งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เปิดเทอมใหม่ เด็กไทยปลอดภัยจากโรคติดต่อ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เปิดเทอมใหม่ เด็กไทยปลอดภัยจากโรคติดต่อ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เปิดเทอมใหม่ เด็กไทยปลอดภัยจากโรคติดต่อ

2 รวมพลังเอาชนะ ไข้เลือดออก
นายแพทย์คำนวณ อึ้งชูศักดิ์ ผู้ทรงคุณวุฒิกรมควบคุมโรค รวมพลังเอาชนะ ไข้เลือดออก

3 คาดการณ์ ๒๕๕๖ ป่วย ๑๕๐,๐๐๐ ตาย ๑๕๐

4 เราพ่ายแพ้ในสองยกแรก เพราะอะไร?
เราพ่ายแพ้ในสองยกแรก เพราะอะไร? เสนอครม.12 มีค. ประชุมกระทรวงต่างๆ 1 มีค. เปิดภาคเรียน 17พค เปิด war room 1 กพ แหล่งข้อมูล : รายงาน 506 สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค 4 4

5 อัตราป่วย โรคไข้เลือดออกรายอำเภอ ประเทศไทย ปี 2556
อัตราป่วยสะสมตั้งแต่ต้นปี (วันที่ 1 ม.ค. – 23 เม.ย. 56) อัตราป่วย 4 สัปดาห์ล่าสุด (วันที่ 27 มี.ค. – 23 เม.ย. 56) มีรายงานผู้ป่วยอยู่ทุกจังหวัด ผลัดเปลี่ยนอำเภอ ตามการเดินทางของผู้ป่วยและยุง พื้นที่ที่มีผู้ป่วยต่อเนื่องตั้งแต่ต้นปีคือ แทบทุกจังหวัดของภาคใต้ แทบทุกจังหวัดของภาคกลาง ภาคเหนือตอนล่าง ภาคตอ./น ตอนล่าง และตอนบน

6 ร้อยละ 90 ของชุมชน มีค่าดัชนีลูกน้ำ มากกว่า 10
ค่า ดัชนีลูกน้ำยุง HI ปี 2556 จังหวัด กุมภาพันธ์ เมษายน HI_MIN HI_MAX อำเภอเมือง อำเภอข้างเคียง นนทบุรี 20 47.15 53.34 40.98 ปทุมธานี 28.7 53.33 36.67 พระนครศรีอยุธยา 15.45 33.33 38.33 กรุงเทพมหานคร 26.67 56.67 นครนายก 13.33 11.67 ลพบุรี 18 - 6.67 15.28 สระบุรี 36 25 สิงห์บุรี 5 อ่างทอง 11 13.34 จันทบุรี 9 27 23.33 ฉะเชิงเทรา 17 40 36.37 61.67 ชลบุรี 13.86 42.86 ตราด 58 50 23.34 ปราจีนบุรี 15.56 18.34 ระยอง 20.00 53.00 สมุทรปราการ 24 28.34 สระแก้ว 4 26 28.89 32.50 กาญจนบุรี 31 46 28.3 นครปฐม 42 ประจวบคีรีขันธ์ 27.33 40.67 เพชรบุรี 8.67 11.33 ราชบุรี 16.67 สมุทรสงคราม 18.33 30 สมุทรสาคร 10 29 สุพรรณบุรี 27.67 ชัยภูมิ 6.33 8.33 นครราชสีมา 7.33 10.67 บุรีรัมย์ 9.67 35 สุรินทร์ 3.67 15 43.33 กาฬสินธุ์ 2.67 26.00 ขอนแก่น 14.33 3.33 มหาสารคาม 7 20.33 ร้อยเอ็ด บึงกาฬ เลย 24.67 หนองคาย 10.33 หนองบัวลำภู 15.33 21.00 อุดรธานี 15.67 16.66 จังหวัด กุมภาพันธ์ เมษายน HI_MIN HI_MAX อำเภอเมือง อำเภอข้างเคียง นครพนม 11.00 17.00 10 5 สกลนคร 8.5 21.5 16.67 มุกดาหาร 6 11.5 26.67 ยโสธร 5.88 14 36.67 26.66 ศรีสะเกษ 13.39 38.00 14.56 อำนาจเจริญ 26 15 อุบลราชธานี 9.33 18.33 30 13.33 กำแพงเพชร 30.33 46.67 39.5 ชัยนาท นครสวรรค์ 28 - 7.89 47.5 พิจิตร 56.67 43.33 อุทัยธานี 22.67 44.33 20 ตาก 22.5 8.35 พิษณุโลก 62.5 เพชรบูรณ์ 26.00 45.00 6.67 สุโขทัย อุตรดิตถ์ 1.12 5.00 เชียงราย 2.75 21 เชียงใหม่ 13 29.5 33.33 น่าน 12.87 3.33 พะเยา 3.5 23.33 แพร่ 4.17 14.08 1.11 แม่ฮ่องสอน 3.37 2.94 19.05 ลำปาง 22.38 18.89 ลำพูน 16.5 40 กระบี่ 7.67 6.66 ชุมพร 23.39 นครศรีธรรมราช 9.09 16.33 พังงา 14.62 ภูเก็ต 31.66 ระนอง 8 33.67 33.3 19.8 สุราษฎร์ธานี 27 25 ตรัง 19.62 46.39 นราธิวาส 4.67 ปัตตานี 12 พัทลุง 20.67 ยะลา 22 สงขลา 7 12.07 19.08 12.33 สตูล ร้อยละ 90 ของชุมชน มีค่าดัชนีลูกน้ำ มากกว่า 10 ความตระหนักของปัญหาไข้เลือดออกในชุมชนมีน้อย จังหวัดที่มีรายงานผู้ป่วยในช่วง สัปดาห์ที่15-16 มากกว่า 2 อำเภอ มี 18 จังหวัด(แถบสีเหลือง)

7 ผู้เสียชีวิตโรคไข้เลือดออก (1มค.-20 เมย.56)
จำนวนผู้เสียชีวิต 28 ราย - เพศชาย 15 ราย หญิง 13 ราย อายุ < 15 ปี = 17 ราย > 15ปี = 11 ราย ที่อยู่ ภาคกลาง 5 ราย ภาคเหนือ 3 ราย ภาคตะวันออกฯ 7 ราย ภาคใต้ 12 ราย และกทม. 1 ราย -วันเริ่มป่วยถึงวันที่วินิจฉัย = 4 วัน (1-10วัน) -วันเริ่มป่วยถึงวันที่เสียชีวิต = 6 วัน (3-27 วัน)

8 พยากรณ์จำนวนผู้ป่วยรายใหม่จำแนกตามกลุ่มอายุ
ลดการป่วยการตายในนักเรียน ป้องกันไม่ให้นักเรียนป่วย 5 หมื่นคน ลดการตายได้อย่างน้อย ๕๐ คน 0 - 5 ปี ปี ปี แหล่งข้อมูล สำนักระบาดวิทยา พยากรณ์จากข้อมูล506

9 รวมพลังเอาชนะไข้เลือดออก
จัดการให้โรงเรียนให้ปลอดลูกน้ำ ทำบ้านนักเรียนให้ปลอดลูกน้ำ รีบวินิจฉัยรักษา – สำรวจเด็กทุกวัน ลงมือทำ ก่อนเปิดเรียน ทำทุกสัปดาห์ การมีส่วนร่วมของ โรงเรียน นักเรียน ชุมชน หน่วยงานรัฐ

10 โรคไข้หวัดนกสายพันธุ์ H7N9
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

11 สถานการณ์ปัจจุบัน โรคไข้หวัดนกสายพันธุ์ H7N9
องค์การอนามัยโลกรายงานจำนวนผู้ป่วยยืนยัน ณ วันที่ 2 พฤษภาคม 2556 ทั้งสิ้นจำนวน 128 ราย เสียชีวิต 26 ราย (อัตราป่วยตาย = 20%) พบผู้ป่วยใน 11 พื้นที่ ได้แก่ ฝูเจี้ยน เจียงซี หูหนาน เซี่ยงไฮ้ เจียงซู เจ้อเจียง อันฮุย เหอหนาน ปักกิ่ง ซานตง และไต้หวัน ยังไม่พบหลักฐานว่ามีการติดต่อจากคนสู่คน (ได้อย่างต่อเนื่อง และในวงกว้าง) อาจมีการติดต่อจากคนสู่คนในวงจำกัด เช่น ในครอบครัว ข้อมูลจากองค์การโรคระบาดสัตว์ระหว่างประเทศตรวจพบเชื้อในสัตว์ (เป็ด ไก่ นกพิราบ) จากมณฑลเจียงซู มณฑลเจ้อเจียง มณฑลอันฮุย เซี่ยงไฮ้ และเหอหนาน ประเทศไทย ยังไม่มีรายงานการตรวจพบโรคไข้หวัดนกสายพันธุ์ H7N9 ทั้งในคนและในสัตว์ นกธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ขณะนี้แม้ยังไม่พบ หลักฐานการติดต่อจากคนสู่คนในวงกว้าง แต่อาจมีการติดต่อจากคนสู่คนในวงจำกัด เช่น คนในครอบครัวเดียวกันได้

12 แผนที่แสดงพื้นที่ที่พบผู้ป่วยยืนยันโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ H7N9 ประเทศจีน เดือนกุมภาพันธ์ ถึง 1 พฤษภาคม 2556 (N=126)

13 การประเมินความเสี่ยงจากองค์การอนามัยโลก
ในปัจจุบันยังไม่มีหลักฐานชัดเจนว่าเชื้อไวรัสมีการติดต่อจากคนสู่คนเป็นวงกว้าง อาจมีการติดต่อจากคนสู่คนในวงจำกัด ในกลุ่มผู้สัมผัสใกล้ชิด เช่น บุคคลในครอบครัวเดียวกัน ยังไม่มีข้อมูลการแพร่กระจายของเชื้อไวรัสไปยังประเทศอื่นๆ มีความเป็นไปได้ที่จะมีผู้ติดเชื้อ (ทั้งที่มีอาการหรือไม่มีอาการ) เดินทางไปยังประเทศต่างๆ ได้ ไม่แนะนำให้ดำเนินการตรวจคัดกรองพิเศษที่ช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศ ไม่แนะนำให้จำกัดการเดินทางหรือการค้าระหว่างประเทศแต่อย่างใด ประเทศต่างๆ ในภูมิภาคเอเชีย รวมทั้งประเทศไทย มีโอกาสจะได้รับเชื้อไข้หวัดนกสายพันธุ์ H7N9 โดยมีความเสี่ยงมากกว่าภูมิภาคอื่นที่อยู่ห่างไกลกว่า

14 จัดการไข้เลือดออกในโรงเรียนอย่างไร
นายแพทย์ วิชัย สติมัย ผู้ทรงคุณวุฒิกรมควบคุมโรค จัดการไข้เลือดออกในโรงเรียนอย่างไร

15 การแพร่เชื้อของไข้เลือดออก
ยุงกัดและดูดเลือดผู้ป่วยที่มีไข้ ซึ่งมีเชื้อไข้เลือดออกในกระแสเลือด ยุงกัดคนแข็งแรงปกติ ปล่อยเชื้อจากต่อมน้ำลายเข้ากระแสเลือด เชื้อไวรัสในตัวยุงเจริญเติบโตเพิ่มจำนวน

16 อาการไข้เลือดออก ไข้สูงเฉียบพลันและสูงลอย 2-7 วัน ส่วนใหญ่สูงเกิน 38.5 เซลเซียส ปวดเมื่อยตามตัว ปวดหัว  ปวดหลัง หน้าแดง ซึม คลื่นไส้ เบื่ออาหาร มักไม่มีไอ จาม น้ำมูกไหล ซึ่งจะช่วยแยกจากไข้หวัดใหญ่ได้บ้าง

17 อาการไข้เลือดออกผู้ป่วยอาการรุนแรง
 มีเลือดออกผิดปกติ เช่น จุดเลือดออกสีแดงที่ผิวหนังตามตัว แขน ขา อาจมีอาเจียนเป็นเลือด หรืออุจจาระเป็นสีดำ  ตับโต พบได้ในวันที่ 3 หรือ 4 นับจากเริ่มป่วย ตับจะนุ่มและกดเจ็บ  ตัวเย็น ช็อก ถึงเสียชีวิตได้ (ช็อก หมายถึง การไหลเวียนโลหิตล้มเหลว)

18 การรักษาโรคไข้เลือดออก
หากบุตรหลานมีอาการสงสัยว่าเป็นโรคไข้เลือดออก ต้องรีบไปโรงพยาบาลทันที “ห้ามให้ยาลดไข้ แอสไพริน เป็นอันขาด เพราะจะไปทำให้มีอาการเลือดออกเพิ่มมากขึ้น”

19 การป้องกันและควบคุมโรค
ป้องกันยุงกัด กำจัดลูกน้ำ ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์

20 ยุงพาหะนำโรคไข้เลือดออก
ยุงลายบ้าน ยุงลายสวน

21 วงจรชีวิตของยุงลาย ไข่ยุงลาย ยุงลาย ลูกน้ำ ตัวโม่ง ใช้เวลาย่อยเลือด
1-2 วัน ใช้เวลาย่อยเลือด 4-5 วัน ลูกน้ำ 7-10 วัน ยุงลาย ตัวโม่ง 1-2 วัน อายุขัยของยุง ตัวผู้ 1 สัปดาห์ ตัวเมีย 4-6 สัปดาห์

22 การควบคุมและกำจัดลูกน้ำยุงลาย
หรือ ปิดปากโอ่งด้วยผ้า เทน้ำที่ขังอยู่ทุก 7 วัน ปิดฝาให้มิดชิด ปลูกพืชไล่ยุง ใส่เกลือ 1-2 ช้อนชา เปลี่ยนน้ำทุก 7 วัน

23 การควบคุมและกำจัดลูกน้ำยุงลาย
บ่อซีเมนต์เก็บน้ำในห้องน้ำ ห้องส้วม ใส่ทรายกำจัดลูกน้ำ

24 การควบคุมและกำจัดลูกน้ำยุงลาย
สบู่เหลวหรือน้ำยาล้างจานผสมน้ำสัดส่วน 1 ต่อ 4 พ่นยุงตัวเต็มวัย น้ำมันตะไคร้หอม ผลิตภัณฑ์ของชุมชน

25

26 การเตรียมการก่อนเปิดเทอม
ก่อนเปิดภาคเรียนควรมีการกำจัดขยะและภาชนะเหลือใช้ที่จะ กลายเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุง เช่น ประป๋อง ยางรถยนต์ กล่องโฟม ควรมีการขัดทำความสะอาดภาชนะที่จะใช้บรรจุน้ำ เช่น แท๊งค์เก็บ น้ำใช้ แจกัน ถาดรองน้ำตู้เย็น ซึ่งอาจมีไข่ลูกน้ำยุงลายเกาะอยู่ ภาชนะบรรจุน้ำขนาดเล็ก เช่น ขารองตู้ ควรใส่สารที่สามารถฆ่า ลูกน้ำยุงลาย เช่น เกลือ น้ำส้มสายชู กำจัดยุงตัวเต็มวัย โดยใช้น้ำยาล้างจานผสมน้ำ หรือกับดักยุง ฆ่ายุง ทำความสะอาดพื้นผิวที่มือสัมผัสบ่อย เช่น ลูกบิดประตู ราวบันได แป้นคอมพิวเตอร์ อย่างสม่ำเสมอ เพื่อลดการแพร่เชื้อจากมือเด็ก ป่วยเป็นไข้หวัดใหญ่ไปยังเด็กอื่น

27 การเตรียมการก่อนเปิดเทอม ต่อ
จัดหาเจลล้างมือวางในจุดที่มีการใช้งานร่วมกัน เช่น ห้องเรียนรวม หน้าลิฟท์ ลูกบิดประตู ควรมีการคัดกรองหรือวัดไข้เด็ก หากพบว่าเด็กนักเรียนมีไข้ร่วมกับ ไอหรือเจ็บคอให้สวมหน้ากากอนามัย แต่หากมีเพียงอาการไข้อย่าง เดียว ให้สงสัยอาจจะเป็นไข้เลือดออกควรแนะนำให้ทายากันยุง เพื่อลดการแพร่เชื้อจากผู้ป่วยไปสู่ยุงและยุงไปกัดเด็กคนอื่น จัดตั้งและสร้างกลุ่มเด็กอาสาสมัครเพื่อดำเนินการสำรวจแหล่ง เพาะพันธุ์ลูกน้ำ และแจ้งการป่วยของเพื่อนนักเรียน ควรปลูกตะไคร้หอม เพื่อนำใช้สำหรับกันยุงในห้องเรียน จัดเตรียมความรู้ให้ครูอนามัย เรื่อง ไข้เลือดออก ไข้หวัดใหญ่

28 ทำดีแล้วได้อะไร งาน ASEAN DENGUE DAY 15 มิถุนายน 2556
ไข้เลือดออก เป็นเกณฑ์ในการประกวดโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร เด็กนักเรียนไม่ป่วย ไม่ขาดเรียน และมีความตระหนักในเรื่องการป้องกันตนเองและชุมชนมากขึ้น ชุมชนปลอดภัยมากขึ้น

29 ขอบคุณครับ


ดาวน์โหลด ppt เปิดเทอมใหม่ เด็กไทยปลอดภัยจากโรคติดต่อ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google