งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

จัดโดย APO ณ ประเทศปากีสถาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "จัดโดย APO ณ ประเทศปากีสถาน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

0 งานเสวนา จัดโดยสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ
“Building Value Creation For Driving SMEs Competitiveness” จัดโดยสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ 21 กันยายน เวลา – น. ณ ห้องจามจุรี ชั้น M โรงแรมปทุมวัน ปริ้นเซส Marketing Research

1 จัดโดย APO ณ ประเทศปากีสถาน
ความร่วมมือเพื่อพัฒนาขีดความสามารถ ด้านเทคโนโลยีของ SMEs จาก Symposium on Strategic Alliances among SMEs through Technology Fusion จัดโดย APO ณ ประเทศปากีสถาน โดย.... บัวรัตน์ ศรีนิล ภาควิชาการตลาด คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Marketing Research

2 ประเด็นสำคัญ บทบาทและความสำคัญของ SMEs บทบาทและความสำคัญของเทคโนโลยี
ประสบการณ์ของประเทศที่ประสบความสำเร็จ แนวทางการพัฒนาความร่วมมือในประเทศไทย

3 1. บทบาทและความสำคัญของ SMEs
จำนวนของธุรกิจหรือผู้ประกอบการ มูลค่าการผลิต การจ้างงาน การสร้างมูลค่าเพิ่ม SMEs จึงส่งผลกระทบโดยตรงต่อระบบเศรษฐกิจและสังคม ของทุกประเทศ

4 2. บทบาทและความสำคัญของเทคโนโลยี
2. บทบาทและความสำคัญของเทคโนโลยี เป็นกลไกสำหรับความสำเร็จและความเข้มแข็งของ SMEs กระบวนการผลิต ระบบการบริหารงาน เพื่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการเผชิญกับ สภาพแวดล้อมภายนอก

5 2. บทบาทและความสำคัญของเทคโนโลยี
2. บทบาทและความสำคัญของเทคโนโลยี แรงกดดันจากสภาพแวดล้อมภายนอก กระแสโลกาภิวัตน์และภาวะการแข่งขัน ความต้องการและความคาดหวังของผู้บริโภค กฎเกณฑ์การค้าระหว่างประเทศ พัฒนาการที่รวดเร็วของเทคโนโลยี SMEs ต้องพัฒนา Competitive Advantages โดยใช้เทคโนโลยี ทำการผลิตสินค้าและบริการให้มีคุณภาพสูงขึ้นด้วยต้นทุน ที่ประหยัดกว่า รวมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารงาน

6 3. ความจำเป็นในการร่วมมือพัฒนาขีดความสามารถด้านเทคโนโลยี
3. ความจำเป็นในการร่วมมือพัฒนาขีดความสามารถด้านเทคโนโลยี แรงกดดันจากภายนอกรุนแรงมากขึ้น ตลอดเวลา SMEs มีขีดความสามารถจำกัด ด้านเทคโนโลยี ด้านเงินทุน ยากที่จะดำเนินการได้โดยลำพัง

7 4. ประสบการณ์ของประเทศที่ประสบความสำเร็จ
4. ประสบการณ์ของประเทศที่ประสบความสำเร็จ สินค้าและบริการที่ผลิตได้ต้องมีลักษณะ Market - Oriented เป็นความร่วมมือระหว่างกิจการขนาดใหญ่กับกิจการ ขนาดเล็ก โดยมีความไว้วางใจกัน (Trust) ส่วนใหญ่เป็นกิจการที่ทำการผลิต (Manufacturing Firms) มีค่าใช้จ่ายในการร่วมมือต่ำ (Low Transaction Costs)

8 4. ประสบการณ์ของประเทศที่ประสบความสำเร็จ
4. ประสบการณ์ของประเทศที่ประสบความสำเร็จ มีการส่งเสริมการพัฒนาเทคโนโลยีไปสู่ธุรกิจ (Commercialization) โดย Business Incubator นักประดิษฐ์ คิดค้น นักวิชาการ (อาจารย์และนักศึกษา) มีผลการดำเนินงานที่ชัดเจนภายใน 12 เดือน ระดับการศึกษา (+) และอายุ (-) ของผู้บริหารระดับสูงมีอิทธิพลต่อการร่วมมือ

9 ประโยชน์ของความร่วมมือ
การประหยัดจาก Economies of Scale & Scope การเข้าถึงแหล่งทรัพยากรจากภายนอก การเข้าถึงแหล่งข้อมูล – ด้านเทคโนโลยี และการตลาด การแบ่งงานตามความถนัด (Specialization) การลดความเสี่ยง

10 5. แนวทางการพัฒนาความร่วมมือในประเทศไทย
5. แนวทางการพัฒนาความร่วมมือในประเทศไทย รูปแบบความร่วมมือตามปกติ Technical Assistance Agreement “Know – how” Agreement Joint Venture Subcontracting Licensing Franchising Sharing of Knowledge Sharing of Profit IP Commercial- ization Market & Customer oriented

11 5. แนวทางการพัฒนาความร่วมมือในประเทศไทย
5. แนวทางการพัฒนาความร่วมมือในประเทศไทย แนวทางการพัฒนาความร่วมมือ กรอบ : ความร่วมมือภายในประเทศ ระหว่างประเทศ ภายในภูมิภาค วิธีการ : พัฒนา Information Networks มี SMEs Database จัดการประชุม สัมมนา โดยเฉพาะ สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ ให้เงินสนับสนุน (Subsidies) สำหรับ SMEs สร้างกลไกความร่วมมือที่เข้มแข็ง

12 5. แนวทางการพัฒนาความร่วมมือในประเทศไทย
5. แนวทางการพัฒนาความร่วมมือในประเทศไทย แนวทางการพัฒนาความร่วมมือ ผู้มีส่วนร่วม : ภาครัฐ สมาคมหรือชมรมทางธุรกิจ SMEs สถาบันวิจัย / มหาวิทยาลัย

13 Q & A


ดาวน์โหลด ppt จัดโดย APO ณ ประเทศปากีสถาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google