งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การปฏิรูปการเรียนรู้ การวิจัยเพื่อการเรียนรู้

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การปฏิรูปการเรียนรู้ การวิจัยเพื่อการเรียนรู้"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การปฏิรูปการเรียนรู้ การวิจัยเพื่อการเรียนรู้
รองศาสตราจารย์ ดร. บุบผา อนันต์สุชาติกุล คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การประชุมสัมมนาเรื่อง “การปฏิรูปการเรียนรู้การวิจัยเพื่อการเรียนรู้” คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 ธันวาคม 2550

2 มองเยาวชนไทย... ผลผลิตทางการศึกษาในปัจจุบัน อนาคต?
มองเยาวชนไทย... ผลผลิตทางการศึกษาในปัจจุบัน อนาคต? ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน ตกต่ำ เด็กไทย อ่านไม่ออก คิดไม่เป็น ติดเกม ติดโทรศัพท์ ติดเพื่อน มั่วสุม ดมกาว เที่ยวกลางคืน ทำแต้ม-ขายตัว

3 กระบวนการเป็นเด็กเร่ร่อนพันธุ์ใหม่
เด็กชายแฟรงค์ ไม่เข้าเรียนทุกวิชา นอกจากวิชาพละ รร.บอกนักเรียนว่า หากเรียนไม่ดี จะไม่ให้เรียนต่อชั้นม.4 กฎกระทรวงห้ามไม่ให้เด็กสอบตก ครูจะทำอย่างไรดี ครูให้นร.แก้ “ร” โดยคัดข้อสอบ มาส่ง

4 เหล้า Chat SEX ในห้องเรียน นอกห้องเรียน พนันบอล แฟชั่น เกม การ์ตูน
Camfrog Chat

5 หนทางสู่การแข่งขัน กับโลกนอกห้องเรียน  ไม่ร่วมกระบวนการผลิต ’เด็กเร่ร่อนพันธุ์ใหม่’  ไม่ทิ้งผู้เรียนอ่อนไว้หลังห้อง ปฏิรูปตนเอง สู่บุคคลเรียนรู้

6 ปฏิรูปวิธีคิด ปฏิรูปการปฏิบัติงาน
“การพัฒนา” คน ปฏิรูปการปฏิบัติงาน ทบทวน ‘วาทกรรมการพัฒนา’

7 ใหม่ (เน้นความยั่งยืน) พัฒนาการเรียนรู้ (รู้วิธีการเรียนรู้)
วาทกรรม ‘การพัฒนา’ ปฏิรูปการสอน เดิม ใหม่ (เน้นความยั่งยืน) พัฒนาการเรียนรู้ (รู้วิธีการเรียนรู้) การให้ (สงเคราะห์) Learning to learn ปัญญา - ให้ปลา ให้เงินขอทาน - ให้ความรู้ ให้เรียนรู้วิธีตกปลา ฝึกอาชีพ ให้เรียนรู้วิธีการเรียนรู้

8 กระบวนทัศน์ในวิชาชีพ
กระบวนทัศน์เดิม กระบวนทัศน์ใหม่ การจัดศึกษาไทย ครู=เชี่ยวชาญการให้ความรู้ นักเรียน=ซึมซับ-รับความรู้ ครู=อำนวย/จัดประสบการณ์ การเรียนรู้ นักเรียน=มีศักยภาพในการเรียนรู้ ด้วยตนเอง การรักษาพยาบาล แพทย์-พยาบาล= ผู้เชี่ยวชาญการดูแลรักษา ผู้ป่วย=ผู้ไร้ศักยภาพในการรักษา แพทย์-พยาบาล= ผู้เชี่ยวชาญการส่งเสริม+ดูแลรักษา ผู้ป่วย=มีศักยภาพในการดูแลรักษา ตนเอง

9 กระบวนทัศน์ในวิชาชีพ
กระบวนทัศน์เดิม กระบวนทัศน์ใหม่ การบริหารจัดการ การบริหาร = แนวดิ่ง (คิด-ทำผู้เดียว) ผู้บริหาร = ตัดสินใจ+สั่งการ การบริหาร = แนวราบ (ส่งเสริมการมีส่วนร่วม) ผู้บริหาร = คุณเอื้อ/คุณอำนวย ระบบที่พัฒนาศักยภาพผู้ปฏิบัติงาน +พัฒนาสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ บุคลากร ฝ่ายส่งเสริมวิชาการ = ปฏิบัติตามคำสั่ง ไม่ค่อยเรียนรู้งานที่ปฏิบัติ การพัฒนางานต่ำ บุคลากร ฝ่ายส่งเสริมวิชาการ = ร่วมเรียนรู้+พัฒนางาน ที่ปฏิบัติ

10 พัฒนาการจัดการเรียนการสอน และการปฏิบัติงานได้อย่างไร ?
การวิจัย จะเข้ามาช่วยในการ พัฒนาการจัดการเรียนการสอน และการปฏิบัติงานได้อย่างไร ?  ...โปรดพิจารณาองค์ประกอบของการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนก่อน ... แล้วจะทราบว่าท่านจะต้องวิจัยอะไรบ้างและวิจัยแบบใด

11 สื่อ โรงเรียน บรรยากาศการเรียนรู้ วิธีสอน ผู้สอน/กัลยาณมิตร
คุณภาพผู้เรียน โรงเรียน บรรยากาศการเรียนรู้

12 แบบของการวิจัยที่ใช้ในการ
การวิจัยเชิง ปฏิบัติการ การวิจัย เชิงคุณภาพ การวิจัยเชิงปริมาณ แบบของการวิจัยที่ใช้ในการ พัฒนาการเรียนการสอน

13 ความแตกต่างของAction R. จากการวิจัยกระแสหลัก
เชิงปฏิบัติการ เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ กระบวน Critical Positivism Phenomenology ทัศน์ Theory ปฏิฐานนิยม ปรากฏการณ์นิยม วิธีการ Cycle Linear Flexible ผู้วิจัย ผู้ปฏิบัติงาน ไม่เป็น ไม่เป็น ผู้ปฏิบัติงาน ผู้ปฏิบัติงาน สิ่งที่วิจัย การปฏิบัติงาน นอกตัว นอกตัว ของตนเอง ผล เรียนรู้/ เข้าใจ/เรียนรู้ เข้าใจ/เรียนรู้ ปรับปรุงงาน งานนอกตัว งานนอกตัว ด้วยตนเอง

14 การวิจัยเชิงปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
คำที่มีความหมายตรงกัน  การวิจัยเพื่อปรับปรุงการปฏิบัติงาน  การวิจัยเพื่อสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้  การวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน เป้าหมาย - ปฏิรูปวิธีจัดการเรียนการสอน บนฐาน การวิจัย - การปฏิบัติงานที่หยั่งรากการเรียนรู้ - เรียนรู้ในสิ่งที่ตนเองปฏิบัติ

15 หลักการพื้นฐานของ Action R. (แนวคิด Critical theory)
1. ปัญหาจะถูกแก้ได้อย่างแท้จริงและยั่งยืน หากเจ้าของปัญหาเป็นผู้ลงมือศึกษา และแก้ไขด้วยตนเอง 2. การวิจัยการปฏิบัติงานของตนเองเป็นกระบวนการพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของผู้ปฏิบัติงาน

16 ผู้ปฏิบัติงานที่เรียนรู้งานที่ตนเองปฏิบัติจะสามารถตรวจสอบปรับปรุงแก้ไขการปฏิบัติงานของตนเองได้อย่างต่อเนื่อง (โดยไม่ต้องมีใครมาบอก) จนเชี่ยวชาญเป็น “นักปฏิบัติมืออาชีพ” การปฏิบัติงานที่ได้รับการทบทวนตรวจสอบและปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง (Praxis) นำมาซึ่งผลงานที่มีคุณภาพ 5. ผลงานที่มีคุณภาพเป็นเลิศมาจากการเรียนรู้และแก้ไขปัญหาร่วมกันในการปฏิบัติงานของคนในองค์กร

17 ลักษณะของการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
ผู้ปฏิบัติงานคือผู้วิจัย = ผู้วิจัยคือ ผู้ปฏิบัติงาน สิ่งที่วิจัยคือ งานที่ทำ นำไปสู่การ ปรับปรุงคุณภาพการปฏิบัติงานให้ดีขึ้น กระบวนการวิจัยเอื้อต่อการเรียนรู้ในงาน ที่ตนเองปฏิบัติ เรียนรู้ว่าปฏิบัติ อย่างไรได้/ไม่ได้ผล เพราะอะไร ควรทำ อะไรต่อไป

18 วิธีดำเนินการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
การดำเนินงานแบ่งเป็น 4 ขั้นตอน : P = วางแผน (Plan) A = ปฏิบัติการ (Act) O = สังเกต/รวบรวมข้อมูล (Observe) R = ทบทวนถอดบทเรียน (Reflect) 4 ขั้นตอนมีลักษณะต่อเนื่อง เป็นวงจร จุดเริ่มไม่ตายตัว

19 ขั้นตอนการวิจัยของ AR
P P R R A A O O กระบวนการเรียนรู้

20 ขั้นตอนการดำเนินการวิจัย
1. สังเกตปรากฏการณ์ในชั้นเรียน/การ ปฏิบัติงานของตน 2. วิเคราะห์ปรากฏการณ์ที่เป็นปัญหา ค้นหาสิ่งเชื่อมโยงที่มา/เหตุแห่งปัญหา 3. วางแผนแก้ปัญหา...หาวิธีที่เหมาะสม 4. ดำเนินการแก้ปัญหา 5. สังเกตปฏิกิริยา + การเปลี่ยนแปลง 6. วางแผนแก้ปัญหาต่อหากไม่ได้ผล 7. ดำเนินการต่อเนื่อง

21 Participant Observation
การรวบรวมข้อมูล 1. Process – สังเกต+พูดคุย - การสอน (ผู้สอน) - การเรียน (ผู้เรียน) 2. Outcomes - วัดการเปลี่ยนแปลง - เชิงคุณภาพ ผู้สอน - เชิงปริมาณ + เชิงคุณภาพ ผู้เรียน Journal, Diary Participant Observation Indirect Observation Informal Interview

22 ข้อมูลในการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
ผู้สอน - วิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ - ความสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนและผู้เรียน ผู้เรียน  พฤติกรรมผู้เรียน -ความสนใจ-ทัศนคติ -การมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียน -คุณลักษณะอื่นๆ ตามมาตรฐานคุณภาพ ผู้เรียน  ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การคิด

23 การทำบันทึกการปฏิบัติงาน/บันทึกหลังสอน (Journal)
 บันทึกรายละเอียดของเหตุการณ์ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน  เป็นเครื่องมือสะท้อนวิธีการทำงาน ของตนเอง+ผลสืบเนื่อง  ได้ทั้งรายละเอียด (หนอน) และภาพรวม (นก) -

24 จะบันทึกอะไรบ้าง... 4 ประเด็นจาก ’วงจรการเรียนรู้’ ของKolb
1. มีเหตุการณ์อะไรเกิดขึ้น 2. ใครพูดหรือทำอะไร 3. เกิดเหตุการณ์สืบเนื่องตามมาอย่างไร 4. ผู้สอน/ผู้ปฏิบัติงานรู้สึก-คิดอย่างไร ที่พูดหรือทำลงไปเช่นนั้น

25 รูปร่างบันทึก... ส่วนบันทึกเหตุการณ์ ส่วนการ
1. มีเหตุการณ์อะไรเกิดขึ้น 2. ใครพูดหรือทำอะไร 3. เกิดเหตุการณ์สืบเนื่องตามมาอย่างไร 4. ผู้สอน/ผู้ปฏิบัติงานรู้สึก-คิดอย่างไร ที่พูดหรือทำลงไปเช่นนั้น - ส่วนบันทึกเหตุการณ์ ส่วนการ อย่างเป็นรูปธรรม วิเคราะห์ (ไม่ใส่ความรู้สึกส่วนตัว) (ถอดรหัส)

26 วิธีวิเคราะห์ข้อมูล Reflection – ทบทวนถอดสิ่งเรียนรู้
= ย้อนดูการทำงานของ ‘ตัวเก่า’ จาก - บันทึกการปฏิบัติงาน - ชิ้นงาน/ผลงาน - ความพึงพอใจของผู้เรียน/ ผู้รับบริการ สถิติ (สำหรับข้อมูลเชิงปริมาณ)

27 การทบทวนถอดสิ่งเรียนรู้ในงานที่ปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง
เป็นกระบวนการพัฒนา ศักยภาพการปฏิบัติงานของ ผู้ปฏิบัติงาน เป็นรากฐานเบื้องต้นของการ สร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้ ของผู้ปฏิบัติงาน (learning practitioners) ในหน่วยงานต่าง ๆ

28 3 รูปแบบ... การทบทวนถอด สิ่งเรียนรู้ของ Schön
Reflection in action ทบทวนระหว่างสอน Reflection on action ทบทวนหลังสอน Reflection for action ทบทวนเพื่อครั้งต่อไป

29 วิธีการถอด(รหัส)สิ่งเรียนรู้ (Reflection on action) ปรับจาก Kolb’s learning cycle Kolb (1984), (Coghlan and. D. and Brannick, T Doing Action Research: in your own organization. London: SAGE Publications. P )

30 วงจรการเรียนรู้จากประสบการณ์
(ถอดสิ่งเรียนรู้จากบันทึกหลังสอน) 1. ทบทวนถอดสิ่งเรียนรู้เป็นรหัส (concept) ให้พิจารณาเหตุการณ์ที่บันทึกด้วยคำถามดังนี้ - มีเหตุการณ์อะไรที่เกี่ยวกับงานที่ปฏิบัติเกิดขึ้น - เรามีปฏิกิริยา/ตัดสินใจอย่างไรในเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น - เหตุการณ์ดังกล่าวเกิดบ่อยเพียงไร - เราพอใจต่อสิ่งที่ได้กระทำลงไปหรือไม่ - มีทัศนะต่อการทำพฤติกรรมของเราอย่างไร - อะไรเป็นสาเหตุให้เราตัดสินใจกระทำลงไปเช่นนั้น

31 2. สร้างข้อสรุปเชิงหลักการในลักษณะ
ความคิดรวบยอด (Conceptualization) นำรหัสที่ถอดได้มาพิจารณา เชื่อมโยงสาระจากรหัส มองหาแบบแผนของการปฏิบัติงานที่ ได้/ไม่ได้ผล จะสามารถทำเป็นข้อสรุป เชิงหลักการทั่วไป/ หรือข้อสรุปที่ สามารถนำไปอ้างอิงในวงกว้างได้ / หรือมีสมมุติฐานอย่างไรบ้าง

32 3. ทดลอง - นำข้อสรุปทั่วไปที่ได้ไปลองใช้ในสถานการณ์ที่คล้ายคลึงในครั้งต่อไป เพื่อหาข้อยืนยันผลสรุปที่ได้ 4. เชื่อมโยงสิ่งเรียนรู้เก่าและใหม่ 5. สร้างข้อสรุปรวม

33 ความสับสนระหว่าง Action R vs. Exp. R
วิจัยเชิงทดลอง 1. วิจัยสิ่งนอกตัว ขั้นตอนการวิจัยมีลำดับก่อนหลัง – ปัญหา – สมมติฐาน – ทดลอง – รวบรวมข้อมูล – วิเคราะห์ข้อมูล – สรุปผล 3. เน้นผลลัพธ์จากการปฏิบัติ (outcome based) วิจัยเชิงปฏิบัติการ 1. วิจัยสิ่งที่ตนเองปฏิบัติ 2. ขั้นตอนการวิจัยเป็นวงจร วางแผน – ปฏิบัติการ – สังเกต – ทบทวนถอดบทเรียน – วางแผน – ปฏิบัติการ – สังเกต ... 3. เน้นการเรียนรู้กระบวนการที่ปฏิบัติ (process based)

34 ความสับสนระหว่าง Action R vs. Exp. R
การวิจัยเชิงทดลอง 4. เน้นความเป็นมาตรฐานของวิธีการวิจัย (พึ่งวิธีการนอกตัวเช่น ผู้เชี่ยวชาญ) 5. เน้นการอ้างอิงจากตัวอย่างไปยังประชากร วิจัยเชิงปฏิบัติการ 4. เน้นการเรียนรู้และพัฒนาการปฏิบัติงานระหว่างการวิจัยอย่างต่อเนื่องโดยตัวนักวิจัยเอง 5. ไม่สนใจการอ้างอิงผลไปยังกลุ่มอื่นที่ใหญ่กว่า

35 วิจัยเชิงปฏิบัติการ 6. กระบวนการนำไปสู่การปฏิรูปผู้ปฏิบัติงานนักวิจัย 7. เป็นการสร้างความรู้จากการปฏิบัติ -ไม่เน้นสถิติ -ใช้วิธีบรรยายรายละเอียดการดำเนินงาน + ผลที่ปรากฏ 8. จบแบบไม่จบ การวิจัยเชิงทดลอง 6. นำไปสู่การประยุกต์ใช้มากกว่าการพัฒนาตัวผู้ปฏิบัติงาน 7. เป็นการทดสอบผลของตัวแปรที่คาดเดาคำตอบ -ใช้สถิติวิเคราะห์ข้อมูล 8. จบแบบจบ


ดาวน์โหลด ppt การปฏิรูปการเรียนรู้ การวิจัยเพื่อการเรียนรู้

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google