งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อดีต, ปัจจุบัน และอนาคต นำเสนอในที่ประชุมคณะกรรมการประจำคณะแพทยศาสตร์ 15 พฤศจิกายน 2550

2 รายนามหัวหน้าภาควิชา
ศ. เกียรติคุณ นพ. จำลอง ดิษยวณิช ( ) รศ. นพ. กอบเกียรติ รักษ์เผ่าพันธุ์ ( ) ผศ. นพ. วิชิต ลีลามานิตย์ ( ) รศ. นพ. ไพรัตน์ พฤกษชาติคุณากร ( ) รศ. พญ. มณี ภิญโญพรพาณิชย์ ( ) รศ. นพ. วุฒิชัย บุณยนฤธี ( ) ศ. นพ. มานิต ศรีสุรภานนท์ ( ปัจจุบัน)

3 อาจารย์ อาจารย์ประจำ: 12 ท่าน (อยู่ในระหว่างการศึกษาต่อต่างประเทศ 1 ท่าน) อาจารย์พิเศษ: 2 ท่าน (ศ. เกรียติคุณ จำลอง และ ศ. เกรียติคุณ พริ้มเพรา ดิษยวณิช) วุฒิทางการศึกษา (ป. เอกหรือเทียบเท่า : ป. โทหรือเทียบเท่า : ป. ตรี) = 11 : 1 : 0 คุณวุฒิหลัก: จิตแพทย์ 10 ท่าน, ป. เอก จิตวิทยา 1 ท่าน และ ป. โท สังคมสงเคราะห์ 1 ท่าน ตำแหน่งทางวิชาการ (ศ : รศ : ผศ : อ) = 1 : 5 : 4 : 2

4 เจ้าหน้าที่สาย ข. และ ค. เจ้าหน้าที่สาย ข.: ข้าราชการ 2 คน (นักสังคมสงเคราะห์ และนักจิตวิทยา) และ พนง. มหาวิทยาลัย 1 คน (นักอาชีวบำบัด) เจ้าหน้าที่สาย ค.: 5 คน (ข้าราชการ 2 คน, ลูกจ้างประจำ 2 คน และลูกจ้างชั่วคราว 1 คน)

5 การเรียนการสอน หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต
รับผิดชอบโดยตรง 3 กระบวนวิชา ได้แก่ กระบวนวิชา พัฒนาความเป็นแพทย์ (MPD 101) กระบวนวิชา จิตเวชศาสตร์ (PSYC 501) สอนและประเมินผลร่วมกับโรงพยาบาลศูนย์ลำปาง 1 กระบวนวิชา ได้แก่ กระบวนวิชา จิตเวชศาสตร์ (PSYC 501)

6 การเรียนการสอน (ต่อ) หลักสูตรทันตแพทยศาสตรบัณฑิต
รับผิดชอบโดยตรง 2 กระบวนวิชา ได้แก่ กระบวนวิชา พฤติกรรมศาสตร์ (BEH 251) กระบวนวิชา พฤติกรรมศาสตร์ (BEH 352) หลักสูตรเทคนิคการแพทย์บัณฑิต กระบวนวิชา จิตเวชศาสตร์ (PSYC 202) (สำหรับนักศึกษาภาควิชากิจกรรมบำบัด) กระบวนวิชา จิตเวชศาสตร์ (PSYC 203) (สำหรับนักศึกษาภาควิชากายภาพบำบัด)

7 การเรียนการสอน (ต่อ) ประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขา จิตเวชศาสตร์
รับผิดชอบโดยตรง 5 กระบวนวิชา ได้แก่ กระบวนวิชา จิตเวชศาสตร์ทั่วไป (PSYC 731) กระบวนวิชา จิตเวชศาสตร์ฉุกเฉิน (BEH301) กระบวนวิชา จิตเวชศาสตร์คลินิกของผู้ป่วยนอก (PSYC 761) กระบวนวิชา จิตเวชศาสตร์คลินิกของผู้ป่วยใน (PSYC 771) กระบวนวิชา การค้นคว้าอิสระ (PSYC 798)

8 การเรียนการสอน (ต่อ) ร่วมกับ: Turning Point (Melbourne, Australia) และศูนย์วิชาการยาเสพติด ม. เชียงใหม่ จัดทำ หลักสูตรอบรมระยะสั้นด้านยาเสพติด ทุน: AUSAID ในโครงการ Illicit Drug Initiation (IDI) ขั้นตอน: สำรวจและวิเคราะห์ความต้องการ (training needs analysis) จัดตั้งกรรมการหลักสูตร (ระดับชาติ) จัดทำหลักสูตร จัดทำ course materials และ pilot training ฝึกอบรมผู้สอน 2 ท่าน 1 เดือนที่ Turning Point ภาควิชาจะนำหลักสูตรมาใช้เป็นวิชาเลือกสำหรับ นศพ. ปี 5

9 งานวิจัย: เมย. 49 – มีค. 50 จำนวนโครงการวิจัยที่ดำเนินงานและที่เสร็จสิ้น: 16 โครงการ (1.33 โครงการ/อาจารย์) การเผยแพร่ผลงานวิจัย: 10 ผลงาน (0.8 การนำเสนอ/อาจารย์) งานวิจัยซึ่งทำโดยอาจารย์ในภาคมากกว่า 1 ท่าน: 7 โครงการ งานวิจัยที่ทำร่วมกับองค์กรนอกภาควิชา: 12 โครงการ งบประมาณจากแหล่งทุนภาคนอก: 1,056,312 บาท จัดทำฐานข้อมูลวิจัยแบบอิเลคโทรนิกส์

10 งานวิจัย: เมย. 49 – มีค. 50 (ต่อ)

11 งานวิจัย: เมย. 49 – มีค. 50 (ต่อ)
ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์: 1 เรื่อง Wongpakaran N, van Reekum R, Wongpakaran T, Clarke D. Selective serotonin reuptake inhibitor use associates with apathy among depressed elderly: a case-control study. Ann Gen Psychiatry 2007; 6(1) 7.

12 งานวิจัย: เมย. 49 – มีค. 50 (ต่อ)
นำเสนอ 4 ผลงานวิจัยใน 19th European College of Nueropsychopharmacology Congress, Sep 16-20, 2006, Paris Suttajit S, et al. Benzodiazepines misuse in outpatient treated by internists.* Maneeton N, et al. An open-label study of quetiapine for delirium.* Maneeton B, et al. Risks and pattern of alcohol withdrawal delirium.* Charnsil C, et al. 1-year incidence of diabetes mellitus in Thai schizophrenic patients receiving long-term treatment of antipsychotics. *Abstract ได้รับการตีพิมพ์ใน European Journal of Neuropsychopharmacology (Suppl) จึงได้รับการยกเว้นค่าลงทะเบียน

13 งานวิจัย: เมย. 50 - ปัจจุบัน
บทความตีพิมพ์ในช่วง เมย. – มิย. 50 Assanangkornchai S, Srisurapanont M. The treatment of alcohol dependence. Curr Opin Psychiatry May;20(3):222-7. Srisurapanont M, et al. Brief intervention for students with methamphetamine use disorders: a randomized controlled trial. Am J Addict Mar-Apr;16(2):111-6. Srisurapanont M, et al. Metabolic syndrome in Thai schizophrenic patients: a naturalistic one-year follow-up study. BMC Psychiatry Apr 23;7:14. Charnsil C, et al. One-year incidence of diabetes mellitus in Thai schizophrenic patients. ASEAN Journal of Psychiatry 2007;8 (1):44-46. Maneeton B, et al. Fluoxetine plus insight meditation therapy for an SLE patient with depressive disorder: a two-year follow-up (short report). ASEAN Journal of Psychiatry 2007;8 (1):47-49.

14 งานวิจัย: เมย. 50 – ปัจจุบัน (ต่อ)
บทความตีพิมพ์ในช่วง มิย. – ธค. 50 Suttajit S, et al. Benzodiazepine overuse in an internal medicine out-patient department: a prospective study. ASEAN Journal of Psychiatry 2007:8 (2): Likhitsathian S, Sakamoto RI. Fixed-dose schedule and symptom-triggered regimen for alcohol withdrawal: a before-after study. ASEAN Journal of Psychiatry 2007:8 (2): Maneeton B, et al. Consultation-liaison psychiatry in Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital. ASEAN Journal of Psychiatry 2007;8 (2): รางวัลจิตแพทย์ดีเด่นสาขาการวิจัย (ศ. นพ. มานิต) จากสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย, ตค. 50

15 การบริการวิชาการ บริการ: เพิ่ม OPD Geriatric Psychiatry
กรรมการวิชาการ หรือวิชาชีพที่สำคัญ ประธานวิชาการสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย (ศ. นพ. มานิต) กรรมการฝึกอบรมและประเมินความรู้ความชำนาญทางจิตเวชฯ แพทยสภา (ศ. นพ. มานิต) ASEAN Journal of Psychiatry Editor (ศ. นพ. มานิต) Associate Editor (ผศ. พญ. ณหทัย) Editorial Board (รศ. นพ. ทินกร และ ผศ. พญ. เบญจลักษณ์)

16 การบริการวิชาการ (ต่อ)
Mental Health and Substance Use: Dual Diagnosis International Advisory Board (ศ. นพ. มานิต) วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย กองบรรณาธิการ (ศ. นพ. มานิต) ร่วมกับศูนย์วิชาการยาเสพติดภาคเหนือและ Turning Point for Drugs and Alcohol (Melbourne) ในการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการด้านยาเสพติด ภายใต้ทุนสนับสนุนของโครงการ Illicit Drug Initiative (IDI) ของ AUSAID (ศ. นพ. มานิต และ อ. พญ. สุรินทร์พร) Transcranial Magnetic Stimulation (TMS) ซึ่ง ผศ. พญ. ณหทัย ได้รับการอบรมแล้ว

17 การบริการวิชาการ (ต่อ)

18 การบริหารและจัดการ การฝึกอบรมบุคลากร
Child & Adolescent Psychiatry, U of London, ตค – กย. 2547, รศ. นพ. ณรงค์, ทุนพัฒนาคณะแพทย์ Consultation-Liaison Psychiatry, U of London, ตค – กย. 2547, ผศ. พญ. เบญจลักษณ์, ทุนพัฒนาคณะแพทย์ Fellow in Psychotherapy, U of Toronto, พย ตค. 2549, รศ. ทินกร, ทุนพัฒนาคณะแพทย์ Fellow in Geriatric Psychiatry, U of Toronto, พย ตค. 2549, ผศ. พญ. ณหทัย, ทุนพัฒนาคณะแพทย์ฯ

19 การบริหารและจัดการ (ต่อ)
การฝึกอบรมบุคลากร (ต่อ) Palliative care, The Good Samaritan Society, Canada, พย. 49 – พค. 50, ผศ. สุธีร์, ทุนส่วนตัว Cognitive-Behavioral Therapy for Depression (ในประเทศ), มค. – พย. 50, รศ. นพ. ณรงค์ และ อ. พญ. สุรินทร์พร, ทุนกรมสุขภาพจิต Course on Leadership and Professional Skills Development for Young Psychiatrists, Association for the Improvement of Mental Health Programmes (AIMHP), Hong Kong, 25 – 28 มิย. 50, ผศ. พญ. ณหทัย และ อ. พญ. ศิริจิต ทุน AIMHP (ประเทศไทยได้รับ 3 ทุน)

20 การบริหารและจัดการ (ต่อ)
การฝึกอบรมบุคลากร (ต่อ) Short Course on Schizophrenia, Mood Disorders, and Anxiety Disorder, U of Toronto, 17 สค.-14 กย. 50, อ. พญ. ศิริจิต, ทุนจากสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย Psychiatry Research, U of London, กย. 50 – กย. 51, อ. พญ. ศิริจิต, ทุนคณะแพทย์ Young Psychiatrists Fellowship Programme: World Psychiatric Association International Congress, Melbourne, 28 พย. – 2 ธค. 50, อ. พญ. สุรินทร์พร, ทุน WPA


ดาวน์โหลด ppt ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google