งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ประชาพิจารณ์ พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ....

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ประชาพิจารณ์ พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ...."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ประชาพิจารณ์ พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ....
ประชาพิจารณ์ พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ.... พ.อ.ผศ. กิฎาพล วัฒนกูล ผอ.กองตรวจโรคฯ รพ.พระมงกุฎเกล้า ตุลาการ ศาลทหาร กรุงเทพฯ กรรมการควบคุมคุณภาพฯ สปสช. กรรมการสอบสวน แพทยสภา ชุดที่ 3 ผอ.ศูนย์การศึกษาต่อเนื่องฯ แพทยสภา 17ก.ย.2553 รพ.รร.๖

2 ทำไมต้องทำความเข้าใจ
กฎหมายนี้ยังเป็น ฉบับร่าง จึงควรให้ผู้เกี่ยวข้องรับรู้ก่อน แก้ไข ท้วงติง ในส่วนที่ทำได้ เพราะเมื่อประกาศเป็น กม.แล้ว ต้องใช้ไปตลอด อาจชั่วชีวิต เช่นเดียวกับ พ.ร.บ.หลักประกันฯ พ.อ.ผศ.นพ.กิฎาพล วัฒนกูล

3 7ร่าง พ.ร.บ. คุ้มครอง ฯ ? 1. ฉบับ คณะ รมต.เป็นผู้เสนอ
2. ฉบับ นายเจริญ จรรย์โกมล และคณะ 3. ฉบับ นายประสิทธิ์ ชัยวิรัตนะ และคณะ 4. ฉบับ นายบรรพต ต้นธีรวงศ์ และคณะ 5. ฉบับ นางอุดมลักษณ์ เพ็งนรพัฒน์ และคณะ 6. ฉบับ นายสุทัศน์ เงินหมื่น และคณะ 7. ฉบับ นส.สารี อ๋องสมหวัง และปปช.10,631คน พ.อ.ผศ.นพ.กิฎาพล วัฒนกูล

4 บทวิเคราะห์ จากแพทยสภา
บทวิเคราะห์ จากแพทยสภา แพทยสภาขอให้ทบทวน เพื่อประโยชน์อันแท้จริงต่อประชาชน จะอย่างไรก็เป็นเรื่องการตัดสินใจตามอำนาจของฝ่ายบริหาร คือรัฐบาล แพทยสภาเพียงทำหน้าที่ตามวัตถุประสงค์ ม. ๗ (๕) คือ ให้คำปรึกษา ข้อเสนอแนะ ข้อเท็จจริง ต่อรัฐบาล เกี่ยวกับปัญหาการแพทย์ และ การสาธารณสุขของประเทศ พ.อ.ผศ.นพ.กิฎาพล วัฒนกูล

5 บทวิเคราะห์ จากแพทยสภา
บทวิเคราะห์ จากแพทยสภา ตัวอย่าง เช่น ม.6 บทบัญญัติใน ม.5 ที่ผู้เสียหาย มีสิทธิรับเงินช่วยเหลือ โดยไม่ต้องพิสูจน์ถูกผิด ยกเว้น ม.6(2) ที่ระบุความเสียหาย ซึ่งหลีกเลี่ยงมิได้ จากการให้บริการสาธารณสุขตามมาตรฐานวิชาชีพ ( จะพิสูจน์อย่างไร ถ้าไม่มีกรรมการที่เป็น แพทย์วิชาชีพ ) แต่ใน ม.7 คณะกรรมการกลับไม่มีแพทย์ด้านนี้เลย นอกจากนี้ ยังมีมาตราอื่นๆที่ควรแก้ไข 25 มาตรา 1, 6, 7,11,18, 20, 21, 22, 23, 24, 25, 27, 34, 35, 37, 38, 39, 40, 42, 44, 45, 46, 47, 49 และ ม.50  พ.อ.ผศ.นพ.กิฎาพล วัฒนกูล

6 คณะทำงานศึกษา ร่าง พ.ร.บ. 86 คน
ประกอบด้วย โรงเรียนแพทย์ ศธ./ แพทย์ 4 เหล่าทัพ /แพทยสภา แพทยสมาคมฯ /แพทย์ผู้ให้บริการ สธ. /สมาคม รพ.เอกชน/ แพทย์จาก กทม/กระทรวงมหาดไทย/แพทย์สมาพันธ์ รพท. รพศ. ผู้ประกอบวิชาชีพสุขภาพ/ เครือข่ายคุ้มครองประชาชน/ สมาคมแพทย์คลินิกไทย /กลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์ ประเทศไทย สรุป ที่ประชุมเลือก - อ.อาวุธ ศรีสุกรี เป็นประธาน อ.อิทธพร คณะเจริญ เป็น เลขาฯ /อ.การุณ เก่งสกุล เป็นโฆษก แพทย์ 4 เหล่าทัพ ประกอบด้วย 1. พบ.– พล.ต. กิตติพล ภัคโชตานนท์ 2. พอ.- พล.อ.ต. การุณ เก่งสกุล 3. พร.- น.อ.โสภณ รัตนสุมาวงศ์ รน. 4. สง.พญ.ตร. – พล.ต.ต. อรรถพันธ์ พรมณฑารัตน์ พ.อ.ผศ.นพ.กิฎาพล วัฒนกูล

7 2. รายงานการศึกษาวิจัยเบื้องต้น ชุด “การคุ้มครองผู้บริโภคในระบบ
References 1. เอกสาร คณะทำงาน ร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองฯ ๒๗ส.ค. ๒๕๕๓ น.อ.อิทธิพร คณะเจริญ 2. รายงานการศึกษาวิจัยเบื้องต้น ชุด “การคุ้มครองผู้บริโภคในระบบ หลักประกันสุขภาพที่เหมาะสม” โดย สปสช. สวปก. สวรส. ๗ก.ย.๒๕๕๐ 3. “ความเท็จ ความจริงเกี่ยวกับ ร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองฯ” นพ.วิชัย โชควิวัฒน ส.ค.๕๓ 4. คนไข้ไทย..กับทางตัน โดย ปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา ฉลาดซื้อ ปีที่๑๐ ฉบับที่ ๑๑๑ เม.ย.๒๕๕๓ 5. พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายฯ โดย ศ.นพ.สมศักดิ์ โล่ห์เลขา ๒๗ส.ค.๒๕๕๓ 6. แปดปีที่ผ่านมาของระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ความสำเร็จ- ความเสี่ยง โดย นพ.ประทีป ธนกิจเจริญ ๑๒มี.ค.๒๕๕๓ 7. สรุปสถานการณ์กำลังพลเฉพาะ สป.สธ. 824 รพ. ๑๗ ส.ค.๒๕๕๓ โดย สำนักงานปลัด สธ. 8. มองให้ชิด ฉบับปฐมฤกษ์ ส.ค.๒๕๕๓ จม.ข่าวเฉพาะกิจ สำนักกฎหมาย สปสช. โดย วิญญู พิทักษ์ปกรณ์ ส.ค.๒๕๕๓ 9. บทวิเคราะห์เพื่อปรับปรุง พ.ร.บ.คุ้มครองฯ นพ.เมธี วงศ์ศิริสุวรรณ ๙ส.ค.๕๓ 10. ไต้หวัน การประกันสุขภาพและงานจิตอาสา นวพร เรืองสกุล ธ.ค.๒๕๕๒ 11. แนวทางการใช้มาตรการทางกฎหมายแก่ไขข้อพิพาททางการแพทย์ โดย นพ.วิสุทธิ์ ลัจฉเสวี ๓๑ต.ค.๒๕๕๒

8 บทวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงฯ แพทยสภา
บทวิเคราะห์ มาตราที่ 1 ต้องเปลี่ยนคำว่า “ผู้เสียหาย” เป็น “ผู้ได้รับผลกระทบ” และ ต้องเปลี่ยนคำว่า “การรับบริการสาธารณสุข” เป็น “ระบบบริการสาธารณสุข” เพื่อให้ครอบคลุมทั้ง ผู้ให้ (รัฐธรรมนูญ มาตรา ๘๐(๒) และ ผู้รับบริการ ผู้ได้รับผลกระทบ ระบบบริการ สธ. ผู้ให้บริการทาง สธ.ที่ปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรฐาน และจริยธรรม ย่อมได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายกำหนดและควบคุมโดยสภาวิชาชีพนั้นๆ ๒๔ส.ค.๒๕๕๐ บทวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงฯ แพทยสภา พ.อ.ผศ.นพ.กิฎาพล วัฒนกูล

9 ทั้งนี้กรรมการอาจประกาศกำหนดเพิ่มเติมภายหลังได้
บทวิเคราะห์ มาตราที่ 6 ม.๖ มิให้ใช้บังคับในกรณี ดังนี้ ๖(๑)ความเสียหายตามปกติของโรค ๖(๒)ความเสียหายที่หลีกเลี่ยงมิได้ ๖(๓)ความเสียหายที่ไม่มีผลกระทบต่อการดำรงชีวิต ทั้งนี้กรรมการอาจประกาศกำหนดเพิ่มเติมภายหลังได้ ต้องบัญญัติเพิ่ม ให้ครอบคลุมกลุ่มผู้ป่วยที่ต้องช่วยเหลือ ได้แก่ ผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการทำทุรเวชปฏิบัติ และ ผู้ที่ได้รับผลกระทบจากระบบบริการสาธารณสุข เช่น ขาดบุคลากร ขาดเครื่องมือ หรือ อาจครอบคลุมไปถึงผลกระทบ (ผลข้างเคียง) ที่เกิดจากกระบวนการรักษาตามมาตรฐานแล้วเป็นสิ่งที่นานๆ จะเกิดขึ้น แต่รุนแรง จม.ข่าวแพทยสภา ปี๑๕ ฉบับ๒/๕๒ หน้า๑๑ พ.อ.ผศ.นพ.กิฎาพล วัฒนกูล

10 สภาปฏิรูประบบบริการสาธารณสุข สนับสนุน
ร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากบริการสาธารณสุข จัดประชุม รร.ทีเค พาเลส 24 ส.ค.53 ได้ข้อสรุปฉันทามติ 5 ข้อ 1. ความเสียหาย เพดานการชดเชย เสนอให้ตัด ม. 6(2) ออก เพราะยุ่งยากกับการพิจารณา อ้างว่าไม่เป็นผลดีกับแพทย์ 2. โครงสร้างกรรมการ สำนักงาน ต้องเป็นหน่วยงานที่มีความอิสระ 3. ที่มาของกองทุน ให้มาจาก 3กองทุน (สปสช. สวัสดิการ ขรก. และ ประกันสังคม) 4. เรื่องการไกล่เกลี่ย และการเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดี เห็นว่า ต้องไม่ใช่การเกลี้ยกล่อม ต่อรอง 5. ระบบความปลอดภัย และป้องกันความเสียหาย เห็นด้วยกับร่าง ของรัฐบาล บทความ ฉลาดซื้อ ก.ย.๒๕๕๓ พ.อ.ผศ.นพ.กิฎาพล วัฒนกูล

11 บทวิเคราะห์ มาตราที่ 7 สัดส่วนของคณะกรรมการต้องมีสภาวิชาชีพที่เกี่ยวข้องมาดูแล เพราะตาม ม. ๖ ที่บอกว่า ป้องกันการกล่าวอ้างเพื่อรับเงินเยียวยานั้น ก็สมควรต้องมีการพิสูจน์ถูกผิด โดยผู้เชี่ยวชาญ สภาวิชาชีพ X 6 มิใช่ NGOที่อ้างตน เป็นผู้รอบรู้ กระบวน การรักษา ทั้งๆที่ มิใช่ ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม ตามกฎหมาย บทวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงฯ แพทยสภา พ.อ.ผศ.นพ.กิฎาพล วัฒนกูล

12

13

14 บทวิเคราะห์ มาตราที่ 11 ไม่ควรใช้เสียงข้างมากของคนนอกมาตัดสิน แต่ต้องใช้คนที่มี “ความเป็นวิชาชีพ ในเรื่องที่นั้นๆ เป็นผู้ตัดสิน” การวินิจฉัยผิดถูก ที่ต่อเนื่องกับ ม. ๗ เป็นเรื่อง “ข้อเท็จจริง” ตามหลักวิชาการแพทย์ ต้องใช้ผู้ที่มีความรู้มาตัดสิน คล้ายกับการตัดสินของศาลสูง ที่ต้องเป็นองค์คณะ และต้องเป็นคนที่รู้เรื่องในประเด็นกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับคดี หาไม่แล้วจะเกิดปรากฎการณ์ ศาลเตี้ย บทวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงฯ แพทยสภา พ.อ.ผศ.นพ.กิฎาพล วัฒนกูล

15 บทวิเคราะห์ มาตราที่ 18 ให้อำนาจคณะกรรมการในการเรียก สั่ง ขอข้อมูลฯ การให้บุคลากรเข้ามาชี้แจงต้องมีให้น้อยที่สุด เพราะconceptของกฎหมายนี้ คือ ไม่หาคนผิด ต้องทำเท่าที่จำเป็นและเก็บเป็นความลับ (off record) บทลงโทษที่รุนแรงต้องไม่มี มิฉะนั้นแล้ว คณะกรรมการชุดนี้จะมีภาพเป็น ศาลเตี้ย บทวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงฯ แพทยสภา พ.อ.ผศ.นพ.กิฎาพล วัฒนกูล

16 บทวิเคราะห์ มาตราที่ 20 ระบบบริการ สธ. เป็นความรับผิดชอบของรัฐบาลโดยตรง การสร้างกองทุน ต้องช่วยเหลือทั้ง ผู้รับ และ ผู้ให้บริการ ในกรณีที่เขาเหล่านั้นได้รับผลกระทบ จากระบบบริการ สธ. มิใช่ความผิดของผู้ปฏิบัติงาน โดนเข็มทิ่มตำ ติดเชื้อจากคลุกคลีกับผู้ป่วยอุบัติเหตุจากการนำส่งผู้ป่วย จม.ข่าวแพทยสภา ปี๑๕ ฉบับ๒/๕๒ หน้า๑๑ พ.อ.ผศ.นพ.กิฎาพล วัฒนกูล

17

18 บทวิเคราะห์ มาตราที่ 21-22
บทวิเคราะห์ มาตราที่ 21-22 การจ่ายเงินสมทบต้อง มาจากรัฐบาลอุดหนุนเท่านั้น มิฉะนั้นแล้วจะเกิดปัญหาว่า หากสถานพยาบาลใดปฏิบัติงานมาก ย่อมต้องมีความเสี่ยงมาก และอาจเกิด Defensive Medicine กม.นี้มีลักษณะเป็น “ประชานิยม” หรือ “สังคมสงเคราะห์” อัตราการเรียกเก็บเงิน OPD 5 บาท : ครั้ง IPD 80บาท : ครั้ง จะเกิดกรณี ไม่รับการ ส่งต่อ(refer) หรือปฏิเสธ การรักษาโรคซับซ้อน บทวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงฯ แพทยสภา พ.อ.ผศ.นพ.กิฎาพล วัฒนกูล

19

20 พ.ร.บ.คุ้มครองความเสียหายฯ และการเมืองภาคประชาชน โดย สุจิตรา
เงินกองทุนของสวีเดน     *มาจากภาษีท้องถิ่นของประชาชน *มีการพิจารณาจ่ายค่าชดเชย โดยคณะกรรมการคนใน (เพราะคนนอกไม่มีความผูกพัน และไม่ต้องมีความรับผิดชอบใดๆ ต่อเงินกองทุนท้องถิ่น) *ทั้งนี้การใช้ภาษีของท้องถิ่น จะไม่ก่อให้เกิดผลกระทบในวงกว้างต่องบประมาณของประเทศ พ.ร.บ.คุ้มครองความเสียหายฯ และการเมืองภาคประชาชน โดย สุจิตรา

21 บทวิเคราะห์ มาตราที่ 23-24
บทวิเคราะห์ มาตราที่ 23-24 เงินกองทุนที่เหลือ ต้องส่งคืนคลังทั้งหมด เพราะเป็นเงินภาษี ห้ามเก็บไว้ทำอย่างอื่น แต่กองทุนนี้ ไม่ต้องคืนคลัง กองทุนนี้ ลอกแบบ มาจาก สปสช. ให้เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการกำหนด? บทวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงฯ แพทยสภา พ.อ.ผศ.นพ.กิฎาพล วัฒนกูล

22

23 บทวิเคราะห์ มาตราที่ 25 ใช้ความรับรู้ของผู้ป่วย เป็นเกณฑ์ ซึ่งเป็นสิ่งที่ พิสูจน์ทราบได้ยาก อายุความ10ปี นับแต่ รู้ว่าเกิดความเสียหาย หมายความว่า กฎหมายนี้ไม่มีอายุความตายตัว หลายกรณีไม่มีทางพิสูจน์ได้ ว่าเป็นผลจากการรักษา กฎหมายนี้จึงไม่มีอายุความ เพิ่มภาระให้สถานพยาบาลต้องเก็บหลักฐานไว้ตลอดไป 3 ปี 10 ปี 10 ปี บทวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงฯ แพทยสภา พ.อ.ผศ.นพ.กิฎาพล วัฒนกูล

24 ความเป็นธรรม ต้องอยู่บน พื้นฐานความจริง กฎ กติกา วัฒนธรรมองค์กร

25 บทวิเคราะห์ มาตราที่ 37 การกล่าวอ้างเรื่องผลของสาร ที่สะสมที่ใช้เวลาเป็น 10 ปี นั้นเป็นการยกเอากรณี สารพิษ จากอุตสาหกรรม ซึ่งเป็นคนละเรื่องกับการรักษาพยาบาล “นับแต่วันที่รู้ถึงความเสียหายและรู้ตัวผู้กระทำ” “นับแต่วันที่รู้ถึง ความเสียหายที่เกิดขึ้น” เรียกได้ว่า กม.นี้เป็นกม.เลี้ยงดูตลอดชีพ หากใครก็ตามสามารถนำตนเข้าไปอยู่ในนิยามของคำว่า “ผู้เสียหาย” ได้สำเร็จ 3 ปี 10 ปี 10 ปี บทวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงฯ แพทยสภา พ.อ.ผศ.นพ.กิฎาพล วัฒนกูล

26 บทวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงฯ แพทยสภา
บทวิเคราะห์ มาตราที่ 27 การพิสูจน์ต้องตรวจทานเอกสารหาข้อเท็จจริง ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญจากสภาวิชาชีพ ต้องใช้เวลา กำหนดช่วงเวลาอนุมัติเงิน เพียง ๓๐ + ๑๕ + ๑๕ วัน ในการพิสูจน์ตาม ม. ๕ และม. ๖ นั้น เป็นระยะเวลาที่น้อยเกินไป “มาเร็ว เคลมเร็ว” “หากพิสูจน์ไม่ได้ ก็ให้ถือเป็นผู้เสียหาย ” เท่ากับรวบรัด เปิดช่องให้มีการรับเงิน แจกให้คนที่ขาด “หิริ โอตัปปะ” จ้องจะรับเงินฟรีๆ โดยอ้างตนเป็น”ผู้เสียหาย”ไว้ก่อน บทวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงฯ แพทยสภา พ.อ.ผศ.นพ.กิฎาพล วัฒนกูล

27 บทวิเคราะห์ มาตราที่ 34 ยังคงมีสิทธิ์อุทธรณ์
บทวิเคราะห์ มาตราที่ 34 หากศาลยกฟ้องบุคลากรแล้ว ผู้ฟ้องห้ามกลับมารับเงินใดๆ จากกองทุนนี้เป็นอันขาด มิฉะนั้นจะเกิดการจับปลา2มือ ซึ่งเป็นการขัดเจตนารมณ์ของกม.ที่ต้องการลดการฟ้องร้อง ยังคงมีสิทธิ์อุทธรณ์ แต่ในฉบับ NGO ม.43 ให้กรรมการพิจารณาเงินชดเชยได้ แม้ศาลสั่ง ยกฟ้อง (กรรมการใหญ่กว่าศาล) บทวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงฯ แพทยสภา พ.อ.ผศ.นพ.กิฎาพล วัฒนกูล

28

29 บทวิเคราะห์ มาตราที่ 42-44
บทวิเคราะห์ มาตราที่ 42-44 หลักของกม.นี้ คือ ไม่หาคนทำผิด ไม่พิสูจน์ แล้วจะไปพัฒนาระบบ ความปลอดภัยได้อย่างไร? การพัฒนา เป็นหน้าที่ของสถานพยาบาลอยู่แล้ว ร่วมกับสภาวิชาชีพ ในการปรับปรุงระบบ Patient Safety บทวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงฯ แพทยสภา พ.อ.ผศ.นพ.กิฎาพล วัฒนกูล

30

31 มีกรรมการเสนอว่า ควรเอาออกทั้งข้อ เพราะ เป็นการกล่าวหาแพทย์ เช่น
รู้สำนึกในความผิด ผู้เสียหายไม่ติดใจ –เรื่องนี้ไปสู้กันในศาลอาญาได้ และยก ตย. ว่า คนช่วยเด็กจมน้ำ ถ้าไม่รอด โดนฟ้องหรือไม่ ? ห้องER ก็ไม่ต่างกัน

32 บทวิเคราะห์ มาตราที่ 47 รวบอำนาจการจ่ายเงิน ให้โอนภารกิจการจ่ายเงินช่วยเหลือเบื้องต้น ม.41ของ สปสช. มาเป็นของ สำนักงานนี้ เมื่อประกาศ เงินช่วยเหลือเบื้องต้น (คิดจาก พ.ร.บ.ยานยนต์ ) เงินชดเชย (มาจาก ม.๔๒๐ ค่าสินไหม) บทวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงฯ แพทยสภา พ.อ.ผศ.นพ.กิฎาพล วัฒนกูล

33 บทวิเคราะห์ มาตราที่ 50 ทำงานด้านคุ้มครองสิทธิผู้บริโภค 6 คน ในระหว่างที่ยังไม่มี กรรมการตามวรรค 1 ให้ รมต.แต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิ 11 คน อีก 5 คน มาจากด้านเศรษฐศาสตร์ สื่อสารมวลชน การเจรจาไกล่เกลี่ย สธ. สัดส่วนคณะกรรมการชั่วคราว ไม่เป็นธรรม เป็นการล็อคสเปคให้ NGOมีอำนาจเบ็ดเสร็จ ผิดหลักธรรมาภิบาลในการ ตรากฎหมาย บทวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงฯ แพทยสภา พ.อ.ผศ.นพ.กิฎาพล วัฒนกูล

34

35 บรรยายเรื่องการสร้างสมานฉัน สปสช.
คุณสารี อ๋องสมหวัง ท่านผู้พิพากษา นพพร ฯ บรรยายเรื่องการสร้างสมานฉัน สปสช.

36 สรุป แนวคิด ทักษะ การสร้างความเข้าใจ และสมานฉันท์
ผิดจริง หรือ เข้าใจผิด สรุป แนวคิด ทักษะ การสร้างความเข้าใจ และสมานฉันท์ ต้องพิสูจน์ด้วยหลักฐาน วิชาการ ณ ภาวะวิสัยนั้นๆ พ.อ.ผศ.นพ.กิฎาพล วัฒนกูล

37 หน้าที่แพทย์ พยาบาล ๑.รักษาคนไข้ ต้องตามมาตรฐาน
๒.เตรียมหลักฐานทุกรายเผื่อสู้คดี ๓.เตรียมชี้แจงกรรมการ ๓คณะ ๔.เตรียมไกล่เกลี่ยจ่ายร่วมกับ รพ. ๕.ขึ้นศาล สู้คดี แพ่ง-อาญา ๒รอบ ๒.เตรียมพิสูจน์คดีจริยธรรมวิชาชีพ

38 หน้าที่สถานพยาบาล ๑.รักษาคนไข้ตามมาตรฐาน ๒.จ่ายค่าประกันกองทุน
๓.พิสูจน์ความเสียหาย ๔.จ่ายเงินไกล่เกลี่ยร่วมกับหมอ ๕.ขึ้นศาล สู้คดี หากแพ้จ่ายเงิน ๖.ทำรายงานแก้ไขปัญหา

39 ผู้ต้องการร้องเรียกค่าเสียหาย กองทุน(๑)
๑.หาความผิดพลาดหมอ ในรอบ ๓ ปี ถึง ๑๐ปี ถ้าเกิน ๕ ปี ไม่มีหลักฐาน ๒.จะรับเงินก้อน๑ ใน๓๐ วัน ขยายได้ไม่เกิน ๖๐ วัน ๓.หากเงินก้อน ๑ ไม่ได้รับ ให้ร้อง กก.อุทธรณ์ได้ ๔.หากสุดวิสัย หรือ แพทย์ได้มาตรฐาน ไม่ได้รับเงินช่วยเหลือให้ฟ้องศาลต่อ ๗. กรณีได้รับเงินพอใจ (๑+๒+๓) ประณีประนอมยอมความได้ ยุติคดี แต่.. ๖.ได้เงินไม่พอ ขอเรียกหมอและ รพ.มาไกล่เกลี่ยได้ เรียกเงินก้อนที่ ๓ ๕.รับเงินก้อน ๑แล้วรับ๒ ต่อทุกรายจ่ายน้อยไปอุทธรณ์ได้ ๘.หากมีปัญหาใน ๓(๑๐ปี) ให้ร้องเรียน รพ.ขอรับเงินชดเชยเพิ่มได้ อุทธรณ์ได้ ? ๙. กรณีไม่พอใจรับเงินชดเชย หลังรับเงินเบื้องต้นแล้วให้ไปฟ้องศาลได้

40 ผู้ต้องการร้องเรียกค่าเสียหาย-ศาล (๒)
๙.๑ ผู้เสียหายชนะคดี แพทย์-พยาบาลแพ้คดี ม.๓๔ วรรค ๒ ผู้เสียหายอาจ ได้รับเงินสินไหมทดแทนจากกองทุน แพทย์-พยาบาล จ่ายสินไหมทดแทน(ที่เหลือ) หลัง เพิ่มจากกก.พิจารณาให้ ๙.๒ ผู้เสียหายแพ้คดี แพทย์-พยาบาลชนะคดี ม.๓๔ ๙.๓ ยกฟ้องโดยไม่บอกว่าแพทย์-พยาบาลแพ้คดี (เทคนิค) ม.๓๔ วรรค๓ แพทย์-พยาบาล ไม่ได้รับการคุ้มครองใดๆ ไม่มีการช่วยเหลือใน กม.นี้ ผู้เสียหาย ได้รับเงินเฉพาะเบื้องต้น ไม่ได้รับเงินชดเชยใดๆ ม.๓๔ ผู้เสียหาย ได้รับเงินเฉพาะเบื้องต้น กก.อาจพิจารณาจ่ายค่าเสียหายให้หรือไม่ก็ได้

41 สถิติกำลังพลแพทย์ 53

42 สถิติกำลังพลแพทย์ 53

43 สถิติเปรียบเทียบที่น่าสนใจ
“จากสถิติของประเทศสหรัฐอเมริกาปี 2543 พบการเสียชีวิตจากความผิดพลาดที่ป้องกันได้ 9.8 หมื่น-1.9 แสนราย/ปชก. 250 ล้านคน (0.4%) แต่ในประเทศไทยยังไม่มีตัวเลขที่ชัดเจน สหรัฐอเมริกาใช้เวลาตรวจคนไข้เฉลี่ย 20 นาทีต่อคน ในขณะที่ประเทศไทยใช้เพียง 2-3 นาที นั่นเชื่อได้ว่าอัตราความผิดพลาดย่อมสูงกว่า” พ.อ.ผศ.นพ.กิฎาพล วัฒนกูล

44 แพทย์37,598คน ปชก. 64 ล้านคน รพ.สธ. 824 แห่ง
สถิติเปรียบเทียบที่น่าสนใจ แพทย์37,598คน ปชก. 64 ล้านคน รพ.สธ. 824 แห่ง 12,000 คน สธ. สปสช ล้านคน สปส ล้านคน ขรก ล้านคน OPD 2.7ครั้ง/คน/ปี (200ล้านครั้ง/ปี) IPD 11% จาก ปชช.(6.9 ล้านคน/ปี) บุคลากร เครียด วิตก ขาดขวัญกำลังใจ จม.ข่าวแพทยสภา ปี๑๕ ฉบับ๒/๕๒ หน้า๑๑ พ.อ.ผศ.นพ.กิฎาพล วัฒนกูล

45 พ.ร.บ.คุ้มครองความเสียหายฯ และการเมืองภาคประชาชน โดย สุจิตรา
ประเทศในสแกนดิเนเวีย(ที่ชอบนำมาเปรียบเทียบ) กับ ประเทศไทยนั้น ต่างกันอย่างมาก ไม่ว่าจะในแง่ของ จำนวนประชากร (นอร์เวย์ 4.6 ล้านคน สวีเดน 9 ล้านคน ไทย 64 ล้านคน) รายได้ต่อหัวประชากร นอร์เวย์ 58,600 เหรียญ/ประชากร สวีเดน 36,800 เหรียญ/ประชากร ไทย ,100 เหรียญ/ประชากร วัฒนธรรม ประเพณี ระบบสวัสดิการสังคมของประเทศ ระบบการดูแลรักษาสุขภาพของประชาชน สำนึกในการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ การรู้ผิดชอบชั่วดี (มิเช่นนั้นคงไม่เกิดเหตุการณ์เผาบ้าน เผาเมืองในช่วงที่ผ่านมา) พ.ร.บ.คุ้มครองความเสียหายฯ และการเมืองภาคประชาชน โดย สุจิตรา

46 ประเทศไต้หวัน ประเทศไทย
ประชากร แพทย์ ประเทศไต้หวัน ประเทศไทย 23 ล้านคน 50,000 คน 63 ล้านคน 37,000 คน กองทุน กองทุนเดียว ปชช.จ่าย + รัฐบาลสมทบ(สัดส่วนตามอาชีพ) ยกเว้นทหารผ่านศึกและผู้ที่มีรายได้น้อย รัฐบาลจ่าย 100 % รวมเงินกองทุน 400,000 ล้านบาท 3 กองทุน รัฐบาลจ่าย 100 % (เฉพาะ PCU) รวมเงินกองทุน 100,000 ล้านบาท ( เฉพาะ UC) อัตรา ร่วมจ่าย (Copay) ปชช. ร่วมจ่ายในการใช้บริการ ในอัตราที่แตกต่างกันระหว่างการใช้ OPD IPD ทันตกรรม และค่ายา ยกเว้น ในกลุ่มโรคที่รุนแรง และราคาแพง, ค่าคลอดบุตร, การบริการในพื้นที่ดันดาร, ผู้ป่วยกลุ่มที่มีรายได้น้อย, ทหารผ่านศึก, เด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี, การบริการส่งเสริมป้องกันโร * รายได้ < 19,200 NTS ไม่ต้องจ่ายสมทบเข้ากองทุน ไม่มีอัตราร่วมจ่าย ยกเว้น ผู้ป่วยโรคไตวาย ที่เลือกใช้การฟอกเลือด ร่วมจ่าย 500 บาทต่อครั้ง - จ่ายเพิ่มเติมกรณีขอใช้บริการเกินสิทธิประโยชน์ เช่น ห้องพิเศษ อัตรา การใช้บริการ ผู้ป่วยนอก OPD 14 ครั้ง/คน/ปี ผู้ป่วยใน IPD ร้อยละ 1.4 OPD ครั้ง/คน/ปี IPD ร้อยละ 11 Taiwan,19-23Oct.2008 พ.อ.ผศ.นพ.กิฎาพล วัฒนกูล

47 ประเทศไต้หวัน ประเทศไทย
ประชากร แพทย์ ประเทศไต้หวัน ประเทศไทย 23 ล้านคน 50,000 คน 63 ล้านคน 37,000 คน กองทุน กองทุนเดียว ปชช.จ่าย + รัฐบาลสมทบ(สัดส่วนตามอาชีพ) ยกเว้นทหารผ่านศึกและผู้ที่มีรายได้น้อย รัฐบาลจ่าย 100 % รวมเงินกองทุน 400,000 ล้านบาท 3 กองทุน รัฐบาลจ่าย 100 % (เฉพาะ PCU) รวมเงินกองทุน 100,000 ล้านบาท ( เฉพาะ UC) อัตรา ร่วมจ่าย (Copay) ปชช. ร่วมจ่ายในการใช้บริการ ในอัตราที่แตกต่างกันระหว่างการใช้ OPD IPD ทันตกรรม และค่ายา ยกเว้น ในกลุ่มโรคที่รุนแรง และราคาแพง, ค่าคลอดบุตร, การบริการในพื้นที่ดันดาร, ผู้ป่วยกลุ่มที่มีรายได้น้อย, ทหารผ่านศึก, เด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี, การบริการส่งเสริมป้องกันโร * รายได้ < 19,200 NTS ไม่ต้องจ่ายสมทบเข้ากองทุน ไม่มีอัตราร่วมจ่าย ยกเว้น ผู้ป่วยโรคไตวาย ที่เลือกใช้การฟอกเลือด ร่วมจ่าย 500 บาทต่อครั้ง - จ่ายเพิ่มเติมกรณีขอใช้บริการเกินสิทธิประโยชน์ เช่น ห้องพิเศษ กำหนด บริการที่ OPD ผป. OPD ต้องมาลงทะเบียนก่อนตอนเช้า ถ้าเต็มแล้วให้มาวันใหม่ ยกเว้น ผป.ฉุกเฉิน ให้ไปEMS ได้เลย ผป. OPD ไม่จำกัด ขาจร ต้องพยายามให้บริการจนหมด ต้องได้พบแพทย์ทุกคน เมื่อให้สิทธิ ก็มีสิทธิใช้ แต่ความจำเป็นการใช้ อยู่ในมุมมองของใคร ไต้หวันจึงต้องกำหนด การร่วมจ่าย เพื่อลดความไม่จำเป็น ป่วยมาก ป่วยบ่อย จ่ายมาก แต่ยังช่วยคนจนอยู่ ปชช.อาจไม่ถูกใจ แต่ส่วนมากยอมรับ อัตรา การใช้บริการ ผู้ป่วยนอก OPD 14 ครั้ง/คน/ปี ผู้ป่วยใน IPD ร้อยละ 1.4 OPD ครั้ง/คน/ปี IPD ร้อยละ 11 Taiwan,19-23Oct.2008 พ.อ.ผศ.นพ.กิฎาพล วัฒนกูล

48 ขยาย ม.41 คือ คำตอบ โดยการบังคับใช้ ม.9 ใน พ.ร.บ.หลักประกันสุขภาพฯ
เรื่องขอบเขตของสิทธิบริการ ให้เป็นไปตามกฎ ระเบียบ ประกาศ มติคณะ รมต. เพื่อให้รวม *ขรก. ลูกจ้าง / พนง. ลูกจ้างรัฐวิสาหกิจ *สามารถปฏิบัติได้ทันที เร็วกว่า รอ พ.ร.บ.นี้ *มี สำนักงานอยู่ทุกจังหวัดแล้ว *มีประสบการณ์ การรับเรื่องร้องเรียน *มีก้อนเงิน (1%)จากรัฐรออยู่แล้ว พ.อ.ผศ.นพ.กิฎาพล วัฒนกูล

49 อาจารย์ผู้ใหญ่เหนื่อยกันมาก
คมชัดลึก : ตัวแทนแพทย์-พยาบาลพบนายกฯ ค้านพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พรรค ปชป., 22 ก.ค. 2553 พ.อ.ผศ.นพ.กิฎาพล วัฒนกูล

50 สรุป ความเห็นผู้บรรยาย
เงินไม่ได้แก้ปัญหา ไม่ได้ลดความบาดหมาง เอาเงินมาเป็นตัวตั้ง - จึงเป็นวิธีคิดที่น่าจะผิด ควรเอาเงินแก้ระบบ ปัจจัยที่เป็นปัญหา ต้องปรับทัศนคติประชาชนให้ดูแลสุขภาพตนเอง และ รัฐฯ ต้องลด เลิก อบายมุข การพนันฯลฯ ผู้ป่วยมา รพ. เพราะ ๑.ต้องการรับการรักษา ๒.ต้องการให้รับตัวไว้ ๓.ต้องการให้ส่งต่อ พ.อ.ผศ.นพ.กิฎาพล วัฒนกูล

51 สรุป ความเห็นผู้บรรยาย
สรุปคือ-กฎหมายนี้ต้องทำให้กลไกของรัฐเดินต่อได้ แต่ ต้นตอปัญหาคือ ทรัพยากรรัฐไม่พอ ทั้งของ คน และ งบประมาณ -ในกรณีภาระงานหนัก แพทย์ พยาบาลทุกคน รู้ดี ว่า ทำไม่ไหว “เนื้อหาสาระ” แบบนี้.. โดนร้องเรียนแน่ -กลุ่มผู้ปฏิบัติงานจึง ขอให้ปรับเนื้อหาให้เข้ากับ ระบบงานสาธารณสุขของจริง ไม่ใช่ ขอให้ใช้อุดมการณ์อย่างเดียว พ.อ.ผศ.นพ.กิฎาพล วัฒนกูล

52 สรุป ความเห็นผู้บรรยาย ทำไมไม่ทดลองนำระบบนี้มาใช้ในบางจังหวัด
                   ถ้าทุกฝ่ายจริงใจ ไม่มีผลประโยชน์แอบแฝง ทำไมไม่ทดลองนำระบบนี้มาใช้ในบางจังหวัด เป็น Pilot Project และติดตามดู ผลที่เกิดขึ้น ว่า * เป็นไปดังเจตนารมณ์ของกฎหมาย ? * การฟ้องร้องทางการแพทย์ลดลง ? * ความสัมพันธ์ระหว่างแพทย์และผู้ป่วยดีขึ้น ? พ.อ.ผศ.นพ.กิฎาพล วัฒนกูล

53 สรุป มติ รพ.ภูมิพลอดุลยเดช
วันนี้(๑๖ก.ย.๕๓)ที่รพ.ภูมิพลอดุลยเดช ประสบความสำเร็จมากครับ ผู้เข้าร่วม 350 ทุกสาขาวิชาชีพ มีฉันทามติ คือยกมือกันทั้งห้องประชุมโดยไม่ต้องเสียเวลานับคะแนน คือ *ให้ถอนร่างรัฐบาล, *สนับสนุนการขยาย ม.๔๑, *สนับสนุนการส่งร่าง พรบ.ประกบ, *ประชาสัมพันธ์ให้ปชช.ทราบข้อเท็จจริงที่ซ่อนเร้น, การุณ พ.อ.ผศ.นพ.กิฎาพล วัฒนกูล

54 สรุป ความเห็นผู้บรรยาย สรุป เห็นควร คัดค้านครับ
ประเทศไทยมีประวัติศาสตร์ที่ยาวนาน ระบบสาธารณสุขยังคงต้องอยู่อีกยาวนาน เราก็ยังมีเวลาอีกมากพอที่จะพิจารณาให้ดี ไม่มีเหตุจำเป็นใดๆ ที่ต้องเร่งรีบ ออกกฎหมาย ที่อาจเกิดผลกระทบในแง่ลบ ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว สรุป เห็นควร คัดค้านครับ แม้ไม่เป็นผล แต่เป็นการแสดง มติ

55

56 All rights reserved: Col.Asst.Prof. W.Kidaphol MD.MPHM.RCFPT.
ขอบคุณครับ All rights reserved: Col.Asst.Prof. W.Kidaphol MD.MPHM.RCFPT.


ดาวน์โหลด ppt ประชาพิจารณ์ พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ....

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google