งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ปัญหา เรามักจะทำ “การนำเสนอ” ที่ไม่สามารถสื่อให้ผู้ฟังได้เข้าถึงประเด็น เราคิดว่าที่เราทำมาดีอยู่แล้ว เราไม่รู้ว่ามันไม่ดีอย่างไร.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ปัญหา เรามักจะทำ “การนำเสนอ” ที่ไม่สามารถสื่อให้ผู้ฟังได้เข้าถึงประเด็น เราคิดว่าที่เราทำมาดีอยู่แล้ว เราไม่รู้ว่ามันไม่ดีอย่างไร."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ปัญหา เรามักจะทำ “การนำเสนอ” ที่ไม่สามารถสื่อให้ผู้ฟังได้เข้าถึงประเด็น เราคิดว่าที่เราทำมาดีอยู่แล้ว เราไม่รู้ว่ามันไม่ดีอย่างไร

2 ใช้แบบโครงแบบ (template)
ใช้หลายโครงแบบมากในเรื่องๆเดียวจะทำให้ผู้ฟังไปสนใจเรื่องอื่น ที่สำคัญคือเราต้องให้ผู้ฟังจดจ่อกับ “เรื่องที่นำเสนอ” ไม่ใช้ให้เขาจดจ่อต่อ “วิธีการนำเสนอ”

3 ฟอนต์และสี (Font & Colors)

4 ฟอนต์ (เปรียบเทียบขนาด)
Angsana UPC 24: ตัวหนังสือควรจะอ่านง่าย (Readable) และชัดเจน (Clear) ไม่บางเกินไป (Not Too Thin) และ ภาษาไทยกับ English ควรจะตัวเท่ากัน Angsana New 24: Browallia New 24: Cordia New 24: Tahoma 18:

5 ฟอนต์ (เปรียบเทียบลักษณะ)
Angsana UPC 32: ไทย Angsana New 32: ไทย English Browallia New 32: ไทย English Cordia New 32: ไทย English Courier New 32: English Tahoma 32: ไทย English Verdana 32: English

6 ขนาดของฟอนต์ (Tahoma)
28 อ่านออก 24 อ่านออก 20 อ่านออก 18 อ่านออก 16 อ่านออก เมื่อไหร่จะมีใครๆ สักคนที่เป็นของเรา (๒๘) เมื่อไหร่จะมีใครๆ สักคนนะที่รักเรา (๒๔) เท่านี้ที่ต้องการขอเกินไปตรงไหน (๒๐) เมื่อไหร่จะมีใครๆ สักคนที่เคียงข้างเรา (๑๖) แค่อยากจะมีคนที่ทำให้ใจไม่ต้องเหงา (๑๒) ไม่รู้ต้องเมื่อไหร่ เหมือนมันยังห่างไกล (๘)

7 ข้อแนะนำ อย่าใช้ฟอนต์หลายแบบ อย่างมากสองต่อ slide
ขนาดของ bullet แรกไม่ควรเล็กกว่า ๒๘ ขนาดของ bullet ที่สองไม่ควรเล็กกว่า ๒๔ ไม่ควรใช้ bullet ขาดเล็กกว่า ๑๖ ในทุกกรณี

8 ข้อแนะนำ เลือกฟอนต์ที่อ่านง่าย ถ้าต้องการความกว้างตัวหนังสือคงที่
Eng : Times New Roman หรือ Arial จะอ่านง่ายกว่า Script หรือ Handwriting ไทย : Cordia New จะอ่านง่ายกว่า Angsana New ถ้าต้องการความกว้างตัวหนังสือคงที่ Eng : Courier New ไทย : Cordia New, Tahoma

9 การใช้ตัวพิมพ์ใหญ่ ในภาษาอังกฤษ อย่าใช้ทุกตัวเป็นตัวพิมพ์ใหญ่ ALL CAPITAL LETTERS เพราะอ่านยาก ใช้เฉพาะ คำย่อ ไม่ควรใช้เน้นคำ

10 การใช้ตัวเอียง ตัวเอียง (Italic)
ใช้สำหรับคำพูดที่อ้างจากผู้อื่น “quotes” ใช้สำหรับ highlight แนวคิดหรือคำสำคัญ ใช้สำหรับชื่อเอกสารอ้างอิง titles

11 Bullets การทำ bullet ไม่จำเป็นต้องใส่ประโยคเต็มอย่างละเอียด
ใส่เฉพาะคำสั้นๆ กระชับ ใช้เป็นแนวบอกผู้ฟังว่าจะพูดอะไรเท่านั้น ควรอยู่ภายในบรรทัดเดียวหรือสองบรรทัดอย่างมาก ในหนึ่งหน้า ไม่ควรมีเกิน 6 bullets ถ้ามีรูปหรือคำยาวๆ ก็ไม่ควรมีเกิน 5 bullets ถ้ามีข้อความมาก จะไม่มีใครอ่าน เพราะผู้ฟังจะคาดเดาว่า “สิ่งที่คุณกำลังพูดไม่ต่างจากที่คุณเขียน”

12 Colours สีแดง และ สีส้ม มีพลังงานสูง บางครั้งเกินกว่าที่สายตาจะจดจ่อ
สีเขียว สีน้ำเงิน และสีน้ำตาล เป็นสีที่อ่อนกว่าแต่อาจทำให้ไม่น่าสนใจ

13 สีในเชิงจิตวิทยา สีน้ำเงินเข้ม สีแดง สีขาว สีดำ สีฟ้า สีเขียว สีชมพู
ความน่าเชื่อถือ แน่นอน สีแดง ความโชคดี กระตือรือร้น แต่ขาดความยับยั้ง สีขาว ความสะอาด แต่ขาดเรื่องการปฏิบัติ สีดำ ความลึกลับ ความเชื่อ แต่อาจเติมเรื่องความกลัว สีฟ้า สดใส แต่ขาดความหนักแน่น สีเขียว เรียบง่าย สบาย แต่ขาดอารมณ์การทำงาน สีชมพู ออกเชิงผู้หญิง หวาน สีส้ม กระตือรือร้น น่าสนใจ แต่อ่านยาก

14 การให้สีพื้นและสีตัวอักขระ
ตัวหนังสือขาวบนพื้นดำ จะไม่ดีสำหรับห้องขนาดผู้ฟังหลังห้องไกลกว่า ๖ เมตร อย่าใช้ฟอนต์สีเข้มบนพื้นเข้ม อย่าใช้ฟอนต์สีอ่อนบนพื้นสีอ่อน อย่าใส่สีพื้นเข้มในห้องมืด แสงจากฉากหลังสีขาวมีพลังงานมากกว่าแสงจากตัวหนังสือสีขาว

15 การให้สีพื้นและสีตัวอักขระ
ตัวหนังสือขาวบนพื้นดำ จะไม่ดีสำหรับห้องขนาดผู้ฟังหลังห้องไกลกว่า ๖ เมตร อย่าใช้ฟอนต์สีเข้มบนพื้นเข้ม อย่าใช้ฟอนต์สีอ่อนบนพื้นสีอ่อน อย่าใส่สีพื้นอ่อนในห้องมืด แสงจากฉากหลังสีขาวมีพลังงานมากกว่าแสงจากตัวหนังสือสีขาว

16 วงล้อของสี สีที่ใกล้เคียงกันแสดงถึงความคล้ายกัน
สี่ที่ตรงข้ามกันแสดงถึงความแตกต่าง สีที่ตรงข้ามกันมากๆช่วยให้อ่านง่าย YELLOW on BLUE

17 ตัวอย่างที่ต้องปรับปรุง
รู้จักวิเคราะห์ รู้จักจำนวนของปริมาณ รู้จักคิดหาเหตุผล รู้จักติ-รู้จักก่อ รู้จักค้นหาความเป็นจริง รู้จักคำนวณเป็นตัวเลข รู้จักหลักการของเศรษฐศาสตร์ รู้จักปรับปรุงแก้ไข ชอบมีข้อสรุป ชอบจินตนาการ ชอบคาดการณ์ ชอบตื่นเต้น กล้าลองเสี่ยง ชอบถูกกระตุ้น ชอบท้าทาย ชอบเรื่องประหลาดๆ ชอบรู้ ชอบลองใหม่ ซีกเหตุผล ซีกอยากลอง การอยากรู้ การอยากลอง การต้องทำ การมีความรู้สึก ทำอะไรต้องปลอดภัย โครงการต้องเป็นกระบวนการ ทำอะไรต้องเรียบร้อย ต้องเที่ยงตรง เชื่อมั่นได้ ต้องเป็นระบบ มีระเบียบ ทุกอย่างต้องดี ต้องทันเวลา ต้องวางแผน การเข้าใจถึงความรู้สึกของผู้อื่น การชอบสอนให้คนได้รู้ การชอบสัมผัส การสนับสนุนให้กำลังใจ การแสดงออกถึงอารมณ์ความรู้สึก การแสดงออกถึงกิริยาท่าทาง การชอบพูดมีกระแสเสียง การมีศิลปะ ซีกความมั่นคง ซีกอารมณ์ความรู้สึก

18 กราฟแบบต่างๆ

19 Tabulating and Graphing Categorical Data
Univariate data: Tabulate using a summary table. Graph using a bar chart or a pie chart Bivariate Data: Tabulate using a contingency table. Graph using a compound bar chart.

20 Summary Table Major Count 1. Lists Categories & Number of Elements
2. Count by Tallying 3. Show Frequencies (Counts) or Percentages Row Is Category Major Count Tally: |||| |||| |||| |||| Accounting 130 Economics 20 Management 50 Total 200

21 Bar Chart Major Frequency Mgmt. Econ. Acct. 50 100 150
Bars for categorical variables Major Bar Length Shows Frequency Mgmt. Horizontal bars are used for categorical variables. Vertical bars are used for numerical variables. Still, some variation exists on this point in the literature. Also, there are many variations on the bar (e.g., stacked bar) Equal Bar Widths Econ. Gaps must exist (1/2 to 1 bar width) Acct. Zero Point 50 100 150 Frequency

22 Contingency Table Gender Level of Study Total 4 1 2 3 5 5 Total 6 4 10
Level of Study: U U S S U U S S U S Gender: M F F M M M F M M F ( U=University , S=SecondarySchool ; M=Male , F=Female ) Gender Level of Study Male Female Total University 4 1 2 3 5 SecondarySchool 5 Total 6 4 10

23 Side-by-Side Chart 0 1 2 3 4 5 6 Residence Frequency On Campus: M F
Off Campus: M F 6 Frequency

24 กราฟวงกลม ลักษณะ คำแนะนำ เน้นที่ส่วนแบ่งของแต่ละชิ้น
มักไม่เน้นที่ปริมาณ มักแสดงเป็นเปอร์เซนต์ คำแนะนำ หลีกเลี่ยงกราฟสามมิติ เรียงจากมากมาน้อย ถ้าไม่มีสีควรใส่ ลวดลาย ไม่ควรมีจำนวนชิ้นมากเกินไป

25 กราฟวงกลม Mgmt. 1. Breakdown Total Quantity by Categories 25%
2. Useful for Showing Relative Differences 3. Angle Size : (360°) x (Percent) 25% Econ. 36° 10% Acct. 65% (360°) x (10%) = 36°

26 กราฟวงกลม

27 Scatter Diagram Plot of All (Xi , Yi) Pairs Y 60 40 20 X 20 40 60

28 Scatter Graphs แสดงความสัมพันธ์ของสองตัวแปร
ค่าของตัวแปรทั้งสองมักเป็นค่าจำนวนจริง จุดกำเนิด (origin) อยู่ที่ (0,0) เสมอ

29 กราฟเส้น แตกต่างกับ Scatter ตรงที่ แกน X มักมีเป็นจำนวนเต็ม

30 กราฟเส้น This plot exhibits an obvious seasonal pattern.

31 Time-Series Plot Sales 8 6 4 2 91 92 93 94 95 96 Year

32 กราฟเรดาร์ ลักษณะ คำแนะนำ
เพื่อแสดงความสมดุลย์ของตัวแปรต่างๆ ในทิศทางต่างๆ คำแนะนำ จำนวนตัวแปรทั้ง (หลักและรอง) ควรจะต้องจำกัด

33 กราฟโดนัท ข้อมูลจากหน่ที่แล้ว วงในสุด - สมปอง วงนอกสุด - ปรีดา

34 กราฟพื้นที่ คล้ายกราฟเส้น ข้อแนะนำ แต่ข้อมูลเป็นแบบต่เอนื่อง
ข้อมูลมักแสดงสัดส่วนและผลรวมในลักษณะเป็นชั้นๆ ข้อแนะนำ การเปรียบเทียบสัดส่วนที่แต่ละค่าในแนวนอนอาจจะเปรียบกับตำแหน่งอื่นๆที่อยู่คนละระดับกัน

35 กราฟพื้นที่ผิวสามมิติ
ลักษณะ ใช้กับสามตัวแปร ใช้แสดงการความสัมพันธ์ในทุกกรณี คำแนะนำ การแสดงผลมีโอกาสที่จะบังกัน

36 Tabulating and Graphing Bivariate Categorical Data
Contingency tables: investment in thousands of dollars Investment Investor A Investor B Investor C Total Category Stocks Bonds CD Savings Total

37 Tabulating and Graphing Bivariate Categorical Data
Side by side charts

38 Graphical Excellence

39 Errors in Presenting Data
Using “chart junk” Failing to provide a relative basis in comparing data between groups Compressing the vertical axis Providing no zero point on the vertical axis

40 “Chart Junk”  Bad Presentation Good Presentation $ Minimum Wage
1960: $1.00 4 1970: $1.60 2 1980: $3.10 1990: $3.80 1960 1970 1980 1990

41 A’s received by students. A’s received by students.
No Relative Basis Bad Presentation Good Presentation A’s received by students. A’s received by students. Freq. % 300 30 200   10 FR SO JR SR FR SO JR SR FR = Freshmen, SO = Sophomore, JR = Junior, SR = Senior

42 Compressing Vertical Axis
Bad Presentation Good Presentation Quarterly Sales Quarterly Sales $ $ 200 50 100 25 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4

43 No Zero Point on Vertical Axis
Bad Presentation Good Presentation Monthly Sales Monthly Sales $ $ 45 45 42 42 39 39 36 36 J F M A M J J F M A M J Graphing the first six months of sales.

44 Bad Presentation

45 Good Presentation

46 Bad Presentation

47 Good Presentation

48 Pareto Diagram Bad Presentation
Axis for bar chart shows % invested in each category Axis for line graph shows cumulative % invested Bad Presentation

49 Minimising the data density.
Bad Presentation

50 Minimising the data/ink ratio.
Bad Presentation

51 Hiding the difference. Bad Presentation

52 Showing the data out of context.
Bad Presentation

53 Emphasising the trivial, Labeling in an unreadable, incomplete and ambiguous way
Bad Presentation

54 Ignore the codification
Bad Presentation

55 Codify in one dimension and represent it in many.
Bad Presentation

56 Change regularity in the middle of the axis.
Bad Presentation

57 Compare values between curves or change the situation of the origin of different data to avoid comparing in the same conditions. Bad Presentation

58

59 ข้อควรคำนึงในการนำเสนอ

60 คำหลักสี่คำ มีองค์ประกอบและโครงสร้าง อ่านง่าย เรียบง่าย ชัดเจน

61 ภาพประกอบ ใช้เมื่อจำเป็น ควรจะต้องเกี่ยวข้องกับเนื้อหาที่เราพูดถึง
ลองถามตัวเองว่า “ใส่แล้วดีขึ้นหรือไม่” มิฉะนั้น จะเป็นตัวดึงความสนใจออกไป ควรจะต้องเกี่ยวข้องกับเนื้อหาที่เราพูดถึง ไม่ใช่อยากใส่แต่ Hello Kitty กะ Garfield Diagram มาตรฐาน flowchart, UML จะช่วยให้ผู้ฟังเข้าใจได้ง่ายขึ้น Diagram ไม่มาตรฐาน มักจะส่งผลถึงหายนะในการอธิบาย

62 สิ่งที่ควรมีมากเกินไป
ในการนำเสนอที่เวลาจำกัด ไม่ควรมีสิ่งต่อไปนี้มากเกินไป จำนวนแผ่น ข้อความต่อแผ่น ศัพท์เทคนิค สัญลักษณ์พิเศษ ตัวแปรคณิตศาสตร์ที่ไม่มาตรฐาน ศัพท์ภาษาต่างประเทศ ศัพท์ราชบัณฑิตที่ไม่คอยนิยม

63 ศัพท์และไวยากรณ์ ควรทำให้อ่านง่าย
ไม่ต้องให้ศัพท์ทางการมาก ขอให้ถูกกาละเทศะ ไม่ต้องใส่ประโยคเต็ม ควรตัดคำออกให้มากที่สุดโดยไม่เสียเนื้อความ คำศัพท์ที่เยิ่นเย้อทำให้การอ่านน่าเบื่อ ควรตรวจสอบตัวสะกดเป็นอย่างดี ไม่จำเป็นต้องใช้ภาษาอังกฤษ ถ้าหากผู้ฟังส่วนใหญ่เป็นคนไทย การใช้ภาษาอังกฤษอย่างผิดๆจะทำให้ผู้ฟังที่เป็นเจ้าของภาษารำคาญ

64 แผ่นใส มีเรื่องหลักเพียงเรื่องเดียวในแผ่นใสหนึ่งแผ่น
วางแผ่นใสในแนวนอนเสมอ มีความต่อเนื่อง ควรมี รูป กราฟ หลีกเลี่ยงการใช้ตาราง อย่าใช้แผ่นใสจนถึงขอบ อย่าใส่รูปฉากหลังที่เคลื่อนไหว และมีลวดลายมาก อย่าหวังว่า ppt ของเราจะใช้ได้ดีบนเครื่องคนอื่น

65 ต้องซ้อมก่อนขึ้นพูดทุกครั้ง
ยืนซ้อมหน้ากระจก พูดด้วยความเร็วปรกติ มองตาตัวเอง สังเกตท่าทางการยืน จับเวลา ถ้ารู้ว่าพูดเกินเวลา ตัดเนื้อหาออก

66 ไปถึงสถานที่บรรยายก่อนเวลา
ตรวจสอบอุปกรณ์การนำเสนอให้พร้อม ความละเอียดของ projector ของจอบนเครื่องเรา จัด Desktop ให้สะอาดและเลือกรูป Background ที่เหมาะสม ปิด Power Management เพื่อป้องกันเครื่องปิดอัตโนมัติระหว่างการนำเสนอ ปิด Screensaver เพื่อจะได้ไม่รบกนผู้ฟัง เตรียม pointer ที่เหมาะสม (ไม้ชี้, laser)

67 การบรรยาย ควรที่จะต้องมีการกล่าวเริ่มต้น การส่งต่อเรื่องราว และการลงท้าย แผ่นใสแต่ละแผ่นไม่ควรใช้เวลาในการบรรยายต่างกันมาก ควรที่จะมี Handout ทั้งนี้ขึ้นกับงบประมาณ

68 ระหว่างบรรยาย อย่าเปิดโฟลเดอร์ที่เก็บรูปภาพ ถ้าไม่ต้องการให้ผู้อื่นเห็นว่ามีรูปอะไรอยู่บนเครื่องของเรา ไม่ใช้ mouse icon เป็น pointer หลีกเลี่ยงการโต้ตอบกับแผ่นใสด้วยแป้นพิมพ์และเมาส์

69 แผนสอง PowerPoint บนเครื่องที่มีคนละเวอร์ชันกับของเรา ไม่มี notebook
ไม่มี font ที่เราใช้ ไม่มี overhead projector ไม่มี thrum drive , floppy, internet อย่าหวังว่า PowerPoint ของเราจะใช้ได้บนอีกเครื่องนึงโดยการ copyไป

70 สิ่งสำคัญ อย่าให้แผ่นใสโดดเด่นกว่าตัวคุณ เขามาฟังคุณพูด
แต่งตัวให้เหมาะกับโอกาส Power Point คือ อุปกรณ์เสริมการบรรยาย ไม่ใช่ ตัวหลักของการบรรยาย ถ้าคิดจะมาอ่าน Power Point ก็ไม่ต้องพูดก็ได้ ส่งให้เขาไปอ่านเอาเองก็แล้วกัน

71 ありがとございます ขอบคุณค่ะ Thank you 谢谢 merci 너를 감사하십시요 danke obrigado grazie gracias ευχαριστίες спасибо 謝謝


ดาวน์โหลด ppt ปัญหา เรามักจะทำ “การนำเสนอ” ที่ไม่สามารถสื่อให้ผู้ฟังได้เข้าถึงประเด็น เราคิดว่าที่เราทำมาดีอยู่แล้ว เราไม่รู้ว่ามันไม่ดีอย่างไร.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google