งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กรณีศึกษาการกระจายรายได้ของประเทศไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กรณีศึกษาการกระจายรายได้ของประเทศไทย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กรณีศึกษาการกระจายรายได้ของประเทศไทย

2 Thailand’s Poverty Declined Rapidly over the Past 40-50 Years
Poverty Trend Thailand’s Poverty Declined Rapidly over the Past Years

3 แม้ว่าการกระจายรายได้ระหว่างชั้นรายได้ดีขึ้น แต่ยังเป็นประเทศที่มีปัญหาความไม่เท่าเทียมที่สูงอยู่เมื่อเปรียบเทียบกับต่างประเทศ

4 กรณีศึกษาการกระจายรายได้ของประเทศไทย
ไม่มีการศึกษาสาเหตุของปัญหาการกระจายรายได้ของประเทศไทยอย่างชัดเจน การศึกษาส่วนใหญ่มุ่งผลที่เกิดต่อการกระจายรายได้เป็นหลัก แต่การศึกษาต่างๆ เช่น เอื้อง มีสุข (2521) เมธี (2523) ฯลฯ แสดงให้เห็นว่าสาเหตุของความแตกต่างของการกระจายรายได้มีสาเหตุมาจาก ระดับการศึกษา  เรียนยิ่งสูงมีโอกาสหลุดจากความยากจนมากขึ้น โดยเฉพาะในชนบท* ลักษณะอาชีพ  เกษตร รับจ้าง ฯลฯ ขนาดครอบครัว โครงสร้างอายุบุคคลในครอบครัว (แหว่งกลาง) อายุหัวหน้าครอบครัว (น้อย) อ้างจาก อัมมาร สยามวาลา และสมชัยจิตสุชน แนวทางการแก้ไขความยากจน: เสรีนิยม ประชานิยม หรือรัฐสวัสดิการ สัมมนาวิชาการTDRI 2550

5 แนวทางการแก้ไขความยากจน
เสรีนิยม หรือ ประชานิยม หรือ รัฐสวัสดิการ

6 แนวทางเสรีนิยม รัฐบาลในอดีต ( ) ใช้แนวทางเสรีนิยมในการดำเนินการ รัฐบาลถอนตัวจากระบบเศรษฐกิจ ให้เอกชนเป็นผู้นำมีบทบาทแทน รัฐบาลลงทุนโครงสร้างพื้นฐาน ใช้งบประมาณด้านโครงสร้างสังคม “การศึกษา สาธารณสุข ฯลฯ”

7 ผลการดำเนินงานตามแนวทางเสรีนิยม
เพิ่มรายได้ประชาชน ทำให้ความยากจนลดน้อยลงในช่วงแรก การเพิ่มขึ้นของรายได้ลดน้อยลงในช่วงหลัง ปัญหาการกระจายรายได้เป็นเรื่องที่ไม่ได้แก้ไขเพราะ เน้นการเพิ่มรายได้เป็นหลัก และไม่แยกแยะนโยบายเพื่อคนจนออกจากนโยบายรัฐอื่นๆ (targeting) ปัญหาคนจนเรื้อรัง เข้าไม่ถึงบริการรัฐ ถูกกีดกันจากสังคม และเศรษฐกิจ ตัวอย่าง คนพิการ เพศ เชื้อชาติ ฯลฯ เข้าไม่ถึงแหล่งทุน ไม่มีการศึกษา ไม่มีทรัพย์สิน (ที่ทำกิน)

8 แนวทางของประชานิยม ไม่มีกรอบหลักการทางทฤษฎีที่อธิบายได้ชัดเจนถึงที่มาที่ไป เป็นแนวคิดที่เกิดขึ้นโดยอิสระในหลาย ๆ ประเทศในเวลาที่แตกต่างกัน เช่น รัสเซีย สหรัฐ และลาตินอเมริกา เช่นอาร์เจนตินา มุ่งเอื้อประโยชน์คนจนที่เป็นฐานรากของสังคม โดยลิดรอนสิทธิและอำนาจของ “ชนชั้นนำ” มักตามมาด้วยปัญหาเงินเฟ้อของประเทศ ดู: รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์ ทักษิโณมิคส์ (2550)

9 แนวทางของประชานิยมในประเทศไทย
เริ่มในปี โดย ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช เงินผัน สวัสดิการพยาบาล รถเมล์ฟรี ประกันราคาพืชผลเกษตร ปฏิรูปที่ดิน ฯลฯ

10 แนวทางของประชานิยมในประเทศไทยยุคใหม่
มีสภาพเศรษฐกิจ-สังคมรองรับที่เกิดจากปัญหาวิกฤติเศรษฐกิจก่อนหน้า เน้นการใช้จ่ายของรัฐบาลทั้งที่มาจาก รายจ่ายในและนอกงบประมาณ ไม่มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างเศรษฐกิจใหญ่ๆที่อาจช่วยแก้ไขปัญหาความไม่เท่าเทียม ตัวอย่างภาษีที่ดิน-ทรัพย์สินใหม่ หลีกเลี่ยงการขัดผลประโยชน์ระหว่างกลุ่มคนจนและกลุ่มทุน

11 แนวทางของรัฐสวัสดิการในประเทศไทย
สังคมแบบเดิมที่เป็นกลไกครอบครัวสามารถช่วยเหลือดูแลกันเองได้ สภาพสังคมโดยรวมเปลี่ยนแปลงไปสู่สังคมอุตสาหกรรม การอพยพเข้าเมืองใหญ่ ความเป็นปัจเจกมีมากขึ้น รัฐธรรมนูญ 2550 กำหนดแนวทางของรัฐสวัสดิการไว้ด้วย ส่วนว่าด้วยสิทธิและเสรีภาพในการประกอบอาชีพ ม. 44 การประกันความปลอดภัยและสวัสดิภาพการทำงานและหลักการประกันในการดำรงชีพ สิทธิและเสรีภาพการศึกษาการประกันการศึกษา 12 ปี ม. 49 สิทธิการรับบริการสาธารณสุข การสาธารณสุข ม. 51 ดูแลเด็ก คนชรา คนพิการ ม คนไร้ที่อยู่อาศัย ไม่มีรายได้เพียงพอแก่การดำรงชีพ

12 ความเสี่ยงในระบบเศรษฐกิจไทย
ความผันผวนของรายได้คนไทยจากสาเหตุต่างๆ ภัยธรรมชาติ การย้ายถิ่น นโยบายรัฐไม่ชัดเจน ความชราภาพ ฯลฯ

13 การจัดการความเสี่ยง ควรมีทั้งที่เป็นการเตรียมการล่วงหน้า (ex ante) และหลังเกิดความเสี่ยง (ex post) ดำเนินการทั้งระดับบุคคล ท้องถิ่นหรือชุมชน และระดับประเทศหรือรัฐบาล

14 แนวโน้มความเป็นรัฐสวัสดิการของประเทศไทย
ต้นทุนสูง แต่ประเทศไทยใช้จ่ายด้านสวัสดิการสังคมค่อนข้างต่ำประมาณ ร้อยละ ของ GDP เท่านั้นในปี 2551/52 ขณะที่กลุ่มประเทศ พัฒนา OECD มีสูงถึงร้อยละ 6-32 ของ GDP

15 เงื่อนไขการเป็นรัฐสวัสดิการ
ทางเลือก แนวทางการประกันสังคม โดยการร่วมจ่าย (บางส่วน) ของผู้ที่ได้รับประโยชน์ ปัญหา: ใช้ได้กับคนบางกลุ่มที่มีรายได้มากพอที่จะร่วมจ่าย แนวทางการใช้งบประมาณของรัฐบาลและให้ความคุ้มครองแบบถ้วนหน้า ปัญหา: การหาเงินภาษีหรือรายรับให้เพียงพอกับการใช้จ่าย เพราะทุกๆ คนมีสิทธิ (Entitle) ที่จะได้รับประโยชน์

16 เงื่อนไขการเป็นรัฐสวัสดิการ
ทางเลือก: การทำการเลือกกลุ่มเป้าหมาย (Targeting) เฉพาะคนจนที่อยู่ในสภาพเปราะบาง เช่น การจ่ายเบี้ยผู้สูงอายุ คนพิการ การดูแลผู้ป่วยโรคเอดส์ อาหารกลางวันให้แก่เด็กเล็ก เป็นต้น ปัญหา: การหากลุ่มคนจนหรือด้อยโอกาสดังกล่าวทำได้ยาก และอาจก่อปัญหาการทุจริตในการปฏิบัติได้ง่าย และมีต้นทุนสูงในการจัดการ


ดาวน์โหลด ppt กรณีศึกษาการกระจายรายได้ของประเทศไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google