งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

‘Is Yours a Learning Organization’?

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "‘Is Yours a Learning Organization’?"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ‘Is Yours a Learning Organization’?

2 “We are a learning organization,” any more than you can say,
You can never say, “We are a learning organization,” any more than you can say, “I am an enlightened person.” (p.11) Peter M. Senge

3 ระดับการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้
แบบทดสอบ

4 องค์การแห่งการเรียนรู้คือ...
ที่ๆซึ่งบุคลากรมีความเป็นเลิศใน การสร้างสรรค์ (Creating) และพัฒนาความรู้ใหม่ๆ, ได้มาซึ่ง (Acquiring) และจัดเก็บความรู้อย่างเป็นระบบ, และ ถ่ายทอด (Transferring) แลกเปลี่ยนความรู้ David M. Garvin, Amy C. Edmondson, and Francesco Gino (2008) Is Yours a Learning Organization?

5 องค์ประกอบ 3 ประการของ การสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้
สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ (Supportive learning environment) กระบวนการและการดำเนินการการเรียนรู้ที่เป็นรูปธรรม (Concrete Learning Processes and Practices) พฤติกรรมของผู้นำที่กระตุ้นการเรียนรู้ (Leadership That Reinforcing Learning) Source: Garvin, D. et al. (2008) ‘Is Yours a Learning Organization’, Harvard Business Review.

6 สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้
มีบรรยากาศของ “ความปลอดภัยเชิงจิตวิทยา” (Psychological safety) องค์กรจะต้อง “ชื่นชมยอมรับในความแตกต่าง” (Appreciation of differences) องค์กรจะต้อง “เปิดกว้างต่อทัศนะใหม่ๆ” (Openness to new ideas) องค์กรจะต้อง “มีเวลาให้ได้คิดเชิงสะท้อน” (Time for reflection)

7 กระบวนการและการดำเนินการ การเรียนรู้ที่เป็นรูปธรรม
องค์กรจะต้องส่งเสริม “ให้มีการทดลอง” (Experimentation) องค์กรส่งเสริมให้ “มีการเก็บรวบรวมข้อมูล” (Information collection) โดยมีการเก็บรวบรวมข้อมูลอย่างเป็นระบบเพื่อติดตามความเคลื่อนไหวและแนวโน้มด้านการแข่งขัน คู่แข่งขัน ลูกค้า แนวโน้มด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง กฏหมาย และเทคโนโลยีใหม่ๆ องค์กรส่งเสริมให้ “มีการวิเคราะห์” (Analysis) โดยจัดให้บุคลากรได้มีการสนทนา (Dialogue) อภิปราย (Discuss) แล้วตีความข้อคิดเห็นและข้อมูลเพื่อทำความเข้าใจและระบุหาปัญหาและแสวงหาแนวทางแก้ไขปัญหาเหล่านั้นร่วมกันอย่างสร้างสรรค์ องค์กรจัดให้มี “การศึกษาและฝึกอบรม” (Education and Training) เพื่อพัฒนาบุคลากรทั้งกลุ่มใหม่และกลุ่มเก่าได้มีความรู้ความสามารถในการทำงานอย่างเพียงพอ องค์การจัดให้มี “การถ่ายโอนข้อมูล” (Information transfer)

8 ภาวะผู้นำที่กระตุ้นการเรียนรู้
การเป็นผู้บริหารที่ใจกว้าง ยอมรับฟังข้อคิดเห็นจากผู้อื่น การเป็นผู้นำที่ถ่อมตน ยอมรับข้อจำกัดของตนเองและเคารพความชำนาญการของผู้อื่น เป็นนักตั้งคำถามที่ดี เป็นนักฟังที่ดี เป็นนักกระตุ้นให้เกิดการแสดงมุมมองที่หลากหลาย เป็นนักบริหารเวลา สถานที่ และ ทรัพยากรเพื่อการค้นพบปัญหาและข้อท้าทายต่อองค์กร เป็นนักบริหารเวลา สถานที่ และ ทรัพยากรเพื่อการสะท้อนและปรับปรุงผลการทำงานในอดีต

9 1.สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้
Negative Positive 1 2 3 1.1 องค์กรมีบรรยากาศของ “ความปลอดภัยเชิงจิตวิทยา” 1.2 องค์กร “ชื่นชมยอมรับในความแตกต่าง” 1.3 องค์กรจะต้อง “เปิดกว้างต่อทัศนะใหม่ๆ” 1.4 องค์กรจะต้อง “มีเวลาให้ได้คิดเชิงสะท้อน”

10 ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง
1.1 Psychological safety ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง ไม่เห็นด้วย เห็นด้วย เห็นด้วยมาก เห็นด้วยอย่างยิ่ง ในองค์กรแห่งนี้ คุณสามารถพูดในสิ่งที่คุณคิดได้ โดยไม่ต้องวิตกกังวล ความผิดพลาดในการทำงานเป็นสิ่งที่รับได้ในองค์กร การพูดถึงปัญหาและการแสดงความไม่เห็นด้วยถือเป็นเรื่องที่ยอมรับกันได้ในองค์กรแห่งนี้ คนในองค์กรนี้กระตือรือล้นที่จะแชร์ข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องที่ทำได้ผลและเรื่องที่ไม่ work การเปิดเผย วิเคราะห์ อภิปราย แลกเปลี่ยนข้อมูลกันถือเป็นปัจจัยหนึ่งที่จะทำให้มีความก้าวหน้าในองค์กรแห่งนี้

11 1.2 Appreciation of Difference
ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง ไม่เห็นด้วย เห็นด้วย เห็นด้วยมาก เห็นด้วยอย่างยิ่ง ความคิดเห็นที่แตกต่างถือเป็นสิ่งที่องค์กรนี้ชื่นชม ความคิดเห็นที่ไม่เหมือนคนส่วนใหญ่ถือเป็นสิ่งที่มีคุณค่าสำหรับองค์กรแห่งนี้ มีการจัดการกับความคิดเห็นที่แตกต่างโดยกระบวนการทำงานเป็นกลุ่ม มากกว่าเป็นเรื่องส่วนตัว คนในองค์กรนี้มีจิตใจเปิดกว้างต่อทางเลือกใหม่ๆที่จะทำให้งานสำเร็จ

12 ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง
1.3 Openness to New Idea ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง ไม่เห็นด้วย เห็นด้วย เห็นด้วยมาก เห็นด้วยอย่างยิ่ง ในองค์กรแห่งนี้ ผู้คนให้คุณค่าความสำคัญกับความคิดใหม่ๆ คนในองค์กรนี้สนใจใคร่รู้แนวทางใหม่ๆในการทำงานให้สำเร็จ คนในองค์กรนี้พร้อมที่จะทดลองแนวคิดแนวทางการทำงานใหม่ๆ คนในองค์กรนี้กระตือรือล้นที่จะนำแนวคิดแนวทางใหม่ๆมาใช้ปรับปรุงคุณภาพในการทำงาน

13 1.4 Time for Reflection ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง ไม่เห็นด้วย เห็นด้วย เห็นด้วยมาก เห็นด้วยอย่างยิ่ง คนในองค์กรนี้ไม่ได้อยู่ภายใต้สภาวะความเครียดกดดันเกินไปจนไม่มีเวลามาหารือกัน ถึงแม้จะทำงานหนักเต็มที่ คนในองค์กรนี้ก็ยังหาเวลามาทบทวนการทำงานที่ผ่านมา คนในองค์กรนี้พร้อมที่จะลงทุนสละเวลาเพื่อมาหารือการปรับปรุงการทำงาน คนในองค์กรนี้ไม่มีข้ออ้างเรื่อง “ไม่มีเวลา” ที่จะมาคิดวิเคราะห์ (Reflection) เพื่อปรับปรุงงาน องค์กรมีการจัดตารางเวลาให้บุคลากรได้มีเวลาที่จะมาพิจารณาเพื่อการทำงานให้ดีขึ้น

14 2. แบบประเมินกระบวนการและการดำเนินการ การเรียนรู้ที่เป็นรูปธรรม
Negative Positive 1 2 3 2.1 องค์กรส่งเสริม “ให้มีการทดลอง” 2.2 องค์กรส่งเสริมให้ “มีการเก็บรวบรวมข้อมูล” 2.3 องค์กรส่งเสริมให้ “มีการวิเคราะห์” (Analysis) จัดให้มีการสนทนา (Dialogue) อภิปราย (Discuss) 2.4 องค์กรจัดให้มี “การศึกษาและฝึกอบรม” เพื่อพัฒนาบุคลากรทั้งกลุ่มใหม่และกลุ่มเก่า 2.5 องค์การจัดให้มี “การถ่ายโอนข้อมูล”

15 2.1 Experimentation องค์กรของเรามีการทดลองแนวทางการทำงานใหม่ๆอยู่เสมอ
ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง ไม่เห็นด้วย เห็นด้วย เห็นด้วยมาก เห็นด้วยอย่างยิ่ง องค์กรของเรามีการทดลองแนวทางการทำงานใหม่ๆอยู่เสมอ องค์กรของเรามีการทดลองนำเสนอสินค้าและ/หรือบริการแบบใหม่ๆอยู่เสมอ องค์กรของเรามีกระบวนการที่เป็นทางการที่จะก่อให้เกิดการทดลองและประเมินผลการทดลองแนวคิดใหม่ เมื่อมีการทดลองแนวคิดใหม่ๆ องค์กรของเรามักจะมีการทำต้นแบบ (Prototypes), มีโครงการต้นแบบหรือ simulations

16 2.2 Information Collection
ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง ไม่เห็นด้วย เห็นด้วย เห็นด้วยมาก เห็นด้วยอย่างยิ่ง องค์กรของเรามีการเก็บข้อมูลต่อไปนี้อย่างเป็นระบบอย่างสม่ำเสมอ แนวโน้มทางเศรษฐกิจและสังคม ข้อมูลเกี่ยวกับคู่แข่งขัน ข้อมูลเกี่ยวกับลูกค้า ข้อมูลแนวโน้มทางเทคโนโลยี องค์กรของเรามักจะเปรียบเทียบการดำเนินงานของตนเองอย่างสม่ำเสมอกับ คู่แข่งขัน องค์กรชั้นนำ (Best-in-class organizations)

17 ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง
2.3 Analysis ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง ไม่เห็นด้วย เห็นด้วย เห็นด้วยมาก เห็นด้วยอย่างยิ่ง องค์กรของเราส่งเสริมให้มีการนำเอาข้อมูลที่ได้จากการจัดเก็บมาทำการวิเคราะห์และอภิปราย องค์กรของเราส่งเสริมให้มีการอภิปรายแลกเปลี่ยนความเห็นที่ขัดแย้งกันและนำไปสู่ผลลัพธ์ที่ก่อผล เมื่อมีการอภิปรายแลกเปลี่ยนความเห็นมักจะไม่ลงเอยด้วยความคลุมเครือ แต่จะพยายามหาทางออกที่สร้างสรรค์ แม้ผลการอภิปรายจะได้ข้อยุติที่ดีแล้ว แต่องค์กรก็หมั่นกลับมาทบทวนเพื่อปรับปรุงข้อยุตินี้ให้ดียิ่งขึ้น องค์กรมักจะมีการนำเสนอและจัดอภิปรายถึงปัจจัย ตัวแปร สมมติฐานที่อาจจะส่งผลกระทบต่อการตัดสินใจ

18 2.4 Education & Training ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง ไม่เห็นด้วย เห็นด้วย เห็นด้วยมาก เห็นด้วยอย่างยิ่ง องค์กรของเราจัดให้มีการฝึกอบรมพนักงานใหม่อย่างเพียงพอต่อการทำงานที่ดี สำหรับพนักงานเก่า ได้รับการอบรมให้เท่าทันเป็นระยะๆ ได้รับการฝึกอบรมเมื่อจะถูกปรับไปสู่ตำแหน่งใหม่ ได้รับการฝึกอบรมเมื่อมีสิ่งใหม่ๆ เช่น ความรู้ เทคโนโลยี กฎหมาย ฯลฯ เกิดขึ้น องค์กรของเรา ถือว่าการฝึกอบรมและพัฒนาเป็นสิ่งมีคุณค่า เป็นการลงทุนระยะยาวขององค์กร องค์กรของเรา มีการเจียดเวลาให้กับกิจกรรมการฝึกอบรมและพัฒนาแก่พนักงานอย่างเหมาะสม

19 ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง
2.5 Information Transfer ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง ไม่เห็นด้วย เห็นด้วย เห็นด้วยมาก เห็นด้วยอย่างยิ่ง องค์กรของเรามี forums สำหรับการประชุมและเรียนรู้จาก ผู้เชี่ยวชาญจากส่วน,ฝ่าย,สายงานอื่นในองค์กร ผู้เชี่ยวชาญจากภายนอกองค์การ ลูกค้าและผู้รับบริการ คู่ค้า (Suppliers) องค์กรของเรามักจะมีการ share ข้อมูลกันเป็นเครือข่ายระหว่างผู้เชี่ยวชาญภายในองค์การ องค์กรของเรามักจะมีการ share ข้อมูลกันกับเครือข่ายผู้เชี่ยวชาญภายนอกองค์การ องค์กรของเรามีการสื่อสารความรู้ใหม่ๆให้กับผู้ที่ต้องตัดสินใจในเรื่องนั้นๆอย่างรวดเร็ว องค์กรของเรามีการติดตามประเมินผล (Post-audits) และ การทบทวนหลังปฏิบัติงาน (After Action Review) อย่างสม่ำเสมอ

20 3. แบบประเมินพฤติกรรมผู้นำ
Negative Positive 1 2 3 3.1 ผู้บริหารใจกว้าง ยอมรับฟังข้อคิดเห็นจากผู้อื่น 3.2 ผู้นำที่ถ่อมตน ยอมรับข้อจำกัดของตนเองและเคารพความชำนาญการของผู้อื่น 3.3 เป็นนักตั้งคำถามที่ดี 3.4 เป็นนักฟังที่ดี 3.5 เป็นนักกระตุ้นให้เกิดการแสดงมุมมองที่หลากหลาย 3.6 เป็นนักบริหารเวลา สถานที่ และ ทรัพยากรเพื่อการค้นพบปัญหาและข้อท้าทายต่อองค์กร 3.7 เป็นนักบริหารเวลา สถานที่ และ ทรัพยากรเพื่อการสะท้อนและปรับปรุงผลการทำงานในอดีต

21 Leadership that reinforces Learning
ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง ไม่เห็นด้วย เห็นด้วย เห็นด้วยมาก เห็นด้วยอย่างยิ่ง ผู้บริหารของเรามักจะกระตุ้นเชิญชวนให้คนแสดงความคิดเห็นเมื่อมีการ discussion ผู้บริหารของเราไม่อายที่จะยอมรับถึงข้อจำกัดของตนเองในด้านความรู้ ข้อมูลและความชำนาญการ ผู้บริหารเป็นนักตั้งคำถามเพื่อหาทางออกที่สร้างสรรค์ ผู้บริหารเป็นนักฟังที่ดีและใส่ใจจริง ผู้บริหารสนับสนุนส่งเสริมมุมมองที่หลากหลาย ผู้บริหารจัดให้มีเวลา ทรัพยากร และสถานที่ เพื่อให้มีการวิเคราะห์ประเด็นปัญหาและสิ่งท้าทายที่มีต่อองค์กร ผู้บริหารจัดให้มีเวลา ทรัพยากร และสถานที่ เพื่อให้มีการสะท้อนและปรับปรุงผลการทำงานที่ผ่านมา ผู้บริหารเปิดใจกว้างยอมรับมุมมองอื่นๆที่แตกต่างจากตนเอง

22 สรุปจุดแข็งจุดอ่อนและแนวทางการสร้าง LO
แนวทางการแก้ไขปัญหาที่เป็นจุดอ่อน จุดแข็ง = ให้เลือกข้อที่ได้คะแนนสูงสุด 5 อันดับแรก จุดอ่อน = ให้เลือกข้อที่ได้คะแนนต่ำที่สุด 5 อันดับแรก


ดาวน์โหลด ppt ‘Is Yours a Learning Organization’?

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google