งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เศรษฐศาสตร์สถาบันว่าด้วยกรรมสิทธิ์ (๑)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เศรษฐศาสตร์สถาบันว่าด้วยกรรมสิทธิ์ (๑)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1

2 เศรษฐศาสตร์สถาบันว่าด้วยกรรมสิทธิ์ (๑)
กรรมสิทธิ์หรือสิทธิในทรัพย์สิน (property rights) ความหมาย บรรทัดฐานที่ยอมรับร่วมกัน (accepted norms) ในการใช้ประโยชน์จากทรัพยากร ทำอะไรได้บ้าง: ใช้ประโยชน์ ได้รับผล จำหน่าย (dispose) ป้องกันไม่ให้คนอื่นเข้าแทรก ใคร ขึ้นกับว่าในสังคมนั้นๆ จะกำหนดขอบเขตของกรรมสิทธิ์อย่างไร (ตามสถาบันการเมือง) Exclusivity Rivalry

3 เศรษฐศาสตร์สถาบันว่าด้วยกรรมสิทธิ์ (๒)
ขอบเขตของกรรมสิทธิ์ Open Access ไม่มีกรรมสิทธิ์ ทุกคนในสังคมใช้ได้ Common Property กรรมสิทธิ์ร่วม บางคนในสังคมใช้ไม่ได้ เฉพาะคนในกลุ่มเท่านั้น State Property รัฐเป็นเจ้าของ Private Property เอกชน/ปัจเจกบุคคลเป็นเจ้าของ ไม่ว่าเป็นแบบใดต้องมีรัฐ (หรือการยอมรับกันเอง) ให้การรับรองสิทธิทั้งหลาย การรับรอง Law: ไม่ได้แปลว่าต้องมีตัวกฎหมาย แต่ต้องมีความชัดเจนว่ากรรมสิทธิ์เป็นของใคร Enforcement: ถ้ามีการก้าวล่วงกรรมสิทธิ์ต้องมีทางออก ซึ่งรัฐ (หรือคนอื่นในสังคม) ทำหน้าที่ ไม่ใช่เจ้าของหรือผู้ก้าวล่วงทำเอง

4

5

6 เศรษฐศาสตร์สถาบันว่าด้วยกรรมสิทธิ์ (๓)
กรรมสิทธิ์เปลี่ยนรูปแบบความสัมพันธ์ของคน Destructive Competition: การแก่งแย่งทรัพยากรระหว่างกัน ผลเสียที่เกิดขึ้น มาเป็นความสัมพันธ์ผ่านวัตถุแทน ส่วนจะทำอย่างไรกับวัตถุ หรือทรัพยากรนั้น ขึ้นกับว่าคนที่มีและไม่มีกรรมสิทธิ์จะตกลงกันอย่างไร การตัดสินใจของคนในสังคม จะตัดสินใจบนพื้นฐานของ “สิ่งที่ตัวเองมี” กับ “สิ่งที่คนอื่นมี” พอใจกับสิ่งที่ตัวเองมี: ไม่เกิดอะไร ไม่พอใจกับสิ่งตัวเองมี: เกิด supply พอใจกับสิ่งที่คนอื่นมี: เกิด demand

7 เศรษฐศาสตร์สถาบันว่าด้วยกรรมสิทธิ์ (๔)
แม้ว่าจะเรียกกรรมสิทธิ์เป็นสิทธิในทรัพย์สินเอกชน (หรือส่วนบุคคล) แต่มูลค่าของทรัพย์สินเอกชนนั้น เกิดจากการประเมินของสังคม เหตุผลหนึ่งที่ระบบกรรมสิทธิ์ต้องเป็นหน้าที่ของรัฐในการกำหนด ราคาที่กำหนดโดยสังคมจะเป็นตัวกำหนดการใช้ทรัพยากร และการแลกเปลี่ยนทรัพยากร ราคาเป็นเครื่องมือในการช่วยลด transaction cost เพราะสะท้อนความหามาได้ยาก (scarcity) ในหน่วยที่เท่ากัน เปรียบเทียบกันได้ รู้มูลค่า (value) ของทรัพยากรที่มีง่ายกว่าระบบ barter trade ลดการเลือกปฏิบัติ (discrimination) เมื่อเทียบกับ barter trade

8 พลวัตของกรรมสิทธิ์ (Dynamics of Property Rights)
การเปลี่ยนแปลงของกรรมสิทธิ์มีอยู่ตลอดเวลา 1. มีทรัพยากรบางอย่างที่สามารถเป็นทรัพย์สินได้ คลื่นวิทยุ/วงโคจร น้ำ เมื่อต้นทุนที่สูงในการจัดสรร กลายเป็นสิ่งที่สามารถทำได้ เพราะน้ำน้อยลง 2. มีการเปลี่ยนแปลงสิทธิในทรัพย์สินนั้น Floating charge/fixed charge 3. วิธีการได้มาซึ่งสิทธิในทรัพย์สินนั้นเปลี่ยนแปลง 4. วิธีการคุ้มครองสิทธิในทรัพย์สินที่มีอยู่เปลี่ยนแปลง 1 เป็น exogenous change // 2,3,4 เป็น endogenous changes หรือจะมองแบบ institutional framework vs institutional environment

9 ความสำคัญของกรรมสิทธิ์ในเชิงเศรษฐศาสตร์
Coase Theorem “ถ้ากรรมสิทธิ์หรือสิทธิในทรัพย์สินถูกกำหนดไว้อย่างชัดเจน สามารถโอนได้ และต้นทุนธุรกรรมต่ำพอ หรือเข้าใกล้ศูนย์ การจัดสรรทรัพยากรจะมีประสิทธิภาพ ไม่ว่าการจัดสรรทรัพยากรเบื้องต้นจะเป็นอย่างไร” รัฐไม่ต้องเสียต้นทุนในการจัดสรร กำหนดสิทธิและรับรองสิทธิให้เท่านั้น การรับรองสิทธิของรัฐ คือการลดต้นทุนธุรกรรมนั่นเอง แต่ธุรกรรม (transaction) ที่เกิดขึ้น ยังมีต้นทุนอยู่ สอบถามราคาสินค้า สอบถามคุณภาพสินค้า ฯลฯ การรับรองสิทธิของเอกชนในการตกลงทำธุรกรรมที่เกี่ยวกับทรัพย์สิน กฎหมายสัญญา

10 เศรษฐศาสตร์สถาบันว่าด้วยสัญญา (๑)
เป็นสถาบันที่เกิดขึ้นที่มีการรับรองโดยกฎหมายและรัฐ เงื่อนไขความสัมพันธ์ระหว่างปัจเจกบุคคลกับองค์กร สัญญาผูกพันเฉพาะคู่สัญญา คู่สัญญามีเสรีภาพในการทำสัญญา เงื่อนไขสำหรับการเกิดสัญญา: “คำเสนอและคำสนองต้องตรงกัน” สัญญาย่อมเป็นสัญญา (pacta sunt servanda)

11 เศรษฐศาสตร์สถาบันว่าด้วยสัญญา (๒)
ความสัมพันธ์ภายใต้สัญญา คู่สัญญาทำหรือไม่ทำอะไร แลกเปลี่ยนกับอะไร การทำหรือไม่ทำต่างตอบแทน (reciprocity) การทำหรือไม่ทำนั้น อาจไม่เกี่ยวกับคู่สัญญาโดยตรงก็ได้ วัตถุบางอย่าง ที่เป็นทรัพย์สิน (นั่นคือต้องมี property rights) ถ้าไม่มีก็ไม่ต้องทำสัญญา ใช้ได้เลย ใช้ไม่ได้

12 เศรษฐศาสตร์สถาบันว่าด้วยสัญญา (๓)
การเข้าทำสัญญา มีผลประโยชน์ร่วมกันในการสัญญาเช่นนั้น เช่น จ้างไปดำนาหรือเกี่ยวข้าว ไม่มีใครเสียประโยชน์ ต่างฝ่ายต่างได้ประโยชน์ ถ้าฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งไม่พอใจ ย่อมหาคนอื่นๆ มาเป็นคู่สัญญาได้ ไม่ได้จริงๆ เป็นไปได้หรือไม่?

13 เศรษฐศาสตร์สถาบันว่าด้วยสัญญา (๔)
การปฏิบัติตามสัญญา ต้องทำตามสัญญา (specific performance) ไม่ทำไม่ได้ เพราะไม่อย่างนั้นจะสัญญากันไว้ทำไม ป้องกันการให้สัญญาหรือตกลงทำสัญญาแบบพล่อยๆ มีข้อยกเว้น ถ้าผิดสัญญาแล้ว ทำให้ทั้งสองฝ่ายดีขึ้น หรือไม่มีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเสีย ประโยชน์ (Efficient breach) การเยียวยา (remedy)

14 ผลทางเศรษฐศาสตร์เมื่อมีกรรมสิทธิ์และสัญญา
คนในสังคมสามารถตัดสินใจได้เอง Invisible Hand มีราคาเป็นตัวชี้ ตัดสินใจด้วยความพอใจของแต่ละคน มีรัฐ (ผ่านกฎหมายและกลไกบังคับ) รองรับหรือสนับสนุน เกิดประสิทธิภาพ ข้อเสีย


ดาวน์โหลด ppt เศรษฐศาสตร์สถาบันว่าด้วยกรรมสิทธิ์ (๑)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google