ มีการประเมินสื่อโดยผู้ใช้

49 แผนการจัดทำสื่อการสอนแบบ E-learning
สาขา อาจารย์ เรื่อง 1. พยาธิวิทยาคลินิก 1. นพ.จิตวัต รุ่งเจิดฟ้า และ 1. Anemia 2. hemolytic anemia 3. bleeding disorders 4. hematologic malignancy 2. พญ.สินีนาฏ กาลเนาวกุล 1. Respiratory 2. Cardiovascular 2. พยาธิวิทยากายวิภาค 1. พญ.คณิตา กายะสุต และ 2. พญ.มัลลิกา ภูเก้าล้วน ทำ SRP และ Case of the month ต่อ 3. นิติเวชและพิษวิทยา 1. นพ.วิระชัย สมัย 1. การประมาณเวลาตาย 2. การตายจากการขาดอากาศหายใจ

50 VDO streaming ของอาจารย์ภาควิชาพยาธิวิทยา
รายวิชา ปีการศึกษา 2551 / เรื่อง ปีการศึกษา 2552 / เรื่อง นศพ.ปีที่ 1 : บทนำจีโนมของมนุษย์ 7 เทอม 2 นศพ.ปีที่ 2 : บทนำวิทยาศาสตร์การแพทย์ 4 3 : ภูมิคุ้มกันของร่างกายและการติดเชื้อ : ระบบหายใจ 1 : ระบบหัวใจหลอดเลือด : ระบบย่อยอาหารและโภชนาการ : ระบบทางเดินปัสสาวะและระบบสืบพันธุ์ นศพ.ปีที่ 3 : ระบบประสาทการเคลื่อนไหวและพฤติกรรม 1-2 10 9 : ระบบต่อมไร้ท่อและเมตาบอลิสม : ระบบเลือดและชีววิทยาของเนื้องอก 11 : วงจรชีวิตมนุษย์ 2 รวม 53 23

51 ปัญหาและอุปสรรค ผู้ทำ ขาดแรงจูงใจ ไม่ผูกกับการขอตำแหน่ง
ไม่เห็นความสำคัญ ผู้ใช้ ดูแต่ไม่ประเมิน –รางวัล,interactiveการบ้าน, ภาษาอังกฤษเช่น case of the month

52


ดาวน์โหลด ppt กิจกรรมพัฒนาและประกันคุณภาพงานของภาควิชาพยาธิวิทยา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google