ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยPetch Suppamongkon ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การดำเนินงานโครงการ การพัฒนาวิชาชีพครูวิทยาศาสตร์ระดับประถมศึกษาเพื่อส่งเสริมกิจกรรมการเรียนรู้ที่สะท้อนธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Elementary Science Teacher Professional Development to enhance the Reflection of Nature of Science and Technology Learning Activity) สถาบันวิทยาศาสตร์ สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
3
ที่มาและความสำคัญ การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ ในระดับประถมศึกษาไม่ได้ สะท้อนลักษณะสำคัญของ วิทยาศาสตร์ การเรียนการ สอนจึงไม่ต่างจาก วิชาอื่น ๆ เช่น ภาษาไทย สังคม ครูประถมส่วนใหญ่ไม่จบ วิทยาศาสตร์
4
ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์จะช่วยยกระดับผลสัมฤทธิ์ได้อย่างไร
ผู้สอน*** – จัดการเรียนการสอนที่เน้น ลักษณะสำคัญของวิทยาศาสตร์ที่แท้จริง ตามที่วิทยาศาสตร์เป็น (Nature of Science –NOS) ผู้เรียน – ผ่านประสบการณ์การเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ที่แท้จริงตามที่ครูออกแบบ และจัดประสบการณ์ การวัดและประเมินผล – วัดผลและ ประเมินผลตามลักษณะสำคัญของ วิทยาศาสตร์ เช่น PISA TIMSS
6
ประเด็นธรรมชาติของวิทยาศาสตร์
๑. ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ต้องอาศัย หลักฐาน ๒. ความรู้ทางวิทยาศาสตร์สามารถ เปลี่ยนแปลงได้ ๓. กฎและทฤษฎีเป็นความรู้ทาง วิทยาศาสตร์ที่แตกต่างกัน ๔. การศึกษาหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มี หลากหลายวิธี ๕. การหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มีทั้งการ สังเกตและการลงข้อสรุป ๖. การทำงานทางวิทยาศาสตร์ต้องอาศัย ความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ ๗. วิทยาศาสตร์เป็นกิจกรรมอย่างหนึ่งของ มนุษย์ซึ่งได้รับผลกระทบจาก ประสบการณ์ ความเชื่อ และมุมมอง ๘. วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคมและ วัฒนธรรมจะส่งผลกระทบซึ่งกันและกัน
7
เอกสารประกอบการดำเนินกิจกรรม
คู่มือการดำเนินโครงการ คู่มือการอบรมเชิงปฏิบัติการ ( 2 บทความ 13 แผนการอบรม แหล่งเรียนรู้เพิ่มเติม Bibliography รายชื่อนักวิจัยที่ ทำงานเกี่ยวกับ Nature of Science) แบบบันทึกกิจกรรมการอบรม เชิงปฏิบัติการ
9
ภาพตัวอย่างกิจกรรม การอบรมเชิงปฏิบัติการ วันที่ 4 สิงหาคม 2555
ครูประถมศึกษา (กลุ่ม KM สนก.)
18
อุปกรณ์ที่ใช้ในกิจกรรม
22
กรอบการดำเนินงานโครงการ
23
กรอบการดำเนินงาน วันที่ 23-26 กรกฎาคม 2555
ระดมความคิดเกี่ยวกับการพัฒนา หลักสูตรอบรมครูและหารูปแบบการ พัฒนาวิชาชีพครูอย่างต่อเนื่อง เพื่อขยายผล ให้เกิดผลกระทบใน วงกว้างในครูระดับประถม โดยเฉพาะครูที่มีผลการประเมิน กลุ่มต้น วางโครงร่างหลักสูตรการอบรมจาก กิจกรรมและเนื้อหา ที่เป็นผลจาก การวิจัย การศึกษาเอกสาร การ ทำงานของอาจารย์ นักวิจัย ครู และศึกษานิเทศก์
24
กรอบการดำเนินงาน วันที่ 23-26 กรกฎาคม 2555
ศึกษาตัวชี้วัดสาระที่ 1-8 ระดับชั้น ประถมศึกษา เพื่อสกัดเอาเนื้อหาที่มี ปัญหา สอนยาก นักเรียนเกิด แนวคิดที่คลาดเคลื่อน เพื่อใช้การ เรียนการสอน ที่เน้นธรรมชาติของ วิทยาศาสตร์เข้าไปช่วยแก้ปัญหา โดยใช้ เอกสารงานวิจัย คู่มือ ผล การค้นพบ และความสอดคล้องกับ หนังสือเรียน สสวท. (แยกกลุ่มตาม สาระ ว.1-2, ว.3, ว.4-5 ,ว.6, ว.7) พัฒนาเล่มหลักสูตรและคู่มือการอบรม เชิงปฏิบัติการ เพื่อนำไปเสนอ ผู้เชี่ยวชาญตรวจและปรับรูปแบบ เพื่อประชุมพิจารณารอบที่ 2
25
กรอบการดำเนินงาน วันที่ 23-26 กรกฎาคม 2555
วางแผนการดำเนินงานของ โครงการ กำหนดงบประมาณ จำนวนคน จำนวนครั้งที่อบรม และการวิจัยพัฒนา วางแผนและออกแบบการขยายผล นิเทศติดตาม วางแผนดำเนินการในระยะที่ 2 ปีงบประมาณ 2556 วางแผนดำเนินการนิเทศติดตาม
26
กรอบการดำเนินงาน วันที่ 23-26 กรกฎาคม 2555
จัดทำหลักสูตรอบรมในรอบที่ 1 เพื่อศึกษา ความต้องการ สมรรถนะครูและรูปแบบการอบรม (ได้รูปเล่ม จัดรายการอุปกรณ์ กำหนดเวลา คน และ งบประมาณที่ใช้) สร้างเครื่องมือเพื่อศึกษา ความ ต้องการและสมรรถนะของครูใน การใช้ ICT และผลตอบรับจาก การอบรมเชิงปฏิบัติการ เพื่อ นำไปปรับปรุงและออกแบบ หลักสูตรที่เหมาะสมและตรงกับ ความต้องการของครู
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.