งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การศึกษาตามอัธยาศัย ประสบการณ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การศึกษาตามอัธยาศัย ประสบการณ์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การศึกษาตามอัธยาศัย ประสบการณ์
ข้อสรุปจากที่ประชุมปฏิบัติการวางระบบการพัฒนาการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย สพร. สำนักงาน กศน. ๒๐ พค ๒๕๕๑

2 ที่มา... เพราะบางช่วงจัดคนมาเข้าโรงเรียนไม่ได้ บางช่วงใช้การศึกษานอกระบบก็ไม่ได้ ในที่สุดก็นำส่วนนั้นมาจัดการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อให้คนที่สะดวกจะเรียนรู้ โดยจัดแหล่งความรู้ตามสภาพแวดล้อมให้เหมาะกับคนแต่ละช่วงวัย อันจะนำไปสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ นายวิจิตร ศรีสอ้าน อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ๒๕๕๑

3 ที่อื่น...ทำอย่างไรกันบ้าง?
Informal Education คือการศึกษาที่ไม่ได้มาจากการเรียนการสอนในห้องเรียน แต่เป็นการศึกษาที่ได้มาจากสิ่งแวดล้อมรอบๆ ตัวเรา เรื่องนี้ไม่ใช่เรื่องใหม่ สหรัฐอเมริกา และอังกฤษ ได้พัฒนามานานแล้วในทิศทางของตัวเองที่เสมือนแต่แตกต่าง กล่าวคือ จุดแข็งของประเทศอังกฤษ คือ วัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ของ British Empire อันแข็งแกร่งและยาวนาน Informal Education ของประเทศอังกฤษจึงเน้นไปในทางเสริมสร้างประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมอันเก่าแก่ในรูปแบบใหม่แบบไม่ลืมรากฐานเดิมของตัวเอง (Massaging the Old Wealth) ธีรัส บุญ-หลง

4 คน คน + นโยบาย นโยบาย มหภาค
ประเทศไทยจำเป็นต้องปรับ.....ศักยภาพและความสามารถทางเศรษฐกิจ... อย่างไรก็ตาม...เทคโนโลยีในโลกปัจจุบันให้เวลาเราปรับตัวน้อยมาก “กระตุก” การผลิตแบบ มุ่งปริมาณ การสร้างคุณค่า + คน คน ระบบที่มีอยู่เดิม จากข้อจำกัดความทั้งด้านปัจจัยทางเศรษฐกิจและปัญหาด้านคุณภาพของคน ประเทศไทยจำเป็นต้องปรับศักยภาพและความสามารถทางเศรษฐกิจจากการผลิตมุ่งปริมาณโดยใช้แรงงานเป็นหลัก มาเป็นเศรษฐกิจที่เน้นการสร้างคุณค่าในสินค้าและบริการ โดยการสร้างคนให้มีคุณภาพเพื่อสามารถใช้ความคิดสร้างสรรค์ หรือ Idea ของคนจะเป็นส่วนสำคัญในการสร้างคุณค่าสินค้า พร้อมไอเดีย = ผู้สร้างมูลค่า นโยบาย นโยบาย มหภาค จุลภาค ที่ช่วยกระตุ้น ความตื่นตัว ในภาคการผลิต

5 คนไทยพันธุ์ใหม่เป็นปัจจัยสำหรับเศรษฐกิจในอนาคตของไทย
การสร้างเศรษฐกิจที่มุ่งเน้นการสร้างราคาและคุณค่าให้แก่สินค้าและบริการ ใช้ประโยชน์สูงสุดจาก ความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบของประเทศ ในการผลิต สินค้าและบริการ ที่ตรงตาม ความต้องการของผู้บริโภคที่มีกำลังซื้อสูง ดังนั้นสิ่งที่มีความจำเป็นเร่งด่วนคือ การสร้างคนรุ่นใหม่ (พันธุ์ใหม่) ให้มีภูมิปัญญาและคุณภาพ ซึ่งจะมีความสำคัญต่อการสร้างเศรษฐกิจที่มุ่งเน้นการสร้างราคาและคุณค่าให้แก่สินค้าและบริการ ( Value Creation Economy ) ซึ่งแนวคิดของ Value Creation Economy คือ การใช้ประโยชน์สูงสุดจาก ความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบของประเทศ ในการผลิต สินค้าและบริการ ที่ตรงตามความต้องการของผู้บริโภคที่มีกำลังซื้อสูง ตัวอย่าง เช่น สปาไทย การบริการทางการแพทย์ของไทย อาหารไทย สิ่งที่เป็น Thainess คือ ศิลปะแม่ไม้มวยไทย ตัวอย่างจากภาพยนตร์เรื่อง องค์บาก หรือ ต้มยำกุ้ง ซึ่งต้องใช้ปัญญาและความคิดสร้างสรรค์และผลิตของให้ตรงกับ Demand ใหม่ของผู้บริโภค

6 สิ่งที่ประเทศไทยจำเป็นต้องมี คือ
ความคิดสร้างสรรค์ เอกลักษณ์จาก รากฐานของตนเอง ทักษะฝีมือที่สืบทอดจาก ทรัพย์สินทางวัฒนธรรม + + ความรู้ - วิถีไทย - พื้นที่เขตศูนย์สูตร - ฝีมือช่าง - ความละเมียดลไม - วิทยาศาสตร์ - เทคนิค สิ่งที่ประเทศไทยจำเป็นต้องมีสำหรับเศรษฐกิจที่สร้างคุณค่าก็คือ ความคิดสร้างสรรค์ ซึ่งมาจาก เอกลักษณ์จากรากฐานของตัวเองโดยเฉพาะ วิถีไทย และความหลากหลายทางชีวภาพของพื้นที่เขตศูนย์สูตร บวกกับ ทักษะฝีมือที่สืบทอดจากทรัพย์สินทางวัฒนธรรม เช่น ฝีมือช่างที่มีความละเมียดลไม รวมถึง ความรู้ ซึ่งมีทั้งความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และเทคนิคที่จะเสริมเข้าไป

7 การรับรู้...ความเข้าใจ ระดับการรับรู้การจัดการศึกษาตามอัธยาศัยของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เขตพื้นที่การศึกษาสุรินทร์ เขต 3 ด้านนโยบายและหลักการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย มีการรับรู้อยู่ในระดับปานกลาง ด้านกระบวนการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย มีการรับรู้อยู่ในระดับปานกลาง ด้านแหล่งการเรียนรู้ตามอัธยาศัย มีการรับรู้อยู่ในระดับปานกลาง โดยภาพรวมทั้ง 3 ด้าน มีการรับรู้อยู่ในระดับปานกลาง แนวทางการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต ที่ผู้เชี่ยวชาญเห็นว่าสอดคล้องและผู้บริหารในการปฏิบัติในระดับมาก เห็นว่านำไปปฏิบัติได้ ประกอบไปด้วย 4 องค์ประกอบ คือ หลักการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย (ปรัชญา นิยาม ความหมาย การเรียนรู้ ลักษณะ การจัด และผู้จัด) การจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ (โปรแกรมส่งเสริมการเรียนรู้ และกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้) การจัดปัจจัยส่งเสริมการเรียนรู้ (การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ การจัดการความรู้ สื่อและเทคโนโลยีการศึกษา และการพัฒนาเครือข่ายการเรียนรู้) การเรียนรู้จากประสบการณ์ (ประเภทของประสบการณ์ วิธีการ หลักการ และจุดมุ่งหมายของการประเมินความรู้จากประสบการณ์) คมกฤช จันทร์ขจร มศว. ๒๕๕๑ จำลอง อัครชัยมงคล มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ๒๕๔๘

8 หลักการ การศึกษาตามอัธยาศัย
หลักการ การศึกษาตามอัธยาศัย เป็นการศึกษาจากวิถีชีวิต เป็นส่วนหนึ่งของวิถีชุมชน เป็นการเรียนรู้จากของจริง เรียนรู้จากสรรพสิ่งต่างๆ ในวิถีชีวิต ไม่ใช่วิชาหนังสือ เป็น การเรียนรู้ร่วมกัน ด้วยการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นๆ การเรียนรู้ผ่านประสบการณ์และข้อมูลรอบๆ ตัว

9 การศึกษาตามอัธยาศัย นิยาม:
เป็นการจัดกระบวนการที่มุ่งให้ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ โดยผู้เรียนสามารถกำหนด/เลือก วิธีการเรียน เนื้อหา เวลา สถานที่ ฯลฯ หรือสิ่งที่บังเอิญอุบัติขึ้นกับผู้เรียนซึ่งสอดคล้องกับวิถีชีวิต ความต้องการ หรือเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของสถาบัน/องค์กร/แหล่งเรียนรู้ ฯลฯ เพื่อให้บุคคลมีโอกาสแสวงหาและได้ความรู้ เกิดการพัฒนาทักษะ เจตคติ ความเข้าใจ อันจะนำไปสู่การพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชนและสังคม

10 การจัด การศึกษาตามอัธยาศัย
เป็นกระบวนการจัดการ (Management) มีทั้ง “การจัด” ที่ไม่ใช่กระบวนการจัด (Organizing) ตามรูปแบบ แต่เป็นกระบวนการจัดตามวิถีชีวิต มีรูปแบบของกิจกรรมที่เน้นวิถีชีวิตเป็นหลัก เป็นการดำเนินชีวิตตามปกติ เป็นกระบวนการที่มีอยู่จริง ตามธรรมชาติ (Catalyze) เป็นกระบวนการ “กระตุ้น” ในคนอื่นเกิดความต้องการเรียนรู้ หากผู้เรียนประสงค์การรับรองประสบการณ์ ควรมี “กระบวนการจัด” (Facilitate) เป็น การจัดแบบไม่ต้องจัด มีการวางระบบ เป็นการสร้างกระบวนการที่จะส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ เป็นไปตามวิถีชีวิต สอดคล้องกับวิถีชีวิต แต่มีกระบวน/กิจกรรมที่สามารถทำให้น่าสนใจ

11 การศึกษาตามอัธยาศัยที่ ไม่ต้องจัด เป็นไปตามวิถีชีวิต
การศึกษาตามอัธยาศัยที่ จัด โดย กศน. จัดเพื่อบอกให้รู้ว่ามีอะไร ที่ไหน (เช่นแหล่งเรียนรู้ advice centre) จัดสนองความต้องการ ตามสภาพปัญหา เช่น ราคาข้าว จัดให้อยากมารับ/ใช้บริการ เช่น ห้องสมุดฯ ศูนย์วิทย์ สื่อ(ศท)ศรช.

12 รูปแบบ/วิธีการ การศึกษาตามอัธยาศัย
มีรูปแบบ/กิจกรรมที่จัดเพื่อให้คนได้เรียนรู้ตามความต้องการ มีบรรยากาศ สิ่งแวดล้อมให้เกิดการเรียนรู้ เรา (ผู้จัด) สามารถเข้าไปมีส่วนร่วมด้วย มีทั้งวิถีชีวิต วิถีธรรมชาติ วิถีชุมชน ไปเรียนรู้ร่วมกัน ทำให้ผู้เรียนเกิดความมั่นใจ ไม่ใช่อะไรที่จะ”ไปใส่” ให้ผู้เรียน แม้เราจะคิดว่าเราจำเป็นต้องทำ ต้องกำหนด เป็นการเรียนรู้ที่เกิดจากสิ่งแวดล้อมที่ทำให้เกิดการคิด และมีสิ่งอำนวยความสะดวกในการเรียนรู้

13 กลุ่มเป้าหมาย: คน/ชาวบ้าน/คนอยากเรียน
กลุ่มเป้าหมาย: คน/ชาวบ้าน/คนอยากเรียน คนเราเรียนรู้มากมายและทุกวัน เราเรียนรู้ตามความจำเป็น ตามความต้องการ เราเรียนรู้ตามวิถีชีวิตนั่นเอง กศ.ตามอัธยาศัย ช่วยเราคนเราเกิดการรู้ได้ “คน”ชาวบ้านมีวิธีการเรียนรู้ไม่ตายตัว แต่เป็นวิถีชีวิตของแต่ละบุคคล ชีวิตของผู้เรียนมีความหลากหลาย เป็นแรงขับเคลื่อนที่ท้าทายตัวเองตลอดชีวิต

14 ผู้จัด ผู้เรียน แหล่งเรียนรู้ ผู้เรียนรู้ กระบวนการจัดการ องค์ความรู้
-พัฒนารูปแบบหรือกระบวนการ ในการส่งเสริมความรู้หลากหลายและเหมาะสม -พัฒนาระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ ผู้จัด ภูมิปัญญา องค์ความรู้ ไม่สามารถวางแผนหรือวิธีการจัดการศึกษาให้ผู้อื่นได้ ผู้จัดไม่รู้มากกว่าผู้อยากเรียน สามารถสร้างสภาพแวดล้อมในการเรียนรู้(บรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้) จัดให้ผู้อยากเรียนสามารถเลือก/เข้าถึงแหล่งเรียนรู้ต่างๆให้สอดคล้องกับวิถีชีวิต จุดประกายให้เกิดการอยากเรียน แหล่งเรียนรู้ เป็นกลไกที่มีอยู่แล้วมากมาย หลากหลายในสังคมซึ่งเป็ฯวิถีชีวิตของคน แหล่งฯมี ๔ ลักษณะ ๑) เป็นแหล่งฯกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้เพิ่ม ๒) ให้ความรู้พื้นฐาน ๓) ให้เครื่องมือแสวงหาความรู้เพิ่ม ๔) สร้างเครือข่ายกับแหล่งเรียนรู้อื่น ผู้อำนวยความสะดวก ผู้เรียน มีความสามารถในการเรียนรู้ได้ด้วยตนเองและอยากเรียนรู้ บอกหรือวิเคราะห์ความต้องการในการเรียนรู้ของตน เลือกวิธีการเรียนตามวิถีชีวิตของตนเอง ผู้เรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ เรียนรู้ตามวิถีชีวิต วิถีธรรมชาติ วิถีชุมชน ที่หลากหลาย (ของใครของมัน) เรียนรู้ร่วมกันกับผู้จัด สามารถสร้างเรียนรู้ตามอัธยาศัย ไม่มีข้อจำกัด เปิดกว้าง ทุกแบบ/ทุกอย่าง เกิดจากการวางแผนร่วมกันระหว่างผู้จัดกับผู้เรียน หรือของผู้เรียนเอง ภาคีเครือข่าย

15 การพัฒนาระบบการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย
ผู้เรียน/ผู้รับบริการ กระบวนการ แหล่งความรู้ องค์ความรู้ สร้างแรงจูงใจ - พัฒนาทักษะ การเรียนรู้ด้วยตนเอง - พัฒนารูปแบบ หรือกระบวนการ ในการส่งเสริม ความรู้ หลากหลาย และเหมาะสม พัฒนาระบบ เทคโนโลยี สารสนเทศ - สร้างความตระหนักในการเพิ่มคุณค่าขององค์กรด้านส่งเสริมการเรียนรู้ - ยกย่อง ชมเชย - จัดทำระบบ เครือข่ายแหล่งความรู้ - แลกเปลี่ยน เรียนรู้ประสบการณ์ - ศึกษา วิจัย แรงจูงใจ ที่ทำให้แหล่ง ความรู้จัดและ ส่งเสริมการ บริการความรู้ - จัดกระบวน การส่งเสริม แลกเปลี่ยน และสร้าง องค์ความรู้

16 การจัดการศึกษา (ตามพรบ.)
การศึกษานอกระบบ ระยะเวลาเรียน/ฝึกอบรมยืดหยุ่น+หลากหลาย ตามสภาพผู้เรียน ผู้เรียน/ นศ.ลงทะเบียน รูปแบบ หลักสูตร วิธีการจัด ความต้องการ +วัตถุประสงค์ที่ชัดเจน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จบหลักสูตร เทียบระดับ การศึกษาตามอัธยาศัย ไม่แน่นอน ตามสภาพ วิถีชีวิต เกิดได้ทุกที่ ทุกเวลา ไร้ขีดจำกัด สิ่งแสดง ข้อมูล หนังสือ สื่อ โปรแกรม ผู้เรียนรู้ ผู้รับบริการ ความต้องการ + ความสนใจ แบบประเมิน ความพึงพอใจ เทียบประสบการณ์

17 ที่เอื้อต่อการเรียนรู้
กระบวนการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย เรียนรู้อย่างไม่เป็นทางการ แหล่งที่ ให้ความรู้ ผู้เรียน เรียนรู้โดยมีผู้จัดกระบวนการ คุณลักษณะ คุณลักษณะ จัดกระบวนการ ส่งเสริมความรู้ - มีองค์ความรู้เฉพาะ มีภารกิจหลักของตนเอง - มีระบบสารสนเทศในการสื่อสาร มีหรือไม่มีระบบจัดการความรู้ ขององค์กร - มีหรือไม่มีระบบบริการความรู้ ทักษะการเรียนรู้ ด้วยตนเอง กำหนดความ ต้องการ เป้าหมาย วิธีเรียนประเมินผล - จัดกระบวนการ ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ อย่างหลากหลาย

18 ประเด็น/หัวข้อในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
เป้าหมาย/หลักการ ผู้เรียน หรือ ผู้รับบริการ ครู/ผู้อำนวยความสะดวก วิธีเรียน กระบวนการเรียนรู้ กิจกรรม ใช้อะไร สื่อ? สิ่งอำนวยการเรียนรู้/ตัวช่วย หลักสูตร โปรแกรม การประเมินผล

19 ประเด็นที่เกี่ยวกับ การจัดการศึกษาตามอัธยาศัย
เป้าหมาย/หลักการ : การส่งเสริมและสนับสนุน... - (ก) การเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ที่สอดคล้องกับความสนใจ และวิถีชีวิตของผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมาย - (ข) การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ให้มีความหลากหลายทั้งส่วนที่เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่น และส่วนที่นำเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ม. ๖ (๒) และ – ผู้เรียนได้รับความรู้และทักษะพื้นฐานในการแสวงหาความรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต - ผู้เรียนได้เรียนรู้สาระที่สอดคล้องกับความสนใจและความจำเป็นในการยกระดับคุณภาพชีวิต ทั้งในด้านการเมืองเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม - ผู้เรียนสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์และเทียบโอนผลการเรียนกับการศึกษาในระบบและการศึกษานอกระบบ ม ๘ (๑-๓)

20 2. ผู้เรียน หรือ ผู้รับบริการ
-บุคคลทั่วไป -คนที่มีความพร้อมและมี ปัญหาที่ต้องการการเรียนรู้ 3. ครู/ผู้อำนวยความสะดวก -ภูมิปัญญา - ผู้รู้

21 - เรียนตามสภาพจริง “ครูพัก ลักจำ” - ฝึกปฏิบัติจริง (ลองผิด-ลองถูก)
4. วิธีเรียน กระบวนการเรียนรู้ - เรียนรู้ร่วมกัน - เรียนตามสภาพจริง “ครูพัก ลักจำ” - ฝึกปฏิบัติจริง (ลองผิด-ลองถูก) - เครือข่ายการเรียนรู้ - จัดตั้งแหล่งเรียนรู้ - จัดรูปแบบการเรียนรู้ - ศูนยฺบริการเพื่อการเรียนรู้ - พบผู้รู้/ดูคนอื่น - สืบค้นจากสื่อ - C&D หมายเหตุ: วิธีการเรียนรู้กำหนด/ออกแบบโดยผู้เรียนตามความสนใจ/โอกาส/ศักยภาพ/ความต้องการ รูปแบบที่เสนออิง กศ.นอกระบบเป็นส่วนใหญ่ แต่เป็นการเรียนรู้ตามอัธยาศัย

22 5. กิจกรรม ออกแบบตามความต้องการของผู้เรียน 6. ใช้อะไร สื่อ? สิ่งอำนวยการเรียนรู้/ตัวช่วย -สื่อ หนังสือ ที่ควรเพิ่มและส่งเสริมให้คนอ่าน 7. หลักสูตร โปรแกรม - หลักสูตรแบบที่ไม่เป็นหลักสูตร -เป็นเนื้อหาที่ผู้เรียนเลือกได้เอง (หญ้าที่วัวเลือกกิน) ทำอย่างไรจึงจะจูงใจวัวให้มากินในแปลงที่ เราปลูก) ในกรณีมีสิ่งที่ไม่คุ้นเคย วัวจะมากินหญ้าไหม? 8. การประเมินผล - ดูที่วัตถุประสงค์ของผู้เรียน - มี ๒ ส่วน คือ ฝ่ายที่ผู้จัด แทรกแซง จะมีวิธีการวัด ดูที่ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น กับแบบวิถีชีวิตอย่างเดียว วัดที่ความสุข ความพอเพียง ชุมชนพอเพียง ชุมชนสมานฉันท์ เป็นต้น -การประเมินผลในส่วนของผู้จัด จะใช้วิธีการ......

23

24 ร่วมกับผู้เรียนออกแบบ แหล่งเรียนรู้เครือข่าย
บทบาทภารกิจ กศน. ส่งเสริม/สนับสนุน พัฒนาผู้จัด นักจัดการศึกษา ตามอัธยาศัย ร่วมกับผู้เรียนออกแบบ กระบวนการเรียนรู้ เป็นผู้จัด กศน. นักจัดการความรู้ ส่งเสริม/สนับสนุน แหล่งเรียนรู้เครือข่าย Promoter พัฒนาแหล่งเรียนรู้ ของกศน.


ดาวน์โหลด ppt การศึกษาตามอัธยาศัย ประสบการณ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google