งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Local  Regional  National  International

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Local  Regional  National  International"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Local  Regional  National  International
การนำเสนอวิสัยทัศน์ และ แนวทางการบริหารมหาวิทยาลัยขอนแก่น ใน 4 ปีข้างหน้า 2553 International 2549 National KKU Running Up Local  Regional  National  International (ASEAN) 2545 Regional 2507 สุมนต์ สกลไชย พฤศจิกายน 2549 Local

2 มหาวิทยาลัยขอนแก่นในปีที่ 42
มหาวิทยาลัยแห่งแรกของอีสาน มหาวิทยาลัยชั้นนำของภูมิภาค มหาวิทยาลัยวิจัย มหาวิทยาลัยชั้นนำของประเทศ

3 ศักยภาพของมหาวิทยาลัยขอนแก่น ในปัจจุบัน(พ.ศ. 2549)
คณะวิชา/หน่วยงาน ผลิตบัณฑิต 20 หน่วยงาน หลักสูตร 303 หลักสูตร เป็นบัณฑิตศึกษา 207 หลักสูตร บุคลากร 8,575 คน อาจารย์ 1,904 คน มีวุฒิปริญญาเอก 720 คน (38%)

4 ศักยภาพของมหาวิทยาลัยขอนแก่น ในปัจจุบัน(พ.ศ. 2549)
งบประมาณ 5,455 ล้านบาท โดยเป็นงบประมาณแผ่นดิน 52% และเงินรายได้ 48% นักศึกษาทั้งหมด 27,449 คนเป็นนักศึกษา บัณฑิตศึกษาประมาณ 7,000 คน (25%) นักศึกษาใหม่ 8,200 คน ระดับบัณฑิตศึกษา 2,000 คน (24%)

5 มม จฬ มช มข มก มทส มจธ มอ ม.อบ ม.มก ม.มส มศว
สถานภาพของมหาวิทยาลัยขอนแก่นเปรียบเทียบกับมหาวิทยาลัยอื่นในประเทศ ผลการจัดอันดับมหาวิทยาลัยไทยปี 2548 โดย ส.ก.อ. มม มข : ดีเลิศ ด้านการเรียนการสอน : ดีเยี่ยม ด้านการวิจัย จฬ มช 75 มข มก มทส 70 มจธ มอ ม.อบ ด้านการเรียนการสอน (100 คะแนน) ม.มก 65 ม.มส มศว 60 (100 คะแนน) ด้านการวิจัย 55 65 70 75

6 สถานภาพของมหาวิทยาลัยไทยในระดับนานาชาติ
ผลการจัดกลุ่มอันดับมหาวิทยาลัยโลกโดย Times 101st – 200th 51st – 100th 1st – 50th Harvard (USA) Oxford (UK) Tokyo (Japan) Aus Un (Australia) Beijing (China) NUS, (Singapore) Australia World Class USA EU UK Japan China Belgium Germany Denmark France ASEAN (3) Netherland China Malaysia (2) KKU

7 การกำหนดเป้าหมายใน 4 ปีข้างหน้า
นโยบาย/พันธกิจ ของสภามหาวิทยาลัย ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง กับสถาบันอุดมศึกษา แนวโน้ม ในอนาคต มข. 2549 มข. ใน 4 ปี ข้างหน้า สถานภาพ มข. ปัจจุบัน สถานภาพของอุดมศึกษาในระดับนานาชาติ ความคาดหวัง ของบุคลากร

8 เป้าหมายใน 4 ปีข้างหน้า
มหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นมหาวิทยาลัยแห่งการวิจัยในกลุ่มดีเลิศของประเทศ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำในภูมิภาคอาเซียน (1 ใน 50 อันดับของมหาวิทยาลัยในภูมิภาคอาเซียน)

9 จุดอ่อนและปัญหาสำคัญ
ภาพลักษณ์และชื่อเสียง วัฒนธรรมองค์กร โครงสร้างองค์กร กระบวนทัศน์และค่านิยมบุคลากร การบูรณาการ 4 ภารกิจยังไม่ชัดเจน กระบวนการให้ชุมชนมีส่วนร่วม ระบบบริหารจัดการอิงกับระบบราชการ ความจำกัดของทรัพยากร

10 และทำนุบำรุงศิลปะ วัฒนธรรม
เป้าประสงค์องค์กร KKU’s Corporate Goals การผลิตบัณฑิต มหาวิทยาลัย แห่งการวิจัย มหาวิทยาลัย แห่งคุณภาพ มหาวิทยาลัย ชั้นนำ ในอาเซียน การวิจัย การบริหาร จัดการที่ดี มหาวิทยาลัยของ ชุมชนและสังคม มหาวิทยาลัย แห่งการเรียนรู้ การบริการวิชาการ และทำนุบำรุงศิลปะ วัฒนธรรม

11 เป้าหมายหลักด้านการผลิตบัณฑิต
มีบัณฑิตมีคุณลักษณะเฉพาะ โดดเด่น ที่เป็นเอกลักษณ์ ของ มข. ตรงกับความต้องการของสังคม (Graduate’s identity) มีหลักสูตรที่ส่งเสริมการวิจัยระดับปริญญาเอก และความเป็นนานาชาติ (Study Programs enhancing research and international) เป้าหมายหลักด้านการผลิตบัณฑิต มีอาจารย์คุณวุฒิปริญญาเอกและตำแหน่งทางวิชาการ และมีศักยภาพสูงด้านการสอนและวิจัย (High competencies & qualified faculty staff) การจัดการศึกษาเพื่อปวงชนสู่กลุ่มเป้าหมายที่หลากหลาย (Education for all) โดยผ่าน 56 ตัวชี้วัด 50 กลยุทธ์ 60 โครงการ

12 ค่าเป้าหมายของแผนใน 4 ปีข้างหน้า
ด้านการผลิตบัณฑิต 2549 2553 นศ.ปริญญาตรี 20,000 22,000 10 % นศ.บัณฑิตศึกษา 7,000 9,000 30 % นักศึกษาต่างชาติ 128 250 100 % หลักสูตรนานาชาติ 35 70 100 %

13 ค่าเป้าหมายของแผนใน 4 ปีข้างหน้า
ด้านการผลิตบัณฑิต 2549 2553 คณาจารย์วุฒิปริญญาเอก 720 1,000 (37 %) (50 %) คณาจารย์ที่มีตำแหน่ง ทางวิชาการ 1,130 1,500 (60 %) (75 %)

14 โดยผ่าน 15 ตัวชี้วัด 17 กลยุทธ์ 30 โครงการ

15 ค่าเป้าหมายของแผนใน 4 ปีข้างหน้า
ด้านการวิจัย เพิ่มขึ้นจากปี 2549 2553 งบประมาณและทุนสนับสนุนการวิจัย 100 % จำนวนผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ ต่อจำนวนอาจารย์ 100 % จำนวนงานวิจัยที่ได้รับการจดทะเบียน ทรัพย์สินทางปัญญา การจดลิขสิทธิ์ ผลงานสร้างสรรค์และการผลิตเชิงพาณิชย์ 100 %

16 เป้าหมายหลักด้านการบริการวิชาการ ทำนุบำรุงศิลปะ วัฒนธรรม
ผลงานการบริการวิชาการที่มีผลกระทบต่อการแก้ปัญหาและการพัฒนาสังคมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (Impact on community) ชุมชนต้นแบบการพัฒนาโดยใช้หลักการมีส่วนร่วมและ หลักเศรษฐกิจพอเพียง (Community model) เป้าหมายหลักด้านการบริการวิชาการ ทำนุบำรุงศิลปะ วัฒนธรรม ผลงานการบริการวิชาการที่เกิดจากความร่วมมือของชุมชน ภาครัฐ และภาคเอกชน (Community participation) ผลงานด้านศิลปะ วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกิดจาก การบูรณาการการเรียนการสอน การวิจัยและการบริการวิชาการ และการมีส่วนร่วมของผู้เชี่ยวชาญของชุมชน (Community integration) โดยผ่าน 16 ตัวชี้วัด 23 กลยุทธ์ 9 โครงการ

17 ค่าเป้าหมายของแผนใน 4 ปีข้างหน้า
ด้านการบริการวิชาการและทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม มีชุมชนต้นแบบของการถ่ายทอดผลงานวิจัยสู่การปฏิบัติให้เกิดประโยชน์แก่การพัฒนาชุมชนบนพื้นฐานของเศรษฐกิจพอเพียง ค่านิยมและศิลปวัฒนธรรมของท้องถิ่น อย่างน้อย 2 ชุมชน

18 เป้าหมายหลักด้านการบริหารจัดการองค์กรที่ดี
ได้รับการรับรองคุณภาพและการจัดอันดับ ในระดับชาติ และระดับสากล (Accreditation & ranking) มีภาพลักษณ์ที่ดีและชื่อเสียงเป็นที่ยอมรับ ในระดับชาติและระดับนานาชาติ (Image & reputation) มีโครงสร้างองค์กรและระบบบริหารที่เอื้อต่อการเปลี่ยนแปลง (Flexible & adaptive structure & systems to change) เป้าหมายหลักด้านการบริหารจัดการองค์กรที่ดี เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ที่สามารถรองรับ การเปลี่ยนแปลง (Learning organization) มีบุคลากรที่มีศักยภาพ ความสามารถในการปรับตัวรองรับการเปลี่ยนแปลง (Human capital competency) มีการบริหารทรัพย์สินและรายได้เพื่อการพึ่งตนเอง (Self reliance) มีสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดี (Energizing environments) มีวัฒนธรรมการอยู่ร่วมกันแบบเอื้ออาทร มีภูมิคุ้มกันโดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency economy-based immunity) โดยผ่าน 25 ตัวชี้วัด 48 กลยุทธ์ 31 โครงการ มีสารสนเทศที่มีคุณภาพ ใช้ในการตัดสินใจและประเมินสถานการณ์เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง (Information for decision support and forecasting) เป็นองค์กรที่บริหารโดยใช้หลักธรรมาภิบาล (Good governance)

19 เป้าหมายองค์กร จะทำอะไรและอย่างไร 8 ยุทธศาสตร์เฉพาะด้าน 112 ตัวชี้วัด
138 กลยุทธ์ 130 โครงการ เป้าหมายองค์กร การผลิตบัณฑิต มหาวิทยาลัยวิจัย ระดับดีเลิศ ของประเทศ การวิจัย การบริการวิชาการ ทำนุบำรุงศิลปะ วัฒนธรรม การบริหารจัดการองค์กรที่ดี

20 วิสัยทัศน์มหาวิทยาลัยขอนแก่น (2550-2553)
มหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นสถาบันอุดมศึกษาชั้นนำของภูมิภาคอาเซียน โดยเป็นมหาวิทยาลัยแห่งการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยแห่งการวิจัย มหาวิทยาลัยแห่งคุณภาพ มหาวิทยาลัยแห่งการพัฒนาชุมชนและประเทศชาติ และเป็นมหาวิทยาลัยที่มีการบริหารจัดการที่ดี

21 วิสัยทัศน์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นเป็นสถาบันอุดมศึกษาชั้นนำของภูมิภาคอาเซียน โดยเป็นมหาวิทยาลัยแห่งการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยแห่งการวิจัย มหาวิทยาลัยแห่งคุณภาพ มหาวิทยาลัยแห่งการพัฒนาชุมชนและประเทศชาติ และเป็นมหาวิทยาลัยที่มีการบริหารจัดการที่ดี มหาวิทยาลัยชั้นนำในกลุ่มอาเซียน มหาวิทยาลัยคุณภาพ มหาวิทยาลัยแห่งการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยแห่งการวิจัย มหาวิทยาลัยของชุมชน รับรองคุณภาพโดย สมศ./PMQA รับรองคุณภาพโดย สมศ./สกอ. รับรองคุณภาพโดย สมศ. มิติประสิทธิผลตามยุทธศาสตร์ Mission Perspective บัณฑิตที่มีคุณภาพตรงตามความต้องการของตลาด ผลงานวิจัยและวิชาการที่เป็นที่ยอมรับและนำไปใช้ประโยชน์ได้ องค์ความรู้และนวัตกรรมที่สามารถเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันและการพึ่งตนเอง ชุมชนได้รับการพัฒนาบนพื้นฐานองค์ความรู้ของมหาวิทยาลัย ผลงานด้านศิลปวัฒนธรรมเป็นที่ประจักษ์ มิติคุณภาพ Customer Perspective บัณฑิตที่จบการศึกษา มีงานที่ดี มีภาพลักษณ์และชื่อเสียงในระดับชั้นนำของประเทศ เป็นแหล่งรวมผลงาน นักวิชาการ ผู้เชี่ยวชาญ และนักวิจัยที่เป็นเลิศ มหาวิทยาลัยเป็นส่วนหนึ่งของชุมชน มีบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ และคุณภาพชีวิตที่ดี มิติประสิทธิภาพ Internal Perspective พัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนที่มีคุณภาพและมาตรฐานตอบสนองต่อความต้องการของตลาด พัฒนาระบบสื่อสารการตลาด และการบริหารจัดการลูกค้า พัฒนาระบบการบริหารงานวิจัยที่มีประสิทธิภาพและคุณภาพ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งแวดล้อม ปรับปรุงกฎระเบียบให้เอื้อต่อการบริหารจัดการบนพื้นฐานของการเปลี่ยนแปลง ระบบการบริหารสินทรัพย์และองค์ความรู้เชิงพาณิชย์เพื่อนำไปสู่การพึ่งตนเอง ระบบบริการวิชาการที่ตอบสนองความต้องการของสังคมบนหลักการของการมีส่วนร่วม มิติการพัฒนาองค์กรและการเรียนรู้ Learning and Growth Perspective สร้างความเข้มแข็งให้กับทุนมนุษย์ สร้างความเข้มแข็งให้กับทุนเทคโนโลยีสารสนเทศและความรู้ สร้างความเข้มแข็งให้กับทุนองค์กร การพัฒนาระบบการบริหารทรัพยากรมนุษย์ การสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้และการทำงานแบบมีส่วนร่วม การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบสารสนเทศ การพัฒนากลยุทธ์และกระบวนการจัดการความรู้ขององค์กร การพัฒนาระบบการบริหารการเปลี่ยนแปลงและการบริหารความเสี่ยง การพัฒนาระบบการประกันและประเมินคุณภาพ

22 ประเด็น ยุทธศาสตร์ 8 ด้าน
1.การบริหารจัดการองค์กร อย่างมีประสิทธิภาพ 19 กลยุทธ์ 2.การผลิตบัณฑิต 17 กลยุทธ์ 3. การพัฒนา นักศึกษา 15 กลยุทธ์ 4. การวิจัย และพัฒนา 5. การบริการ วิชาการ 6. การอนุรักษ์พัฒนา ขนบธรรมเนียมประเพณี 7. การบริหารองค์กร เพื่อรองรับการเปลี่ยน แปลง เพื่อการพัฒนาคุณภาพ 14 กลยุทธ์ 9 กลยุทธ์ 13 กลยุทธ์ 6 กลยุทธ์

23 Community Quality Learning Change Strategic Frameworks Excellence
กรอบแนวคิดเชิงยุทธศาสตร์ Community Quality Excellence Participation Competitiveness Sustainability Sharing Flexibility Learning Change

24 HUMAN RESOURCE DEVELOPMENT
KKU MANAGEMENT MODEL LEADERSHIP HUMAN RESOURCE DEVELOPMENT STRATEGIC MANAGEMENT PROCESS MANAGEMENT CUSTOMER & MARKET FOCUS KNOWLEDGE & INFORMATION PERFORMANCE & RESULTS

25 Performance Management
การนำแผนกลยุทธ์สู่การปฏิบัติ โดยขับเคลื่อนด้วยเป้าหมายสู่ความยั่งยืน (Driving with Clear Targets towards Sustainability) Aligning Empowering Performance Management Culture of Innovation สภามหาวิทยาลัย อธิการบดี Participating Team Working Communicating Culture of Reserch The balanced scorecard approach aligns the organization around the objectived needed to be achievement to deliver the compoanie’s strategy. The balanced scorecard approach then breaks down a high level vision and strategy into sets of objectives that cascade through the organization. This communicates not only the high level vision but also makes clear what each division and person’s role is in delivering on the strategy. Kaplan is very clear that to get the real benefit of the balanced scorecard it has to be rolled out deep into an organization so that it effects the everyday decision making and prioritization of employees The final part of the balanced scorecard approach is the assessment and review process which allow the management to measure and take immediate action should issues arise that threaten the implementation of strategy Culture of Learning

26 จะนำ มข.สู่ความเป็นมหาวิทยาลัยวิจัยชั้นนำในภูมิภาคอาเซียน
จากประสบการณ์การบริหาร 23 ปี ได้นำ มข. สู่สถาบันการศึกษาชั้นนำของประเทศ เส้นทางข้างหน้าจะเป็นเส้นทางที่ยากและท้าทายกว่า ด้วยผลงาน ประสบการณ์ และความต่อเนื่อง ด้วยศักยภาพและพลังศรัทธาต่อองค์กรของเรา 2553 International 2549 National เชื่อมั่นว่า.. จะนำ มข.สู่ความเป็นมหาวิทยาลัยวิจัยชั้นนำในภูมิภาคอาเซียน 2545 Regional 2507 Local

27 แผนกลยุทธ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
พ.ศ

28 ประเด็นยุทธศาสตร์ 8 ด้าน
ประเด็นยุทธศาสตร์ 8 ด้าน 1. การบริหารจัดการองค์กร อย่างมีประสิทธิภาพ 2. การผลิตบัณฑิต ที่มุ่งส่งเสริมศักยภาพนักศึกษาให้เป็นบัณฑิตที่ พึงประสงค์ 3. การพัฒนานักศึกษาที่มุ่งส่งเสริมศักยภาพนักศึกษาให้เป็นบัณฑิตที่ 4. การวิจัยและพัฒนาที่สร้างองค์ความรู้ให้เพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถในการแข่งขัน 5. การบริการวิชาการที่เสริมสร้างการพัฒนาที่ยั่งยืน 6. การอนุรักษ์ พัฒนา ถ่ายทอดและฟื้นฟูขนบธรรมเนียม ประเพณีและวัฒนธรรม ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 7. การบริหารองค์กร เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง 8. การบริหารองค์กร เพื่อการพัฒนาคุณภาพ

29 ประเด็น ยุทธศาสตร์ 8 ด้าน
1.การบริหารจัดการองค์กร อย่างมีประสิทธิภาพ 19 กลยุทธ์ 2.การผลิตบัณฑิต 17 กลยุทธ์ 3. การพัฒนา นักศึกษา 15 กลยุทธ์ 4. การวิจัย และพัฒนา 5. การบริการ วิชาการ 6. การอนุรักษ์พัฒนา ขนบธรรมเนียมประเพณี 7. การบริหารองค์กร เพื่อรองรับการเปลี่ยน แปลง 8. การบริหารองค์กร เพื่อการพัฒนาคุณภาพ 14 กลยุทธ์ 9 กลยุทธ์ 13 กลยุทธ์ 6 กลยุทธ์

30 ประเด็น ยุทธศาสตร์ 8 ด้าน
1.การบริหารจัดการองค์กร อย่างมีประสิทธิภาพ 19 กลยุทธ์ 2.การผลิตบัณฑิต 17 กลยุทธ์ 3. การพัฒนา นักศึกษา 15 กลยุทธ์ 4. การวิจัย และพัฒนา 5. การบริการ วิชาการ 6. การอนุรักษ์พัฒนา ขนบธรรมเนียมประเพณี 7. การบริหารองค์กร เพื่อรองรับการเปลี่ยน แปลง 8. การบริหารองค์กร เพื่อการพัฒนาคุณภาพ 14 กลยุทธ์ 9 กลยุทธ์ 13 กลยุทธ์ 6 กลยุทธ์

31 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : การบริหารจัดการองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ
19 กลยุทธ์ จัดทำแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการทั้งระดับมหาวิทยาลัยและระดับคณะ/หน่วยงาน ติดตามและประเมินผลจัดทำระบบรายงานและนำผลไปปรับปรุง ระบบบริหารงานโดยนำหลักธรรมาภิบาล/หลักประสิทธิภาพ/หลักการพึ่งตนเอง การจัดการความรู้/การป้องกันปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ปรับปรุงและจัดโครงสร้างองค์กรสู่การเป็นมหาวิทยาลัยวิจัย การจัดการความรู้และการประกันคุณภาพ ปรับปรุงให้ระบบข้อมูล งบประมาณที่มุ่งเน้นผลลัพธ์ แผนแม่บทการใช้พื้นที่

32 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : การบริหารจัดการองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ
19 กลยุทธ์ ระบบการจราจรที่จอดรถเพิ่ม/จัดระบบขนส่งมวลชน/การใช้จักรยานและทางเท้า ปรับปรุงระบบสาธารณูปโภคระบบโครงสร้างพื้นฐาน คุ้มครองความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน หอพัก/ที่พัก แผนประหยัดพลังงาน ระบบจูงใจ ความก้าวหน้าของบุคลากร ระบบสวัสดิการและประโยชน์เกื้อกูล แผนพัฒนาบุคลากรในแต่ละสายงาน ระบบการฝึกอบรมเฉพาะด้าน ระบบพี่เลี้ยงและที่ปรึกษา

33 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : การบริหารจัดการองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวอย่างแผนงาน/โครงการหลัก โครงการทบทวนแผนกลยุทธ์การบริหารเชิงรุกเพื่อนำไปสู่การเป็นมหาวิทยาลัยแห่งการวิจัยอย่างเป็นระบบและเป็นรูปธรรม (สภา 1.1) โครงการพัฒนาระบบการบริหารมหาวิทยาลัยทุกด้านให้มีความคล่องตัว มีประสิทธิภาพ และมีธรรมาภิบาล (สภา 1.4, 7.3, 7.4) ปรับปรุงกระบวนงาน และระบบบริหาร เพื่อลดขั้นตอนและระยะเวลาในการปฏิบัติราชการ โครงการปรับโครงสร้างองค์กร และระบบบริหารเพื่อรองรับการเป็นมหาวิทยาลัยแห่ง การวิจัย โครงการราชการใสสะอาดและการป้องกันปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ

34 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : การบริหารจัดการองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวอย่างแผนงาน/โครงการหลัก พัฒนากระบวนการจัดการที่ให้ความสำคัญกับการสื่อสารและความเชื่อมโยงระหว่างกลยุทธ์ระดับมหาวิทยาลัย คณะ วิทยาลัย หน่วยงานและหน่วยปฏิบัติ โดยเปิดโอกาสให้บุคลากรทุกระดับมีส่วนร่วม และมีการใช้ทรัพยากรจากทุกส่วนของ มหาวิทยาลัยให้เกิดประโยชน์สูงสุด (สภา 1.2) ปรับปรุงและพัฒนาระบบสาธารณูปการและโครงสร้างพื้นฐานทางกายภาพ (สภา 1.6, 1.7) พัฒนาและปรับปรุงระบบเครือข่ายข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร (Information - and Telecommunication Network)

35 ประเด็น ยุทธศาสตร์ 8 ด้าน
1.การบริหารจัดการองค์กร อย่างมีประสิทธิภาพ 19 กลยุทธ์ 2.การผลิตบัณฑิต 17 กลยุทธ์ 3. การพัฒนา นักศึกษา 15 กลยุทธ์ 4. การวิจัย และพัฒนา 5. การบริการ วิชาการ 6. การอนุรักษ์พัฒนา ขนบธรรมเนียมประเพณี 7. การบริหารองค์กร เพื่อรองรับการเปลี่ยน แปลง 8. การบริหารองค์กร เพื่อการพัฒนาคุณภาพ 14 กลยุทธ์ 9 กลยุทธ์ 13 กลยุทธ์ 6 กลยุทธ์

36 ปริญญาตรี ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 :
17 กลยุทธ์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 : การผลิตบัณฑิตที่มุ่งส่งเสริมศักยภาพนักศึกษาให้เป็นบัณฑิตที่พึงประสงค์ ปริญญาตรี แผนผลิตบัณฑิต/ประเมินผลการจัดการหลักสูตร หลักสูตรสองปริญญา/หลักสูตรร่วมกับต่างประเทศ Cyber College International college ระบบรับเข้าศึกษาให้มีความหลากหลาย ความเข้มแข็งทางวิชาการสู่ระดับสากล ทักษะภาษาต่างประเทศ ทักษะเทคโนโลยีสารสนเทศ วิเคราะห์สัดส่วนอาจารย์ประจำต่อจำนวนนักศึกษา ทุนเพื่อศึกษาต่อระดับปริญญาเอก

37 ปริญญาตรี ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 :
17 กลยุทธ์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 : การผลิตบัณฑิตที่มุ่งส่งเสริมศักยภาพนักศึกษาให้เป็นบัณฑิตที่พึงประสงค์ ปริญญาตรี ระบบกลไกเพื่อสนับสนุนการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ ติดตามการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ ระบบการประเมินผลการสอนของอาจารย์ จัดระบบการบริหารโครงสร้างและสิ่งสนับสนุน พัฒนาห้องสมุดให้เป็นห้องสมุดที่มีชีวิต ตำราที่มีคุณภาพ สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น

38 บัณฑิตศึกษา ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 : แผนผลิตบัณฑิต
17 กลยุทธ์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 : การผลิตบัณฑิตที่มุ่งส่งเสริมศักยภาพนักศึกษาให้เป็นบัณฑิตที่พึงประสงค์ บัณฑิตศึกษา แผนผลิตบัณฑิต หลักสูตรระดับปริญญาเอก/หลักสูตรนานาชาติ/สาขาวิชาร่วม/ความร่วมมือกับต่างประเทศ Positioning บัณฑิต คุณลักษณะบัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษาที่พึงประสงค์ กลไกการรับนักศึกษาต่างชาติ บัณฑิตศึกษาที่เชื่อมโยงกับทิศทางการวิจัย คุณภาพของบัณฑิตด้านการเรียนรู้/คุณธรรม/จริยธรรม คุณสมบัติและศักยภาพและให้คำปรึกษาวิทยานิพนธ์ อาจารย์หรือผู้เชี่ยวชาญชาวต่างประเทศร่วมในการเรียนการสอน

39 บัณฑิตศึกษา ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 : งบประมาณในการพัฒนาบัณฑิตศึกษา
17 กลยุทธ์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 : การผลิตบัณฑิตที่มุ่งส่งเสริมศักยภาพนักศึกษาให้เป็นบัณฑิตที่พึงประสงค์ บัณฑิตศึกษา งบประมาณในการพัฒนาบัณฑิตศึกษา ระบบการให้บริการนักศึกษาครบวงจร จัดเวทีแลกเปลี่ยน/เผยแพร่/ประกวดผลงานวิจัย พัฒนาศักยภาพนักศึกษาไปสู่ระดับสากล เครือข่ายบัณฑิตศึกษา ความร่วมมือกับชุมชนและองค์กรภาครัฐ ความร่วมมือกับภาคเอกชน ระบบประเมินคุณภาพของหลักสูตร

40 ปริญญาตรี ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 :
การผลิตบัณฑิตที่มุ่งส่งเสริมศักยภาพนักศึกษาให้เป็นบัณฑิตที่พึงประสงค์ ตัวอย่างแผนงาน/โครงการหลัก โครงการพัฒนาระบบประเมินผลการจัดการหลักสูตร โดยมุ่งเน้นการประเมินผลสัมฤทธิ์ของหลักสูตร โครงการให้ทุนสนับสนุนการเปิดหลักสูตรตามนโยบายและแผนการผลิตบัณฑิตของมหาวิทยาลัย โครงการส่งเสริมการปรับปรุงหลักสูตรให้มีคุณภาพและมาตรฐานตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ โครงการหลักสูตร Advanced Placement Program และ Honor Program ปริญญาตรี

41 บัณฑิตศึกษา ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 :
การผลิตบัณฑิตที่มุ่งส่งเสริมศักยภาพนักศึกษาให้เป็นบัณฑิตที่พึงประสงค์ ตัวอย่างแผนงาน/โครงการหลัก โครงการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน จัดสัมมนาและระดมสมองเพื่อจัดทำแผนการผลิตบัณฑิต และแผนการเปิดหลักสูตรของมหาวิทยาลัย ทั้งระยะสั้นและระยะยาว โครงการสนับสนุนการพัฒนาและการเปิดหลักสูตรระดับปริญญาเอก หลักสูตรนานาชาติ หลักสูตรสาขาวิชาร่วม และหลักสูตรที่มีความร่วมมือกับต่างประเทศ โครงการพัฒนาระบบการบริหารระดับบัณฑิตศึกษาและ Post Doc Training ที่เอื้อต่อการสร้างผลงานวิจัยระดับนานาชาติ โครงการส่งเสริมผู้ช่วยสอน ผู้ช่วยวิจัย และทุนวิจัยของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา บัณฑิตศึกษา

42 ประเด็น ยุทธศาสตร์ 8 ด้าน
1.การบริหารจัดการองค์กร อย่างมีประสิทธิภาพ 19 กลยุทธ์ 2.การผลิตบัณฑิต 17 กลยุทธ์ 3. การพัฒนา นักศึกษา 15 กลยุทธ์ 4. การวิจัย และพัฒนา 5. การบริการ วิชาการ 6. การอนุรักษ์พัฒนา ขนบธรรมเนียมประเพณี 7. การบริหารองค์กร เพื่อรองรับการเปลี่ยน แปลง 8. การบริหารองค์กร เพื่อการพัฒนาคุณภาพ 14 กลยุทธ์ 9 กลยุทธ์ 13 กลยุทธ์ 6 กลยุทธ์

43 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 :
การพัฒนานักศึกษาที่มุ่งส่งเสริมศักยภาพนักศึกษา ให้เป็นบัณฑิตที่พึงประสงค์ 15 กลยุทธ์ แผนพัฒนานักศึกษาที่เชื่อมโยงกับคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ ทุนการศึกษาแก่นักเรียน พัฒนาให้นักศึกษามีสุขภาพที่สมบูรณ์ กิจกรรมพัฒนานักศึกษาที่มุ่งเน้นคุณธรรมจริยธรรม การมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนภาคอีสานโดยใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียง ระบบการให้คำแนะนำและปรึกษา การสร้างสรรค์ผลงานด้านต่างๆของนักศึกษา

44 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 :
การพัฒนานักศึกษาที่มุ่งส่งเสริมศักยภาพนักศึกษา ให้เป็นบัณฑิตที่พึงประสงค์ 15 กลยุทธ์ กิจกรรมเพื่อการเผยแพร่ประกวดผลงานของนักศึกษา ทุนเพื่อการแลกเปลี่ยนนักศึกษากับต่างประเทศ โอกาสและประสบการณ์ในเข้าร่วมกิจกรรมนานาชาติ ระบบการจัดหางาน ให้สมาคมศิษย์เก่ามีส่วนร่วม ส่งเสริมการจัดกิจกรรมขององค์กรนักศึกษา ความเข้มแข็งของหน่วยงานพัฒนานักศึกษา ปรับปรุงและเพิ่มหอพัก

45 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 : ตัวอย่างแผนงาน/โครงการหลัก
การพัฒนานักศึกษาที่มุ่งส่งเสริมศักยภาพนักศึกษาให้เป็นบัณฑิตที่พึงประสงค์ ตัวอย่างแผนงาน/โครงการหลัก โครงการจัดทำแผนแม่บทและแผนปฏิบัติการการพัฒนานักศึกษาและกิจกรรมเสริมหลักสูตร (สภา 3.1, 3.6, 3.8) โครงการจัดตั้งศูนย์ให้คำปรึกษาแนะแนวอาชีพ และศูนย์จัดหางาน และการพัฒนาระบบการให้คำปรึกษาแนะแนวด้านอาชีพและการหางานทำ โครงการพัฒนาระบบการให้คำปรึกษาด้านการเรียนและการใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัย โครงการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาด้านต่างๆ ตามคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ของมหาวิทยาลัย (อาทิ ภาษาต่างประเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ คุณธรรม จริยธรรม ความมีวินัยและจิตสำนึกที่ดีต่อสังคม ฯลฯ)

46 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 : ตัวอย่างแผนงาน/โครงการหลัก
การพัฒนานักศึกษาที่มุ่งส่งเสริมศักยภาพนักศึกษาให้เป็นบัณฑิตที่พึงประสงค์ ตัวอย่างแผนงาน/โครงการหลัก โครงการจัดกิจกรรมเพื่อสร้างเสริมประสบการณ์ในการทำงานร่วมกับชุมชน (สภา 2.5) โครงการพัฒนาชมรมและกิจกรรมกีฬา เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตของนักศึกษา (สภา 3.3) โครงการให้ทุนการศึกษาแก่นักเรียนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและนักศึกษาที่มีฐานะยากจนและด้อยโอกาส โครงการส่งเสริมการแลกเปลี่ยนนักศึกษา กิจกรรมและประสบการณ์ในการร่วมกิจกรรมนานาชาติ

47 ประเด็น ยุทธศาสตร์ 8 ด้าน
1.การบริหารจัดการองค์กร อย่างมีประสิทธิภาพ 19 กลยุทธ์ 2.การผลิตบัณฑิต 17 กลยุทธ์ 3. การพัฒนา นักศึกษา 15 กลยุทธ์ 4. การวิจัย และพัฒนา 5. การบริการ วิชาการ 6. การอนุรักษ์พัฒนา ขนบธรรมเนียมประเพณี 7. การบริหารองค์กร เพื่อรองรับการเปลี่ยน แปลง 8. การบริหารองค์กร เพื่อการพัฒนาคุณภาพ 14 กลยุทธ์ 9 กลยุทธ์ 13 กลยุทธ์ 6 กลยุทธ์

48 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 :
การวิจัยและพัฒนาที่สร้างองค์ความรู้ให้เพิ่มศักยภาพและ ขีดความสามารถในการแข่งขัน 17 กลยุทธ์ แผนแม่บทด้านการวิจัย ศักยภาพนักวิจัย/พี่เลี้ยงนักวิจัย/เกณฑ์ภาระงาน/แรงจูงใจ การทำวิจัยของอาจารย์ในต่างประเทศ แสวงหาแหล่งทุน/จัดทำข้อเสนอโครงการ ส่งเสริมให้มีการทำวิจัย/การเผยแพร่ผลงานวิจัย/การสร้างนวัตกรรม การใช้ผลงานวิจัยแก้ปัญหาและพัฒนาภาคอีสาน กำกับดูแลด้านจรรยาบรรณ ปัจจัยเกื้อหนุน/สถานที่และเครื่องมือบรรยากาศ ห้องสมุด/ทรัพยากรสารสนเทศ

49 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 :
การวิจัยและพัฒนาที่สร้างองค์ความรู้ให้เพิ่มศักยภาพและ ขีดความสามารถในการแข่งขัน 17 กลยุทธ์ ฐานข้อมูลการวิจัย ศูนย์วิจัยเฉพาะทาง การบริหารจัดการงานวิจัย วารสารวิจัย การให้รางวัลและเชิดชูเกียรติ พัฒนางานวิจัยบัณฑิตศึกษา เครือข่ายความร่วมมือด้านการวิจัย ส่งเสริมการตีพิมพ์

50 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 : ตัวอย่างแผนงาน/โครงการหลัก
การวิจัยและพัฒนาที่สร้างองค์ความรู้ให้เพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถในการแข่งขัน ตัวอย่างแผนงาน/โครงการหลัก โครงการสรรหานักวิจัยศักยภาพสูง โดย แสวงหาผู้เชี่ยวชาญด้านการวิจัยจากต่างประเทศมาร่วมดำเนินการวิจัย โครงการพัฒนาศักยภาพนักวิจัยและนักวิจัยพี่เลี้ยง ให้สามารถสร้างสรรค์งานวิจัยที่มีคุณภาพ (สภา 4.5) : จัดหลักสูตรอบรมเพื่อพัฒนานักวิจัยรุ่นใหม่ ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพนักวิจัยรุ่นกลาง ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพนักวิจัยรุ่นอาวุโส โครงการพัฒนาบุคลากรด้านการสนับสนุนการวิจัย : จัดกิจกรรมยกย่องและเชิดชูนักวิจัยที่มีผลงานดีเด่นเป็นประจำทุกปี (สภา 4.1.1) โครงการบ่มเพาะนักศึกษาและบุคลากรให้เป็นผู้ประกอบการ

51 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 : ตัวอย่างแผนงาน/โครงการหลัก
การวิจัยและพัฒนาที่สร้างองค์ความรู้ให้เพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถในการแข่งขัน ตัวอย่างแผนงาน/โครงการหลัก โครงการส่งเสริมและพัฒนาการวิจัยแก่นักศึกษาบัณฑิตศึกษาให้มีคุณภาพระดับนานาชาติและหรือเป็นประโยชน์ต่อการแก้ไขปัญหาและพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ6.โครงการส่งเสริมการผลิตบัณฑิตระดับปริญญาเอกของศูนย์วิจัยเฉพาะทาง โครงการพัฒนาระบบการบริหารจัดการการวิจัยและกองทุนวิจัยให้มีความคล่องตัว มีประสิทธิภาพ เป็นธรรม และเอื้อต่อการสร้างผลงานที่มีคุณภาพ (สภา 4.1, 4.4, 4.6) โครงการพัฒนาระบบพิจารณาการจัดสรรทุนวิจัย โครงการพัฒนาและส่งเสริมกลไกเพื่อเพิ่มแหล่งทุนวิจัยจากภายนอก

52 ประเด็น ยุทธศาสตร์ 8 ด้าน
1.การบริหารจัดการองค์กร อย่างมีประสิทธิภาพ 19 กลยุทธ์ 2.การผลิตบัณฑิต 17 กลยุทธ์ 3. การพัฒนา นักศึกษา 15 กลยุทธ์ 4. การวิจัย และพัฒนา 5. การบริการ วิชาการ 6. การอนุรักษ์พัฒนา ขนบธรรมเนียมประเพณี 7. การบริหารองค์กร เพื่อรองรับการเปลี่ยน แปลง 8. การบริหารองค์กร เพื่อการพัฒนาคุณภาพ 14 กลยุทธ์ 9 กลยุทธ์ 13 กลยุทธ์ 6 กลยุทธ์

53 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 :
การบริการวิชาการที่เสริมสร้างการพัฒนาที่ยั่งยืน 14 กลยุทธ์ แผนแม่บทและแผนปฏิบัติการ หน่วยงานกลางให้มีภารกิจครอบคลุม จัดระเบียบการรับงานบริการวิชาการ พัฒนาบุคลากรหรือระบบงาเชื่อมโยงการบริการนของส่วนราชการต่างๆ เครือข่ายความร่วมมือกับภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม มีส่วนร่วมหรือช่วยเหลือกิจกรรมของจังหวัด กรรมการองค์กรภายนอก

54 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 :
การบริการวิชาการที่เสริมสร้างการพัฒนาที่ยั่งยืน 14 กลยุทธ์ บทบาทของสถาบันยุทธศาสตร์ โครงการนำร่องชุมชนต้นแบบในภาคอีสาน ศูนย์ให้คำปรึกษาแก่ประชาชน สร้างความเข้มแข็งของหน่วยงานบริการวิชาการ เชื่อมโยงการบริการเข้ากับการเรียนการสอนและการวิจัย การถ่ายทอดเทคโนโลยี ฐานข้อมูลการบริการวิชาการ

55 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 :
การบริการวิชาการที่เสริมสร้างการพัฒนาที่ยั่งยืน ตัวอย่างแผนงาน/โครงการหลัก โครงการปรับปรุงแผนแม่บทการบริการวิชาการแก่สังคมเพื่อสร้างให้มหาวิทยาลัยเป็นศูนย์กลางในการบริการวิชาการ ถ่ายทอดเทคโนโลยี โครงการบริการวิชาการเชิงบูรณาการ (จังหวัด/กลุ่มจังหวัด) โครงการส่งเสริมให้คณาจารย์บริการวิชาการและวิชาชีพที่ตอบสนองความต้องการพัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็งของสังคม ชุมชน ประเทศชาติและนานาชาติ

56 ประเด็น ยุทธศาสตร์ 8 ด้าน
1.การบริหารจัดการองค์กร อย่างมีประสิทธิภาพ 19 กลยุทธ์ 2.การผลิตบัณฑิต 17 กลยุทธ์ 3. การพัฒนา นักศึกษา 15 กลยุทธ์ 4. การวิจัย และพัฒนา 5. การบริการ วิชาการ 6. การอนุรักษ์พัฒนา ขนบธรรมเนียมประเพณี 7. การบริหารองค์กร เพื่อรองรับการเปลี่ยน แปลง 8. การบริหารองค์กร เพื่อการพัฒนาคุณภาพ 14 กลยุทธ์ 9 กลยุทธ์ 13 กลยุทธ์ 6 กลยุทธ์

57 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 :
การอนุรักษ์ พัฒนา ถ่ายทอดและฟื้นฟูขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรม ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 9 กลยุทธ์ แผนแม่บทและแผนปฏิบัติการ ความเข้มแข็งของบุคลากรและระบบบริหารจัดการ สร้างความเข้มแข็งให้กับสำนักวัฒนธรรม ศูนย์วิจัยเฉพาะทาง/ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาอีสาน กิจกรรมด้านประเพณี/ศาสนา/วัฒนธรรม สร้างเครือข่ายกับศิลปินพื้นบ้าน การพัฒนาและเชื่อมโยงกับท้องถิ่นอื่นและระดับสากลได้ พิพิธภัณฑ์/หอจดหมายเหตุ/หอประวัติ ค่านิยมความรักและภาคภูมิใจในมหาวิทยาลัย

58 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 : ตัวอย่างแผนงาน/โครงการหลัก
การอนุรักษ์ พัฒนา ถ่ายทอดและฟื้นฟูขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรม ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตัวอย่างแผนงาน/โครงการหลัก 1. โครงการปรับปรุงระบบบริหารจัดการเพื่อสร้างเสริมความเข้มแข็ง สำนักวัฒนธรรม (สภา 6.1) 2. โครงการส่งเสริม ทำนุบำรุงและเผยแพร่ศิลปะ ประเพณีและวัฒนธรรมเพื่อให้มหาวิทยาลัยเป็นศูนย์กลางด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (สภา 6.2) ส่งเสริมความเข้มแข็งทุนทางสังคมและทุนทางวัฒนธรรม พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ ภูมิปัญญาและองค์ความรู้ท้องถิ่นและภาคตะวันออกเฉียงเหนือร่วมกับปราชญ์ชาวบ้าน การแลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรมในประเทศและกับประเทศเพื่อนบ้าน

59 ประเด็น ยุทธศาสตร์ 8 ด้าน
1.การบริหารจัดการองค์กร อย่างมีประสิทธิภาพ 19 กลยุทธ์ 2.การผลิตบัณฑิต 17 กลยุทธ์ 3. การพัฒนา นักศึกษา 15 กลยุทธ์ 4. การวิจัย และพัฒนา 5. การบริการ วิชาการ 6. การอนุรักษ์พัฒนา ขนบธรรมเนียมประเพณี 7. การบริหารองค์กร เพื่อรองรับการเปลี่ยน แปลง 8. การบริหารองค์กร เพื่อการพัฒนาคุณภาพ 14 กลยุทธ์ 9 กลยุทธ์ 13 กลยุทธ์ 6 กลยุทธ์

60 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 7 : การบริหารองค์กรเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง
13 กลยุทธ์ กลุ่มคลังสมองมข. ผู้รับผิดชอบการบริหารการเปลี่ยนแปลง แผนบริหารการเปลี่ยนแปลงและแผนการเฝ้าระวัง โครงสร้างและระบบงาน ตัวชี้วัด ค่านิยมเศรษฐกิจพอเพียง รายวิชาหลักเศรษฐกิจพอเพียง ค่านิยมในการดำรงชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมนักศึกษา งบประมาณ เวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เครือข่ายกับหน่วยงานของรัฐ เวทีสาธารณะ

61 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 7 : การบริหารองค์กรเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง
ตัวอย่างแผนงาน/โครงการหลัก 1. โครงการคลังสมองมหาวิทยาลัยขอนแก่น 2. โครงการจัดทำแผนบริหารการเปลี่ยนแปลง 3. โึครงการเฝ้าระวังการเปลี่ยนแปลง 4. โครงการปรับปรุงการประเมินหัวหน้าหน่วยงานให้มีองค์ประกอบ ด้านการบริหารการเปลี่ยนแปลง 5. โครงการส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียงในมหาวิทยาลัยขอนแก่น

62 ประเด็น ยุทธศาสตร์ 8 ด้าน
1.การบริหารจัดการองค์กร อย่างมีประสิทธิภาพ 19 กลยุทธ์ 2.การผลิตบัณฑิต 17 กลยุทธ์ 3. การพัฒนา นักศึกษา 15 กลยุทธ์ 4. การวิจัย และพัฒนา 5. การบริการ วิชาการ 6. การอนุรักษ์พัฒนา ขนบธรรมเนียมประเพณี 7. การบริหารองค์กร เพื่อรองรับการเปลี่ยน แปลง 8. การบริหารองค์กร เพื่อการพัฒนาคุณภาพ 14 กลยุทธ์ 9 กลยุทธ์ 13 กลยุทธ์ 6 กลยุทธ์

63 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 8 : การบริหารองค์กรเพื่อการพัฒนาคุณภาพ
6 กลยุทธ์ ระบบประกันคุณภาพ มาตรฐานของระบบงานหลัก ติดตามและประเมินผล นำเสนอผลการพัฒนาคุณภาพระบบงาน Best Practiceและจัดทำฐานข้อมูล รางวัลหรือผลตอบแทน

64 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 8 : การบริหารองค์กรเพื่อการพัฒนาคุณภาพ
ตัวอย่างแผนงาน/โครงการหลัก พัฒนาระบบบริหารจัดการคุณภาพมหาวิทยาลัยขอนแก่น เพื่อเป็นเป้าหมายเชิงคุณภาพและพัฒนาการรายงานผลการปฏิบัติราชการ (KKU MQA/TQA-PMQA) (สภา 1.3, 8.1, 8.2) พัฒนามาตรฐานด้านการผลิตบัณฑิต พัฒนามาตรฐานด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ พัฒนามาตรฐานด้านการบริการวิชาการ พัฒนามาตรฐานด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม พัฒนามาตรฐานด้านการบริหารจัดการและการประกันคุณภาพ

65 เปรียบเทียบประกาศกระทรวงศึกษาธิการเดิมและ ประกาศกระทรวงศึกษาธิการใหม่
การแบ่งส่วนราชการในมหาวิทยาลัยขอนแก่น

66 ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเดิม ประกาศกระทรวงศึกษาธิการใหม่
ข้อ ๔ ให้แบ่งส่วนราชการใน คณะเกษตรศาสตร์ ดังนี้ (๑) สำนักงานคณบดี (๒) ภาควิชากีฏวิทยา* (๓) ภาควิชาทรัพยากรที่ดินและสิ่งแวดล้อม* (๔) ภาควิชาประมง (๕) ภาควิชาพืชไร่* (๖) ภาควิชาพืชสวน* (๗) ภาควิชาโรคพืชวิทยา* (๘) ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร (๙) ภาควิชาส่งเสริมการเกษตร (๑๐) ภาควิชาสัตวศาสตร์ (๒) ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรการเกษตร* (๓) ภาควิชาสัตวศาสตร์ (๕) ภาควิชาเศรษฐศาสตร์การเกษตร (๖) ภาควิชาส่งเสริมการเกษตร

67 ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเดิม ประกาศกระทรวงศึกษาธิการใหม่
ข้อ ๖ ให้แบ่งส่วนราชการใน คณะเทคนิคการแพทย์ ดังนี้ (๑) สำนักงานคณบดี (๒) ภาควิชากายภาพบำบัด* (๓) ภาควิชาเคมีคลินิก** (๔) ภาควิชาจุลชีววิทยาคลินิก** (๕) ภาควิชาจุลทรรศน์คลินิก** (๖) ภาควิชาภูมิคุ้มกันวิทยาคลินิก** (๒) สายวิชากายภาพบำบัด* (๓) สายวิชาเทคนิคการแพทย์**

68 ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเดิม ประกาศกระทรวงศึกษาธิการใหม่
ข้อ ๑๐ ให้แบ่งส่วนราชการใน คณะเภสัชศาสตร์ ดังนี้ (๑) สำนักงานคณบดี (๒) ภาควิชาเทคโนโลยีเภสัชกรรม* (๓) ภาควิชาพิษวิทยา* (๔) ภาควิชาเภสัชกรรมคลินิก* (๕) ภาควิชาเภสัชศาสตร์สังคมและการบริหาร* (๖) ภาควิชาเภสัชเคมี* (๗) ภาควิชาเภสัชพฤกษศาสตร์และเภสัชวินิจฉัย* (๒) สำนักงานวิชาการ*

69 ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเดิม ประกาศกระทรวงศึกษาธิการใหม่
ข้อ ๑๑ ให้แบ่งส่วนราชการใน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ดังนี้ (๑) สำนักงานคณบดี (๒) ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์* (๓) ภาควิชาประวัติศาสตร์และโบราณคดี* (๔) ภาควิชาปรัชญาและศาสนา* (๕) ภาควิชาพัฒนาสังคม* (๖) ภาควิชาภาษาต่างประเทศ* (๗) ภาควิชาภาษาไทย* (๘) ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา* (๙) ภาควิชาสังคมศาสตร์* (๒) สายวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ *

70 ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเดิม ประกาศกระทรวงศึกษาธิการใหม่
ข้อ ๑๒ ให้แบ่งส่วนราชการใน คณะวิทยาการจัดการ ดังนี้ (๑) สำนักงานคณบดี (๒) ภาควิชาการเงินและบัญชี* (๓) ภาควิชาการบริหารธุรกิจ* (๔) ภาควิชาเศรษฐศาสตร์* ข้อ ๑๒ ให้มีสำนักงานคณบดีใน คณะวิทยาการจัดการ*

71 ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเดิม ประกาศกระทรวงศึกษาธิการใหม่
ข้อ ๑๖ ให้แบ่งส่วนราชการใน คณะศึกษาศาสตร์ ดังนี้ (๑) สำนักงานคณบดี (๒) ภาควิชาการบริหารการศึกษา* (๓) ภาควิชาการประถมศึกษา* (๔) ภาควิชาการมัธยมศึกษา* (๕) ภาควิชาจิตวิทยาการศึกษา* (๖) ภาควิชาเทคโนโลยีทางการศึกษา* (๗) ภาควิชาประเมินผลและวิจัยการศึกษา* (๘) ภาควิชาพลศึกษา* (๙) ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา* (๑๐) โรงเรียนสาธิต (๒) สำนักงานวิชาการ * (๓) โรงเรียนสาธิต

72 ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเดิม ประกาศกระทรวงศึกษาธิการใหม่
ข้อ ๑๗ ให้แบ่งส่วนราชการใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ดังนี้ (๑) สำนักงานคณบดี (๒) ภาควิชาพื้นฐานสถาปัตยกรรม* (๓) ภาควิชาผังเมือง* (๔) ภาควิชาเทคนิคสถาปัตยกรรม* (๕) ภาควิชาสถาปัตยกรรม* (๒) สายวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ *

73 ขอขอบคุณ


ดาวน์โหลด ppt Local  Regional  National  International

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google