งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ป้ายรถเมล์อัจฉริยะ COE2010-14 Smart Bus Stop ป้ายรถเมล์อัจฉริยะ COE2010-14 Smart Bus Stop หลักการและเหตุผล หลักการและเหตุผล เทคโนโลยี Zigbee เป็นการสื่อสาร.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ป้ายรถเมล์อัจฉริยะ COE2010-14 Smart Bus Stop ป้ายรถเมล์อัจฉริยะ COE2010-14 Smart Bus Stop หลักการและเหตุผล หลักการและเหตุผล เทคโนโลยี Zigbee เป็นการสื่อสาร."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ป้ายรถเมล์อัจฉริยะ COE2010-14 Smart Bus Stop ป้ายรถเมล์อัจฉริยะ COE2010-14 Smart Bus Stop หลักการและเหตุผล หลักการและเหตุผล เทคโนโลยี Zigbee เป็นการสื่อสาร แบบไร้สาย ซึ่งเน้น การประหยัดพลังงาน ความเร็วการรับส่ง ข้อมูลต่ำและมี ราคาถูก ช่วยทำให้การสื่อสารข้อมูล เป็นไปด้วยความสะดวก โดยเราสามารถนำเทคโนโลยี Zigbee มา ประยุกต์ใช้ได้ หลายระบบ โครงการนี้จึงเป็นโครงการที่นำเอา ความรู้ทางเทคโนโลยี Embedded System และเทคโนโลยี Zigbee มา ประยุกต์ใช้ โดยทำการระบุตำแหน่งของ รถเมล์ และส่งข้อมูล ตำแหน่งของรถเมล์ผ่านทาง Xbee ซึ่งจะ ใช้หลอด Led ในการแสดงผลข้อมูลดังกล่าวในแต่ละ ป้ายรถเมล์ เพื่อ อำนวยความสะดวกในการเดินทาง เทคโนโลยี Zigbee เป็นการสื่อสาร แบบไร้สาย ซึ่งเน้น การประหยัดพลังงาน ความเร็วการรับส่ง ข้อมูลต่ำและมี ราคาถูก ช่วยทำให้การสื่อสารข้อมูล เป็นไปด้วยความสะดวก โดยเราสามารถนำเทคโนโลยี Zigbee มา ประยุกต์ใช้ได้ หลายระบบ โครงการนี้จึงเป็นโครงการที่นำเอา ความรู้ทางเทคโนโลยี Embedded System และเทคโนโลยี Zigbee มา ประยุกต์ใช้ โดยทำการระบุตำแหน่งของ รถเมล์ และส่งข้อมูล ตำแหน่งของรถเมล์ผ่านทาง Xbee ซึ่งจะ ใช้หลอด Led ในการแสดงผลข้อมูลดังกล่าวในแต่ละ ป้ายรถเมล์ เพื่อ อำนวยความสะดวกในการเดินทาง วัตถุประสงค์ของ โครงการ วัตถุประสงค์ของ โครงการ 1. เพื่อพัฒนาระบบการค้นหาตำแหน่ง ของรถเมล์ และส่ง ข้อมูลไปยังป้ายรถเมล์ โดยใช้ Zigbee 2. เพื่ออำนวยความสะดวกในการ เดินทางแก่ผู้โดยสาร และเป็นประโยชน์ ในการวางแผนการเดินทาง 3. เพื่อศึกษาการนำเอาความรู้ทาง Embedded System และเทคโนโลยี Zigbee มาประยุกต์ใช้งาน 1. เพื่อพัฒนาระบบการค้นหาตำแหน่ง ของรถเมล์ และส่ง ข้อมูลไปยังป้ายรถเมล์ โดยใช้ Zigbee 2. เพื่ออำนวยความสะดวกในการ เดินทางแก่ผู้โดยสาร และเป็นประโยชน์ ในการวางแผนการเดินทาง 3. เพื่อศึกษาการนำเอาความรู้ทาง Embedded System และเทคโนโลยี Zigbee มาประยุกต์ใช้งาน การออกแบบระบบ การออกแบบระบบ การพัฒนาระบบ จะแบ่งเป็นสองส่วน คือ 1. ส่วนไมโครคอนโทรลเลอร์ เป็นชุดอุปกรณ์ที่ใช้ติดต่อกับ Xbee เพื่อ ทำการรับส่งข้อมูล และควบคุมการ แสดงผลตำแหน่งของรถเมล์ผ่านหลอด Led โดยใช้ Led 4 สี เพื่อแทนสายรถเมล์ ทั้ง 4 สาย คือ Led สีแดง แทนรถเมล์สาย สีแดง, Led สีส้ม แทนรถเมล์สายสีส้ม, Led สีเหลือง แทนรถเมล์สายสีเหลือง และ Led สีฟ้า แทนรถเมล์สายสีฟ้า รูปบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ที่ใช้ใน โครงการ รูปแสดงการออกแบบป้ายแสดงผล 2. ส่วน Xbee เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ออกแบบเครือข่ายเพื่อ ทำการรับส่งสัญญาณระหว่างรถเมล์และ ป้ายรถเมล์แต่ละป้าย การพัฒนาระบบ จะแบ่งเป็นสองส่วน คือ 1. ส่วนไมโครคอนโทรลเลอร์ เป็นชุดอุปกรณ์ที่ใช้ติดต่อกับ Xbee เพื่อ ทำการรับส่งข้อมูล และควบคุมการ แสดงผลตำแหน่งของรถเมล์ผ่านหลอด Led โดยใช้ Led 4 สี เพื่อแทนสายรถเมล์ ทั้ง 4 สาย คือ Led สีแดง แทนรถเมล์สาย สีแดง, Led สีส้ม แทนรถเมล์สายสีส้ม, Led สีเหลือง แทนรถเมล์สายสีเหลือง และ Led สีฟ้า แทนรถเมล์สายสีฟ้า รูปบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ที่ใช้ใน โครงการ รูปแสดงการออกแบบป้ายแสดงผล 2. ส่วน Xbee เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ออกแบบเครือข่ายเพื่อ ทำการรับส่งสัญญาณระหว่างรถเมล์และ ป้ายรถเมล์แต่ละป้าย รูปแสดงการทำงานโดยรวมของ โครงการ การทดสอบระบบ การทดสอบระบบ 1. ทดสอบการแสดงผลของวงจร Led Matrix ขนาด 8x5 โดยใช้โปรแกรม scan matrix เนื่องจากป้ายแสดงผล มีจำนวน ของหลอด Led ทั้งสิ้น 40 หลอด ซึ่งการ แสดงผลในหลายจุดนั้น จำเป็นต้องทำ ให้หลอด Led ติดพร้อมกันหลายหลอด จึงใช้วิธีการ scan matrix รูปแสดงผลที่ได้จากโปรแกรม scan matrix 2. ทดสอบการรับส่งข้อมูลระหว่างชุด ไมโครคอนโทรลเลอร์ ซึ่งในแต่ละชุด ประกอบด้วยอุปกรณ์บอร์ด ไมโครคอนโทรลเลอร์ ที่เชื่อมต่อกับ Xbee โดยในโครงการจะเป็นการรับส่ง ข้อมูลระหว่างชุดอุปกรณ์ที่ติดตั้งไว้ใน แต่ละป้ายรถเมล์ จำนวน 4 ป้าย และ ติดตั้งที่รถเมล์ จำนวน 1 คัน รวมทั้งสิ้น 5 ชุด รูปแสดงการทดสอบรับส่งข้อมูลระหว่าง ชุดไมโครคอนโทรลเลอร์ 1. ทดสอบการแสดงผลของวงจร Led Matrix ขนาด 8x5 โดยใช้โปรแกรม scan matrix เนื่องจากป้ายแสดงผล มีจำนวน ของหลอด Led ทั้งสิ้น 40 หลอด ซึ่งการ แสดงผลในหลายจุดนั้น จำเป็นต้องทำ ให้หลอด Led ติดพร้อมกันหลายหลอด จึงใช้วิธีการ scan matrix รูปแสดงผลที่ได้จากโปรแกรม scan matrix 2. ทดสอบการรับส่งข้อมูลระหว่างชุด ไมโครคอนโทรลเลอร์ ซึ่งในแต่ละชุด ประกอบด้วยอุปกรณ์บอร์ด ไมโครคอนโทรลเลอร์ ที่เชื่อมต่อกับ Xbee โดยในโครงการจะเป็นการรับส่ง ข้อมูลระหว่างชุดอุปกรณ์ที่ติดตั้งไว้ใน แต่ละป้ายรถเมล์ จำนวน 4 ป้าย และ ติดตั้งที่รถเมล์ จำนวน 1 คัน รวมทั้งสิ้น 5 ชุด รูปแสดงการทดสอบรับส่งข้อมูลระหว่าง ชุดไมโครคอนโทรลเลอร์ ประโยชน์ที่ได้รับ ประโยชน์ที่ได้รับ 1. ได้อุปกรณ์ต้นแบบในการระบุตำแหน่ง ของรถเมล์ โดยใช้ หลอด Led เพื่อแสดงผลข้อมูลบนป้าย แสดงผลของแต่ละป้ายรถเมล์ สามารถ นำอุปกรณ์นี้ไปพัฒนาเพื่อใช้งานต่อได้ 2. ได้ความรู้ในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี Embedded System และเทคโนโลยี Zigbee 1. ได้อุปกรณ์ต้นแบบในการระบุตำแหน่ง ของรถเมล์ โดยใช้ หลอด Led เพื่อแสดงผลข้อมูลบนป้าย แสดงผลของแต่ละป้ายรถเมล์ สามารถ นำอุปกรณ์นี้ไปพัฒนาเพื่อใช้งานต่อได้ 2. ได้ความรู้ในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี Embedded System และเทคโนโลยี Zigbee อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ นักศึกษาผู้รับผิดชอบโครงการ อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ ดร. วสุ เชาว์พานนท์ นักศึกษาผู้รับผิดชอบโครงการ อาจารย์ผู้ร่วมประเมินโครงการ อาจารย์ผู้ร่วมประเมินโครงการ ดร. ชัชชัย คุณบัว 1. นางสาวนันทนา วลีขจรเลิศ 503040236-3 ดร. วิชชา เฟื่องจันทร์ 2. นางสาวกฤษวรรณ พิมพ์ดี 503040758-3 ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ นักศึกษาผู้รับผิดชอบโครงการ อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ ดร. วสุ เชาว์พานนท์ นักศึกษาผู้รับผิดชอบโครงการ อาจารย์ผู้ร่วมประเมินโครงการ อาจารย์ผู้ร่วมประเมินโครงการ ดร. ชัชชัย คุณบัว 1. นางสาวนันทนา วลีขจรเลิศ 503040236-3 ดร. วิชชา เฟื่องจันทร์ 2. นางสาวกฤษวรรณ พิมพ์ดี 503040758-3 ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น


ดาวน์โหลด ppt ป้ายรถเมล์อัจฉริยะ COE2010-14 Smart Bus Stop ป้ายรถเมล์อัจฉริยะ COE2010-14 Smart Bus Stop หลักการและเหตุผล หลักการและเหตุผล เทคโนโลยี Zigbee เป็นการสื่อสาร.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google