งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เครื่องแสดงภาพโดยใช้คลื่นอัลตราโซนิก Ultrasonic Imaging System

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เครื่องแสดงภาพโดยใช้คลื่นอัลตราโซนิก Ultrasonic Imaging System"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เครื่องแสดงภาพโดยใช้คลื่นอัลตราโซนิก Ultrasonic Imaging System
ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

2 ผู้พัฒนา ทีมงาน อาจารย์ที่ปรึกษา นายมนัสชัย คุณาเศรษฐ 453040870-4
นายมนัสชัย คุณาเศรษฐ นางสาวศศิธร พัวไพโรจน์ นายวิทวัส กาพย์ไกรแก้ว อาจารย์ที่ปรึกษา อ.ดร. นวภัค เอื้ออนันต์ อ.ดร. วรินทร์ สุวรรณวิสูตร อ.ดร. ดารณี หอมดี

3 ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา
คลื่นอัลตราโซนิก (Ultrasonic Wave) คลื่นเสียงที่มนุษย์ได้ยิน คือ 20 – 20,000 Hz อัลตราโซนิก มีความถี่มากกว่า 20 kHz คลื่นมีคุณสมบัติการสะท้อน ใช้ในการวัดระยะทาง ในตัวกลางต่างๆ

4 การวัดความหนาโดยใช้คลื่นอัลตราโซนิก
การวัดความหนา และ การสะท้อนจุดบกพร่อง ตัวอย่างการตรวจสอบ

5 วัตถุประสงค์ของโครงการ
พัฒนาระบบตรวจวัดความหนาของวัตถุโดยใช้คลื่นอัลตราโซนิกที่มีราคาถูกและให้ข้อมูลความหนาของวัตถุได้อย่างสมบูรณ์ พัฒนาระบบรวบรวมข้อมูลการตรวจสอบความหนาของวัตถุเพื่อนำมาสร้างเป็นภาพ 3 มิติ

6 Process & display result
โครงสร้างของระบบ Ultrasonic Probe Web Camera Process & display result

7 เครื่องมือที่ใช้ Hardware Data Acquisition Card Ultrasonic probe
Camera Filter and Amplifier Circuit DirectX 9.0 Compatible Graphics Card Software Platform Windows XP SP2 Microsoft C# .NET Microsoft DirectX 9.0 SDK

8 ขอบเขตของโครงงาน ผิวของวัตถุที่ตรวจสอบต้องมีลักษณะเรียบ
วัตถุที่ตรวจสอบ ต้องมีขนาดไม่หนาหรือบางเกินไป เป็นวัสดุที่คลื่นอัลตราโซนิกสามารถเดินทางผ่านได้

9 การหาตำแหน่งของหัวรับส่งสัญญาณ
การทำ Color Segmentation ใน RGB Vector Space เป็นการคัดเลือกพิกเซลสี ด้วยวิธี Euclidean distance

10 การส่งสัญญาณและตรวจหาสัญญาณสะท้อน
สร้างสัญญาณ Sinusoid เพื่อส่งไปยังหัวรับส่งสัญญาณ คลื่นอัลตราโซนิก สร้างจากการกระตุ้น piezoelectric ด้วยสัญญาณไฟฟ้า ความถี่ที่ใช้ คือ 2.5 MHz และ 5 MHz ตรวจสัญญาณสะท้อนโดยการหา Cross-Correlation

11 การส่งสัญญาณและตรวจหาสัญญาณสะท้อน

12 การแสดงผล กราฟแท่งระดับความหนาของวัตถุ
ภาพจำลอง 3 มิติ ของวัตถุ ซึ่งสร้างจากข้อมูลความหนา

13 ประสิทธิภาพในการวัดความหนา

14 ปัญหาที่พบจากการพัฒนา
สัญญาณที่ได้มีขนาดเบามาก เพราะความแตกต่างระหว่าง Acoustic Impedance ของวัตถุที่ตรวจสอบกับสาร Couplant มีสัญญาณรบกวน ขนาด 50 Hz ซึ่งพบว่าเกิดจากระบบไฟฟ้า AC 220 V

15 การแก้ไขปัญหา การ เพิ่มวงจรขยายสัญญาณ โดย Application ของ IC Inverter โดยมีอัตราขยายประมาณ 50 เท่า เพิ่มวงจรกรองสัญญาณ High-pass มี fc ที่ 100 kHz เลือกใช้สาร Couplant ที่มีคุณภาพดีขึ้น นั่นคือกลีเซอรีน ทำให้ Transmit Energy เพิ่มขึ้น %

16 การนำไปใช้งาน ใช้วัดความหนาของวัตถุที่ให้ผลแม่นยำ
นำไปประยุกต์ใช้ในงานอุตสาหกรรม อาทิ งานตรวจสอบ บำรุงรักษา อุปกรณ์ ใช้ในการควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์ (Quality Control)

17 สรุปผลการพัฒนาโครงการ
นำข้อมูลความหนาของวัตถุมาแสดงเป็นภาพชิ้นงานจำลอง สะดวกต่อการวิเคราะห์ชิ้นงานและบันทึกข้อมูลเพื่อใช้ในภายหลังได้ ใช้วัดความหนาของวัตถุรูปทรงต่างๆที่ทำจากวัสดุหลายชนิด เช่น อะลูมิเนียม เหล็ก อะคริลิก หรือกระจก มีเงื่อนไขจำกัด คือ วัตถุต้องมีผิวเรียบ และไม่หนาหรือบางเกินไป การใช้งานจริงต้องเลือกใช้หัวรับส่งสัญญาณคุณภาพสูงซึ่งมีราคาแพง จึงจะสามารถตรวจสอบวัตถุได้อย่างแม่นยำ

18 บรรณานุกรม ฟูจิอิ ซาโตะ การทดสอบแบบไม่ทำลาย. สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) มาโนชญ์ ศรีคงแก้ว และศุภชัย พรหมจรรย์ เครื่องตรวจสอบรอยบกพร่องและความหนาของโลหะแผ่น โดยใช้คลื่นอัลตราโซนิกส์. Benson, C Ultrasonics (Second Edition). Rafael, C. G. and Richard E. W Digital Image Processing. Prentice Hall Stefan, K. and Zdenko, F Ultrasonic Measurements and Technologies. Chapman & Hall. BAMR (Pty) Ltd Velocity of Materials. Cape Town: South Africa ( ค้นคว้าเมื่อวันที่ 10 ม.ค Olympus NDT Ultrasonic Flaw Detection. Waltham: USA. ( ค้นคว้าเมื่อวันที่ 22 ก.ค


ดาวน์โหลด ppt เครื่องแสดงภาพโดยใช้คลื่นอัลตราโซนิก Ultrasonic Imaging System

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google