งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ประเด็นการชี้แจง วัตถุประสงค์และเป้าหมาย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ประเด็นการชี้แจง วัตถุประสงค์และเป้าหมาย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ประเด็นการชี้แจง วัตถุประสงค์และเป้าหมาย
ผลการปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ.2555 นโยบาย ผบ.ตร. - แนวทางการขับเคลื่อนไปสู่การปฏิบัติ ระดับ บช. - แนวทางการขับเคลื่อนไปสู่การปฏิบัติ ระดับ บก. - แนวทางการขับเคลื่อนไปสู่การปฏิบัติ ระดับ สภ/สน. คำรับรองการปฏิบัติราชการ ตร. ประจำปี พ.ศ.2556 - กรอบการประเมินผล

2 วัตถุประสงค์และเป้าหมาย

3 บุคลากรได้รับการถ่ายทอดชี้แจง นโยบาย /แผนปฏิบัติราชการ ตร. ประจำปี พ.ศ.2556 / ผลการปฏิบัติที่ผ่านมา
2. พูดคุย แลกเปลี่ยน เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจและทักษะ ให้กับบุคลากรผู้เกี่ยวข้อง 3. เป็นแนวทางให้ บช.หรือ บก. ได้กำหนดกิจกรรมชี้แจงแผนงาน โครงการ กิจกรรม ค่าเป้าหมาย ในการปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติราชการของหน่วยให้บรรลุผลสำเร็จ

4 เป้าหมาย ระดับหน่วยงาน 30 บช. และ 6 บก.ในสังกัด สง.ผบ.ตร.
ระดับหน่วยงาน 30 บช. และ 6 บก.ในสังกัด สง.ผบ.ตร. 2) ระดับบุคคล - บุคลากรระดับบริหารของฝ่ายอำนวยการที่รับผิดชอบการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ - หัวหน้าสถานีตำรวจ และผู้รับผิดชอบที่เกี่ยวข้อง

5 ผลที่คาดว่าจะได้รับ มีการนำนโยบาย ผบ.ตร. แผนปฏิบัติราชการ ตร. ไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม บรรลุเป้าหมายตามผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 ตร./หน่วยงานรอง มีการพัฒนาองค์กรที่สอดคล้อง เชื่อมโยง ตามกรอบยุทธศาสตร์

6 ผลการปฏิบัติราชการประจำปีฯ พ.ศ.2555

7 ปีงบประมาณ ผลคะแนน 2552 4.1100 2553 4.1576 2554 3.9104 2555 4.0649* * ปีงบประมาณ พ.ศ.2555 ผลคะแนนที่ได้เป็นการประเมินตนเอง

8 สรุปผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
ปีงบประมาณ พ.ศ.2555 (ประเมินตนเอง) ตัวชี้วัด ชื่อเรื่อง เกณฑ์การให้คะแนน ผลการดำเนิน งาน คะแนนที่ได้ 1 2 3 4 5 1.2.1 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายในการดำเนินมาตรการช่วยเหลือฟื้นฟู เยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์อุทกภัยของส่วนราชการ 80 85 90 95 100 2.1.1 ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของปริมาณยาเสพติดที่จับกุมได้ เมธแอมเฟตามีน ไอซ์ กัญชา เฮโรอีน โคเคน เคตามีนและเอ็กซ์ตาซี่ -10 % -5 10 47.23 10.79 2.2.1 ร้อยละที่ลดลงของจำนวนเหตุการณ์การก่อความไม่สงบที่มีผลกระทบ ต่อชีวิตและทรัพย์สินในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ 704 619 677 663 650 648 2.2.2 ร้อยละที่ลดลงของจำนวนผู้เสียชีวิตจากเหตุการณ์การก่อความไม่สงบ ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ 258 252 246 240 234 2.2.3 ร้อยละที่ลดลงของจำนวนผู้ได้รับบาดเจ็บจากเหตุการณ์การก่อความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ 512 500 488 476 464 678

9 สรุปผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
ปีงบประมาณ พ.ศ.2555 (ประเมินตนเอง) ตัวชี้วัด ชื่อเรื่อง เกณฑ์การให้คะแนน ผลการดำเนิน งาน คะแนนที่ได้ 1 2 3 4 5 2.3.1 อัตราผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุจราจรทางบกต่อประชากร (รายต่อแสนคน) 17.63 16.76 15.89 15.02 14.15 13.99 4.1 ร้อยละของความหวาดกลัวภัยอาชญากรรมของประชาชน 50 45 40 35 30 46.95 1.61 4.2.1 คดีความผิดเกี่ยวกับชีวิตร่างกายและเพศต่อจำนวนประชากรแสนคน 26.62 25.41 24.20 22.99 21.78 20.76 4.2.2 คดีความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ต่อจำนวนประชากร แสนคน 6.86 6.55 6.24 5.93 5.62 4.85 4.3 ร้อยละของความเชื่อมั่นของประชาชนต่อการปฏิบัติงานของตำรวจ 60 65 70 75 80 65.41 2.08 4.4 ระดับความรู้สึกการมีส่วนร่วมของอาสาสมัครตำรวจชุมชนในการรับผิดชอบต่อความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินในชุมชนที่พักและอาศัย 72.37 3.47 ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ 85 81.28 4.25

10 สรุปผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
ปีงบประมาณ พ.ศ.2555 (ประเมินตนเอง) ตัวชี้วัด ชื่อเรื่อง เกณฑ์การให้คะแนน ผลการดำเนิน งาน คะแนน ที่ได้ 1 2 3 4 5 7 ระดับความสำเร็จของการจัดทำต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 8 ร้อยละความสำเร็จของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ ตามแผน 85 87.5 90 92.5 95 96.49 9 ร้อยละความสำเร็จของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 70 71 72 73 74 47.78 10 ร้อยละความสำเร็จของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวม 91 92 93 94 96.47 11.1 การดำเนินคดีกับผู้กระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดจำนวนไม่น้อยกว่า 94,000 ราย 80 100 178.43 11.2 เหตุการณ์การก่อเหตุรุนแรงที่มีผลกระทบต่อชีวิตและทรัพย์สิน บริเวณพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ลดลง เมื่อเปรียบเทียบกับจำนวนเหตุการณ์ ในปีที่ผ่านมาไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 711 677 645 614 585 648 11.3 จำนวนครั้งในการรณรงค์ผ่านสื่อเพื่อเสริมสร้างจิตสำนึกของประชาชนให้มีความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ไม่น้อยกว่า 3,650 ครั้ง 2,190 2,555 2,920 3,285 3,650 83,290

11 สรุปผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
ปีงบประมาณ พ.ศ.2555 (ประเมินตนเอง) ตัว ชี้วัด ชื่อเรื่อง เกณฑ์การให้คะแนน ผลการดำเนินงาน คะแนนที่ได้ 1 2 3 4 5 11.4 การรณรงค์สร้างจิตสำนึกและค่านิยมโดยชุมชนและมวลชนสัมพันธ์เพื่อสร้างความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ ไม่น้อยกว่า 888 ครั้ง 710 755 799 844 888 11.5 หมู่บ้านเป้าหมายที่ดำเนินกิจกรรมเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาสถานการณ์ชายแดนเพื่อความสงบเรียบร้อยและความมั่นคงของรัฐ ไม่น้อยกว่า 2,470 หมู่บ้าน 1,976 2,100 2,223 2,347 2,470 2,836 11.6 ผลิตข่าวกรองที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงของประเทศ การรักษาความปลอดภัยบุคคลและสถานที่ที่ส่งให้กับผู้ใช้ข่าวและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องใช้ประโยชน์ ไม่น้อยกว่า 2,000 เรื่องต่อปี 1,600 1,700 1,800 1,900 2,000 8,353 11.7 การออกตรวจดูแลและรักษาความสงบเรียบร้อยในเขตน่านน้ำ 67,900 ครั้งต่อปี 54,320 57,715 61,110 64,505 67,900 81,098 11.8 คนต่างด้าวเข้าเมืองผิดกฎหมายที่ดำเนินการจับกุมผลักดันออกนอกราชอาณาจักร ไม่น้อยกว่า 300,000 คน 240,000 255,000 270,000 285,000 300,000 600,143 11.9 ควบคุมคดีเกี่ยวกับความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินที่เกิดขึ้นกับนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติไม่เกิน 20 คดีต่อนักท่องเที่ยวหนึ่งแสนคน 24 23 22 21 20 1.2402

12 สรุปผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
ปีงบประมาณ พ.ศ.2555 (ประเมินตนเอง) ตัว ชี้วัด ชื่อเรื่อง เกณฑ์การให้คะแนน ผลการดำเนิน งาน คะ แนน ที่ได้ 1 2 3 4 5 11.10 ผู้มารับบริการสุขภาพ (เฉพาะบุคคลภายนอก) (350,000 ราย) 280,000 297,500 315,000 332,500 350,000 416,875 11.11 อัตราส่วนจำนวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนไม่เกิน 43 รายต่อจำนวนรถจดทะเบียนแสนคัน 51.60 49.45 47.30 45.15 43 28.27 11.12 ควบคุมคดีอาญาซึ่งมีผลต่อความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินไม่เกิน 177 คดี ต่อประชากรหนึ่งแสนคน 212 204 195 186 177 145.10 11.13 จำนวนคดีอาญาที่พนักงานสอบสวนดำเนินการเสร็จสิ้นเทียบกับค่ามาตรฐาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 (คุณภาพ) 80 85 90 95 100 90.25 4.96 12 ระดับความสำเร็จของการดเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ 1.45 13 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร 14 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงสารสนเทศ ≥2.40 ≤0.60 15 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ 4.33

13 ตัวชี้วัดที่ 4.1 ร้อยละความหวาดกลัวภัยอาชญากรรมของประชาชน
(ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ที่ 1) เกณฑ์การให้คะแนน ผลการดำเนินงาน ค่าคะแนน 1 2 3 4 5 ที่ได้ 50 45 40 35 30 46.95 (นิด้า) 1.61

14 (ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ที่ 2)
ตัวชี้วัดที่ 4.3 ร้อยละของความเชื่อมั่นของประชาชนต่อการปฏิบัติงานของตำรวจ (ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ที่ 2) เกณฑ์การให้คะแนน ผลการดำเนินงาน ค่าคะแนน ที่ได้ 1 2 3 4 5 60 65 70 75 80 65.41 (นิด้า) 2.08

15 (ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ที่ 3)
ตัวชี้วัดที่ 4.4 ระดับความรู้สึกการมีส่วนร่วม ของอาสาสมัครตำรวจชุมชน ในการรับผิดชอบต่อความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินในชุมชนที่พักอาศัย (ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ที่ 3) เกณฑ์การให้คะแนน ผลการดำเนินงาน ค่าคะแนน 1 2 3 4 5 ที่ได้ 60 65 70 75 80 72.37 (นิด้า) 3.47

16 ผลการสำรวจความพึงพอใจตามคำรับรองการปฏิบัติราชการฯประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ผลการสำรวจความพึงพอใจตามคำรับรองการปฏิบัติราชการฯประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2555 ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนน ผลการดำเนินงาน ค่าคะแนน 1 2 3 4 5 ที่ได้ ตัวชี้วัดที่ 4.1 ร้อยละความหวาดกลัวภัยอาชญากรรมของประชาชน (ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ที่ 1) 50 45 40 35 30 46.95 (นิด้า) 1.61 ตัวชี้วัดที่ 4.3 ร้อยละของความเชื่อมั่นของประชาชนต่อการปฏิบัติงานของตำรวจ (ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ที่ 2) 60 65 70 75 80 65.41 2.08 ตัวชี้วัดที่ 4.4 ระดับความรู้สึกการมีส่วนร่วม ของอาสาสมัครตำรวจชุมชน ในการรับผิดชอบต่อความปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพย์สินในชุมชนที่พักอาศัย (ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ที่ 3) 72.37 3.47 ตัวชี้วัดที่ 5 ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ - การให้บริการบนสถานีตำรวจ - การป้องกันปราบปราม - การอำนวยความยุติธรรม 85 81.28 (สง.สถิติฯ) 4.25

17 ข้อเสนอแนะจากการวิจัย
ความหวาดกลัวภัยอาชญากรรมของประชาชน และความเชื่อมั่นของประชาชน ต่อการปฏิบัติงานของตำรวจ ความคิดเห็นด้านการป้องกันปราบปรามอาชญากรรม  1. เพิ่มความถี่ในการออกตรวจ โดยเฉพาะในช่วงเวลากลางคืน 2. ปฏิบัติงานเชิงรุก เน้นการหาข่าวเกี่ยวกับ ยาเสพติดให้โทษ การประกอบอาชญากรรมต่างๆ โดยมีเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการปฏิบัติงาน 3. ความรวดเร็วในการระงับเหตุ หรือป้องกันเหตุ หลังจากได้รับแจ้งเหตุหรือรับแจ้งข่าว ออกปฏิบัติการเพื่อพบปะเยี่ยมเยียนผู้นำชุมชนและประชาชนในพื้นที่ ปฏิบัติการร่วมในป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม อาทิ ร่วมมือกับภาคประชาชนตรวจ จับกุมผู้กระทำผิดเกี่ยวกับยาเสพติดอย่างเข้มงวด 6. สร้างความจริงใจและความตั้งใจในการปฏิบัติงาน ปรับปรุงระบบ หรือวิธีการตรวจอย่างสม่ำเสมอ หมั่นตรวจสอบความเรียบร้อย

18 ความคิดเห็นด้านการป้องกันปราบปรามอาชญากรรม (ต่อ)
จับกุมผู้กระทำความผิด ต้องมีข้อมูลที่น่าเชื่อถือ ชัดเจน แม่นยำ ป้องกันข้อผิดพลาด เน้นการควบคุมพื้นที่แพร่ระบาดของยาเสพติด แหล่งมั่วสุมการพนัน เพิ่มสายตรวจให้ครอบคลุม ให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับสารเสพติดในชุมชน แนะนำแนวทางหรือวิธีการป้องกันอาชญากรรมให้แก่ประชาชน 12. ตรวจสอบการฝึกเตรียมความพร้อมสำหรับการปฏิบัติหน้าที่ 13. ปรับปรุงและพัฒนาจริยธรรม เพื่อลดการเอาเปรียบประชาชน และปฏิบัติหน้าที่เพื่อประโยชน์ส่วนร่วม

19 ความคิดเห็นด้านการให้บริการบนสถานีตำรวจ
ให้บริการประชาชน และผู้เสียหายด้วยความสุภาพ เรียบร้อย เป็นมิตร และเอาใจใส่ ใกล้ชิด รับฟังความคิดเห็น ตรงต่อเวลากับประชาชน ผู้รับบริการ และผู้เสียหาย 3. ชี้แจงขั้นตอนการเข้ารับบริการ การดำเนินคดีแก่ประชาชน ผู้เสียหาย และผู้กระทำความผิด 4. บริการด้วยความโปร่งใส และไม่เอาเปรียบประชาชน 5. เอาใจใส่ในการให้บริการ 6. เป็นกลาง เสมอภาค และเท่าเทียมกัน เป็นหลักในการดำเนินการและการปฏิบัติหน้าที่ 7. อบรมเสริมสร้างความรู้ แก่พนักงานสอบสวนให้มีความเชี่ยวชาญ มีประสิทธิภาพเป็นที่น่าเชื่อถือ

20 ความคิดเห็นของอาสาสมัครตำรวจชุมชน
เพิ่มสวัสดิการแก่เจ้าหน้าที่ตำรวจ และอาสาสมัครตำรวจชุมชน เพิ่มช่องทางการติดต่อสื่อสาร และเผยแพร่ข่าวสาร ให้มากยิ่งขึ้นเช่น การนำเทคโนโลยีเข้ามาประยุกต์ใช้ 3. ออกตรวจร่วมกับชุมชนอย่างจริงจัง ให้ความรู้แก่ประชาชน ถึงภัยร้ายต่างๆ 5. ประสานงานให้มากกว่าเดิม ประสานงานตำรวจได้รับการตอบรับช้า 6. ปราบปรามผู้ค้ายารายย่อยให้เด็ดขาด รวมทั้งปัญหาการแข่งรถ/จยย ในทางสาธารณะ (เด็กแว้น) 7. สนับสนุนงบประมาณในการดำเนินการด้านตำรวจชุมชน

21 ความคิดเห็นของอาสาสมัครตำรวจชุมชน (ต่อ)
จัดเครื่องแบบอาสาสมัครตำรวจ 10. มีกิจกรรมเพิ่มขึ้นเพื่อสร้างความใกล้ชิด 11. มีระบบและโครงสร้างการบริหารจัดการ ที่ชัดเจนมากกว่าที่เป็นอยู่ 12. แจ้งเหตุ เจ้าหน้าที่มาช้า อยากให้ปฏิบัติหน้าที่ให้เต็มที่กว่านี้ อาสาสมัครตำรวจชุมชนไม่สามารถระวังเหตุเองได้ 13. เพิ่มอาสาสมัครตำรวจชุมชน สำหรับการตั้งด่านตรวจ ดูแลวัยรุ่นมั่วสุมยาเสพติด ให้ ตำรวจที่รับผิดชอบคดียาเสพติด จับแล้วอย่าปล่อย 14. สนับสนุนสวัสดิการในการออกตรวจเพื่อจะได้เป็นขวัญกำลังใจ 15. ให้เจ้าหน้าที่ตำรวจผู้รับผิดชอบมาอยู่ในชุมชน เพื่อความสนิทสนมเป็นกันเอง เมื่อมี ปัญหาจะได้แจ้งความหรือแจ้งเหตุกับตำรวจได้ทันที 16. ให้อาสาสมัครตำรวจชุมชนมีส่วนร่วมมากขึ้น เช่น การเสนอแนะให้ข้อมูลด้าน อาชญากรรม มีผู้บังคับบัญชามาเยี่ยมเยียนให้กำลังใจ 17. มีโครงการต่อเนื่อง มี/ไม่มีค่าตอบแทนก็ยินดีช่วยเหลือ เป็นจิตอาสาชุมชน

22 นโยบาย ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ
พล.ต.อ.อดุลย์ แสงสิงแก้ว

23 เจตนารมณ์ของผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ
เป็นตำรวจที่ปกป้อง เทิดทูนและ จงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ 2. เป็นตำรวจมืออาชีพ ยึดมั่นในหลักธรรมาภิบาล และพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 3. เป็นตำรวจที่ประชาชนเชื่อมั่น ศรัทธา และเป็นที่พึ่งได้อย่างแท้จริง

24 นโยบายเน้นหนัก (11 ข้อ) ปกป้อง เทิดทูนและพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งสถาบัน ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 2. ป้องกันและปราบปรามยาเสพติดอย่างเข้มข้น ทั้งผู้ผลิต ผู้ค้า ผู้จำหน่าย รายใหญ่และรายย่อยในชุมชน ยึดทรัพย์กับผู้เกี่ยวข้องทุกราย ยึดหลักกฎหมายและหลักนิติธรรม 3. แก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ยุติเหตุร้ายรายวันและความรุนแรงด้วยมาตรการเชิงรุกเพื่อ จำกัดเสรีการปฏิบัติของฝ่ายตรงข้าม

25 นโยบายเน้นหนัก (ต่อ) 4.ควบคุมและลดความรุนแรงของอาชญากรรม ประชาชนมั่นใจต่อการปฏิบัติงานของตำรวจ จัดระเบียบ สังคมและควบคุมอบายมุขผิดกฎหมายในพื้นที่ 5.พัฒนาสถานีตำรวจ ให้พร้อมบริการและเป็นที่พึ่งของประชาชนอย่างแท้จริง 6. ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง ส่งเสริมให้ประชาชน ชุมชนและท้องถิ่นมีความเป็นเจ้าของ และมีส่วนร่วมในทุกมิติ

26 นโยบายเน้นหนัก (ต่อ) 7. พัฒนาบุคลากรทุกสายงานให้มีความพร้อม ปฏิบัติงานอย่างมืออาชีพ ซื่อสัตย์ สุจริต ยึดมั่นในศีลธรรม มี ค่านิยมเรียบง่าย ประหยัด 8. เตรียมความพร้อมรองรับอาเซียน 9. พัฒนาศูนย์ปฏิบัติการ (ศปก.) ทุกระดับ เพื่อเป็นเครื่องมือของผู้บังคับบัญชา ในการขับเคลื่อน ติดตามการ ปฏิบัติและบูรณาการในทุกมิติ โดยนำเทคโนโลยีมาใช้

27 นโยบายเน้นหนัก (ต่อ) 10. เน้นภาวะผู้นำในทุกระดับ ผู้บังคับบัญชาเป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่ผู้ใต้บังคับบัญชา ให้ทำงานเป็นทีมและมีเอกภาพ 11. จัดระบบและดำเนินการด้านสวัสดิการ ให้แก่ข้าราชการตำรวจ ครอบครัว และข้าราชการตำรวจ ที่เกษียณอายุราชการแล้ว ให้มีสุขภาพพลานามัย มีความเป็นอยู่ที่ดี ประกอบอาชีพเสริม ดำเนินชีวิต อย่างเรียบง่าย สามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างมีศักดิ์ศรี ตามหลักปรัชญา “เศรษฐกิจพอเพียง”

28 นโยบายทั่วไป (9 ข้อ) 1. ปกป้อง เทิดทูนและพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งสถาบันชาติ ศาสนาพระมหากษัตริย์และการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 2. การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด 3. การป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม 4. การแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ 5. ด้านความมั่นคง

29 นโยบายทั่วไป (ต่อ) 6. การเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 7
นโยบายทั่วไป (ต่อ) 6. การเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 7. การอำนวยความยุติธรรม 8. การให้บริการและช่วยเหลือประชาชน 9. การบริหารจัดการที่ดี 9.1 ด้านบุคลากร 9.2 ด้านระบบ 9.3 ด้านสถานที่ 9.4 ด้านสวัสดิการ

30 ปัจจัยสู่ความสำเร็จ 1. สร้างเอกภาพทางความคิดของผู้นำหน่วยทุกระดับ คิดและมอง ไปในทิศทางเดียวกัน 2. พัฒนาบุคลากรในทุกระดับเพื่อให้เป็นตำรวจมืออาชีพโดยยึดหลักธรรมาภิบาล และเป็นที่พึ่งของประชาชน ปลุกเร้า สอนแนะของผู้บังคับบัญชา 3. นำเทคโนโลยี องค์ความรู้ใหม่มาสร้างเครื่องมือและกลไกในการบริหารงาน เน้นการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการ (ศปก.) ในการขับเคลื่อนบูรณาการและประสานกับทุกองค์กร

31 ปัจจัยสู่ความสำเร็จ (ต่อ) 4
ปัจจัยสู่ความสำเร็จ (ต่อ) 4. ติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่องเพื่อใช้ในการพิจารณาความดีความชอบโดยยึดหลักผู้ปฏิบัติงานดีต้องได้รับผลตอบแทนและผู้ปฏิบัติงานหย่อนยานต้องถูกพิจารณาข้อบกพร่อง 5. ผู้บังคับบัญชาต้องพร้อมรับผิดชอบต่อความสำเร็จ ความล้มเหลว เป็นแบบอย่างที่ดีและอยู่เคียงข้างกับผู้ใต้บังคับบัญชา

32 ของผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบัติ ระดับ กองบัญชาการ
การขับเคลื่อนนโยบาย ของผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบัติ ระดับ กองบัญชาการ ของ บช.น./ภ.1-9/ศชต.

33 การขับเคลื่อนนโยบายของผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบัติ
ของ บช.น./ภ.๑-๙/ศชต. นโยบายเน้นหนัก 11 ข้อ นโยบาย กิจกรรม/โครงการ 1. ปกป้อง เทิดทูนและพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์และการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 1.1 กำชับการปฏิบัติในการประชุมประจำเดือน 1.2 กำชับและกำกับดูแล บก./ภ.จว. ให้สนับสนุนโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ในพื้นที่และเข้าร่วมแก้ไขปัญหา อุปสรรค 1.3 กำกับดูแล บก./ภ.จว. ให้มีการจัดทำ ซักซ้อมแผนการปฏิบัติถวายความปลอดภัยอย่างสม่ำเสมอ

34 การขับเคลื่อนนโยบายของผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบัติ
ของ บช.น./ภ.๑-๙/ศชต. นโยบายเน้นหนัก 11 ข้อ นโยบาย กิจกรรม/โครงการ 2. ป้องกันและปราบปรามยาเสพติดอย่างเข้มข้นทั้งผู้ผลิต ผู้ค้า ผู้จำหน่าย รายใหญ่และรายย่อยในชุมชนตลอดจนนำมาตรการยึดทรัพย์มาใช้กับผู้เกี่ยวข้องทุกราย โดยยึดหลักกฎหมายและหลักนิติธรรม 2.1 จัดทำ/ปรับปรุง และกำหนดช่องทางการแจ้งเบาะแสในการกระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดของหน่วยงานในสังกัดให้เป็นแนวทางเดียวกัน โดยเน้นความสะดวก รวดเร็ว และความปลอดภัยของแหล่งข่าว 2.2 ลงโทษข้าราชการตำรวจที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติดอย่างเด็ดขาด 2.3 ฝึกอบรมให้ความรู้ ทักษะ ทั้งทฤษฎี และยุทธวิธีการปฏิบัติ ได้แก่ กฎหมายที่เกี่ยวข้องและยุทธวิธีตำรวจ ในการปฏิบัติหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง 2.4 ดำเนินการให้ข้าราชการตำรวจในสังกัด เป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. มาตรการในการปราบปรามผู้กระทำผิดเกี่ยวกับยาเสพติด พ.ศ.2534 2.5 ควบคุม ติดตาม กำชับ เร่งรัด ขยายผลและยึดทรัพย์ในคดียาเสพติด ตลอดจนการประสาน ป.ป.ง. ในการดำเนินคดี ตาม พ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.2542

35 การขับเคลื่อนนโยบายของผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบัติ
ของ บช.น./ภ.๑-๙/ศชต. นโยบายเน้นหนัก 11 ข้อ นโยบาย กิจกรรม/โครงการ 3. แก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้เพื่อยุติเหตุร้าย รายวันและความรุนแรงด้วยมาตรการเชิงรุกเพื่อจำกัดเสรีการปฏิบัติของฝ่ายตรงข้าม (ศชต.) 3.1 นำนโยบาย ผบ.ตร. ไปเป็นกรอบในการปรับแผนปฏิบัติราชการประจำปี โดยมีเป้าหมายให้ 3.1.1 สถานการณ์ลดจำนวนและความรุนแรงลง 3.1.2 ลดความสูญเสียของประชาชน และเจ้าหน้าที่รัฐ 3.1.3 สร้างภาวะผู้นำให้หัวหน้าหน่วยทุกระดับ 3.1.4 มีแผนงาน/กิจกรรม/โครงการริเริ่มใหม่ สามารถนำไปต่อยอดได้ 3.1.5 มีการขับเคลื่อน ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติ ตามแผนปฏิบัติราชการอย่างจริงจัง

36 การขับเคลื่อนนโยบายของผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบัติ
ของ บช.น./ภ.๑-๙/ศชต. นโยบายเน้นหนัก 11 ข้อ นโยบาย กิจกรรม/โครงการ 3. แก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้เพื่อยุติเหตุร้าย รายวันและความรุนแรงด้วยมาตรการเชิงรุกเพื่อจำกัดเสรีการปฏิบัติของฝ่ายตรงข้าม (ศชต.) 3.2 ต้องมีการบูรณาการกับผู้นำศาสนา ผู้นำท้องถิ่น ผู้นำชุมชน ตลอดจนการประสานขอความร่วมมือกับต่างประเทศ โดยเฉพาะองค์การความร่วมมืออิสลาม (OIC) และประเทศเพื่อนบ้านเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ปัญหา 3.3 มีศูนย์ปฏิบัติการที่สามารถวิเคราะห์ ประมวลผลด้านการข่าวตลอด 24 ชั่วโมง ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้

37 การขับเคลื่อนนโยบายของผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบัติ
ของ บช.น./ภ.๑-๙/ศชต. นโยบายเน้นหนัก 11 ข้อ นโยบาย กิจกรรม/โครงการ 4. ควบคุมและลดความรุนแรงของอาชญากรรมให้ ประชาชนเกิดความมั่นใจต่อการปฏิบัติงานของตำรวจโดยการจัดระเบียบสังคมและควบคุมอบายมุขผิดกฎหมายในพื้นที่ 4.1 มีทีมวิเคราะห์อาชญากรรมระดับ บช./ภ. เพื่อวิเคราะห์สถานภาพ และแนวโน้มของอาชญากรรม และกำหนดมาตรการที่เหมาะสมในการป้องกันปราบปรามอาชญากรรม 4.2 สนับสนุนสถานีตำรวจ และ บก./ภ.จว. ในการปฏิบัติตามความเหมาะสม 4.3 ระดมกวาดล้างอาวุธปืน อาวุธสงคราม วัตถุระเบิดแหล่งอบายมุขอย่างสม่ำเสมอตามสถานการณ์ในแต่ละพื้นที่

38 การขับเคลื่อนนโยบายของผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบัติ
ของ บช.น./ภ.๑-๙/ศชต. นโยบายเน้นหนัก 11 ข้อ นโยบาย กิจกรรม/โครงการ 5. ให้ความสำคัญกับการพัฒนาสถานีตำรวจเพื่อมี ความพร้อมในการให้บริการและเป็นที่พึ่งของประชาชนได้อย่างแท้จริง 5.1 จัดทำสถานีตำรวจต้นแบบโดยใช้ สถานีตำรวจที่ผ่านการคัดเลือกตามโครงการพัฒนา สถานีตำรวจเพื่อประชาชน มาเป็นแบบอย่างในการเผยแพร่ ขยายผล และพัฒนาสถานีตำรวจ 5.2 พัฒนาประสิทธิภาพของพนักงาน สอบสวน และบุคลากรด้านงานสอบสวน (ความรู้, บุคลิกภาพ, กิริยาวาจา ฯลฯ) 5.3 การพิจารณาประเมินพนักงานสอบสวนให้มีมาตรฐาน

39 การขับเคลื่อนนโยบายของผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบัติ
ของ บช.น./ภ.๑-๙/ศชต. นโยบายเน้นหนัก 11 ข้อ นโยบาย กิจกรรม/โครงการ 5. ให้ความสำคัญกับการพัฒนาสถานีตำรวจเพื่อมี ความพร้อมในการให้บริการและเป็นที่พึ่งของประชาชนได้อย่างแท้จริง (ต่อ) 5.4 กำกับดูแลให้ บก./ภ.จว. ให้บริการประชาชนอย่างเต็มความสามารถ 5.5 จัดฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติของสถานีตำรวจในภาพรวมของ บช./ภ. 5.6 กระจายทรัพยากรทางการบริหารไปสู่สถานีตำรวจให้มากที่สุด 5.7 กำหนดและพัฒนา บก./ภ.จว. นำร่อง เพื่อให้เป็นแบบอย่างการบริหารจัดการ ของ บก./ภ.จว. อื่นๆ ในสังกัด

40 การขับเคลื่อนนโยบายของผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบัติ
ของ บช.น./ภ.๑-๙/ศชต. นโยบายเน้นหนัก 11 ข้อ นโยบาย กิจกรรม/โครงการ 6. การปฏิบัติงานของตำรวจให้ยึดประชาชนเป็น ศูนย์กลางและส่งเสริมให้ประชาชน ชุมชนและท้องถิ่นมีความรู้สึกเป็นเจ้าของและมีส่วนร่วมในทุกมิติ 6.1 ส่งเสริม กำกับดูแล บก./ภ.จว. และ สน./สภ. ในกิจกรรม/โครงการที่ เปิดโอกาสให้ประชาชนอาสาสมัครชุมชน และท้องถิ่น เข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันปราบปรามอาชญากรรม การให้บริการประชาชน และการพัฒนางาน ตำรวจในด้านต่างๆ

41 การขับเคลื่อนนโยบายของผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบัติ
ของ บช.น./ภ.๑-๙/ศชต. นโยบายเน้นหนัก 11 ข้อ นโยบาย กิจกรรม/โครงการ 7. พัฒนาบุคลากรทุก สายงานให้มีความพร้อมในการปฏิบัติงานอย่างมืออาชีพ มีความซื่อสัตย์ สุจริต ยึดมั่นในศีลธรรม และสร้างค่านิยมให้มีความเป็นอยู่ที่เรียบง่าย ประหยัด 7.1 ปรับปรุงพัฒนา ที่ตั้ง บช./ภ. ศูนย์ฝึกอบรม และอาคารบ้านพัก ในเรื่องภูมิทัศน์ ความสะอาด บรรยากาศแวดล้อม ให้ส่งเสริมการเรียนรู้ 7.2 เตรียมหน่วยปฏิบัติการพิเศษ ให้มีความพร้อมอยู่เสมอ 7.3 จัดเตรียมกำลังกองร้อยควบคุมฝูงชนมาตรฐานอย่างน้อย 3 กองร้อย แผนการปฏิบัติ แผนเผชิญเหตุ แผนการฝึก และการซักซ้อม เพื่อสร้างความคุ้นเคย ของกำลังพล ในกรณีที่ต้องปฏิบัติงานร่วมกัน 7.4 สร้างทีมงานฝ่ายอำนวยการให้เข้มแข็ง และทำงานเป็นทีม - พัฒนาระบบข้อมูล - บูรณาการทีมงานแต่ละสายงาน - จัดให้มีการประชุมติดตามสถานการณ์ทุกวัน - การสั่งการเพื่อแก้ไขปัญหาร้องเรียน/ร้องทุกข์ ของประชาชน / การสั่งการ สน./สภ.

42 การขับเคลื่อนนโยบายของผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบัติ
ของ บช.น./ภ.๑-๙/ศชต. นโยบายเน้นหนัก 11 ข้อ นโยบาย กิจกรรม/โครงการ 7. พัฒนาบุคลากรทุกสายงานให้มีความพร้อมในการปฏิบัติงานอย่างมืออาชีพ มีความซื่อสัตย์ สุจริต ยึดมั่นในศีลธรรมและสร้างค่านิยมให้มีความเป็นอยู่ ที่เรียบง่าย ประหยัด (ต่อ) 7.5 ประเมินผลการปฏิบัติงานและให้รางวัลแก่ข้าราชการตำรวจผู้ปฏิบัติงานแล้วมีผลสำเร็จ และเป็นแบบอย่างในหน่วย 7.6 จัดสรรงบประมาณสนับสนุนเพิ่มเติม (โบนัส) เพื่อสร้างแรงจูงใจ 7.7 กำหนดให้มีผู้ทรงคุณวุฒิทำหน้าที่อนุศาสนาจารย์ ประจำหน่วย 7.8 จัดฝึกอบรมสัมมนาเพิ่มประสิทธิภาพของข้าราชการตำรวจทุกระดับ

43 การขับเคลื่อนนโยบายของผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบัติ
ของ บช.น./ภ.๑-๙/ศชต. นโยบายเน้นหนัก 11 ข้อ นโยบาย กิจกรรม/โครงการ 8. เตรียมความพร้อมและเร่งรัดการดำเนินการด้านบุคลากร โครงสร้าง กฎระเบียบและอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อให้สามารถรองรับและเป็นมาตรฐาน ในกรอบของอาเซียน 8.3 ศึกษาวิเคราะห์แนวโน้มของสถานการณ์ ปัญหาอุปสรรคที่อาจเกิดขึ้นในการปฏิบัติงาน ในปี พ.ศ.2558เพื่อรวบรวมจัดทำข้อมูลเสนอหน่วยเหนือ 8.2 กำหนด มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม เพื่อรองรับแผนเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ของ ตร. (อยู่ระหว่างดำเนินการ) 8.3 จัดทำโครงการ/กิจกรรมพื้นฐาน โดยเฉพาะการพัฒนาบุคลากรให้มีทักษะด้านภาษา

44 การขับเคลื่อนนโยบายของผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบัติ
ของ บช.น./ภ.๑-๙/ศชต. นโยบายเน้นหนัก 11 ข้อ นโยบาย กิจกรรม/โครงการ 9. พัฒนาศูนย์ปฏิบัติการ (ศปก.) ทุกระดับให้มีความพร้อมเพื่อเป็นเครื่องมือของผู้บังคับบัญชาในการขับเคลื่อน ติดตามการปฏิบัติและบูรณาการการทำงานในทุกมิติ โดยนำเทคโนโลยีมาใช้ปฏิบัติและบูรณาการการทำงานในทุกมิติ โดยนำเทคโนโลยีมาใช้ 9.1 จัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการ (ศปก.บช./ภ. และ บก.สส.บช./ภ.) 9.2 นำเทคโนโลยี อุปกรณ์มาใช้ให้เกิดความเชื่อมโยงระบบกับ ตร. และหน่วยงานในสังกัด 9.3 จัดทำฐานข้อมูลและจัดวางกำลังเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานประจำศูนย์ 9.4 ใช้ ศปก. ที่จัดตั้งให้เกิดผลในทางปฏิบัติ โดยปรับปรุง และพัฒนาให้เกิดประสิทธิภาพอยู่เสมอ 9.5 พัฒนาระบบรับแจ้งเหตุให้สามารถบริการประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ โทรได้ตลอดเวลา และมีวิธีการปฏิบัติตามแบบที่กำหนด

45 การขับเคลื่อนนโยบายของผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบัติ
ของ บช.น./ภ.๑-๙/ศชต. นโยบายเน้นหนัก 11 ข้อ นโยบาย กิจกรรม/โครงการ 10. เน้นภาวะผู้นำในทุกระดับ ผู้บังคับบัญชาต้องเป็นแบบ อย่างที่ดีให้แก่ผู้ใต้บังคับบัญชา ให้ทำงานเป็นทีมและมีเอกภาพ 10.1 ฝึกอบรม ปลูกฝัง กำชับข้าราชการตำรวจเพื่อสร้างจิตสำนึก ภาวะผู้นำทุกระดับ (บช./บก./ภ.จว./สน./สภ.) ให้มีความรับผิดชอบต่อหน่วยงานผู้ใต้บังคับบัญชา และตนเอง 10.2 กำหนดมาตรการ และแผนการตรวจเยี่ยมหน่วย หรือติดตามผลการปฏิบัติงาน และสร้างขวัญกำลังใจให้แก่ผู้ใต้บังคับบัญชา ทั้งอย่างเป็นทางการและ ไม่เป็นทางการ

46 การขับเคลื่อนนโยบายของผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบัติ
ของ บช.น./ภ.๑-๙/ศชต. นโยบายเน้นหนัก 11 ข้อ นโยบาย กิจกรรม/โครงการ 11. จัดระบบและดำเนินการด้านสวัสดิการให้แก่ข้าราชการตำรวจ ครอบครัว และข้าราชการตำรวจที่เกษียณอายุราชการแล้ว ให้มีสุขภาพพลานามัย มีความเป็นอยู่ที่ดี ประกอบอาชีพเสริม ดำเนินชีวิต อย่างเรียบง่าย สามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างมีศักดิ์ศรี ตามหลักปรัชญา “เศรษฐกิจพอเพียง” 11.1 ปรับปรุง พัฒนาสภาพแวดล้อม ความสะอาด/สร้าง/จัดตั้ง สถานที่ทำการ อาคารบ้านพัก สโมสรตำรวจ สถานพักฟื้น และฌาปนสถานในแต่ละ บช./ภ. 11.2 ส่งเสริมสวัสดิการเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตให้แก่ผู้ใต้บังคับบัญชาตามความเหมาะสม 11.3 จัดทำโครงการสวัสดิการนำร่อง โดยการประกวดเพื่อใช้เป็นต้นแบบในการขยายผล พัฒนาสวัสดิการตำรวจในสังกัด

47 แนวทางการตรวจติดตามผลการดำเนินการ ในการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ ระดับ กองบัญชาการ ของ บช.น. /ภ.1-9 /ศชต.

48 1.ที่ตั้ง บช./ภ. ศูนย์ฝึกอบรม และอาคารบ้านพัก
- ความสะอาด ความเป็นระเบียบ เรียบร้อย ภายในและนอกอาคารสถานที่/อาคารบ้านพัก 2. ข้าราชการตำรวจ - การแต่งกาย เครื่องแบบ เครื่องหมาย อาวุธประจำการ - บุคลิกลักษณะ ทรงผม หนวดเครา ความสะอาด ท่วงทีวาจา 3. ระเบียบวินัยและการปกครองบังคับบัญชา

49 4. การฝึกอบรมและพัฒนาข้าราชการตำรวจ
การฝึกอบรมข้าราชการตำรวจทุกระดับ แผนการสัมมนาระดับ ผบก./การฝึกทบทวน การปฏิบัติแต่ละสายงาน การเตรียมกำลังหน่วยปฏิบัติการพิเศษ และกองร้อยควบคุมฝูงชน

50 5. ศปก.บช./ภ. การจัดกำลังประจำ ศปก.บช./ภ.
5. ศปก.บช./ภ. การจัดกำลังประจำ ศปก.บช./ภ. ห้องปฏิบัติการ ระบบสื่อสาร การควบคุม สั่งการ และการเชื่อมโยงกับเครือข่ายกับ ตร. บก./ภ.จว. และ สน./สภ. การประชุมติดตามสถานการณ์ทุกวัน ระบบฐานข้อมูลทางการบริหาร ระบบศูนย์ข้อมูลอาชญากรรมพิเศษ

51 6. การสร้างทีมงานฝ่ายอำนวยการให้เข็มแข็ง
การพัฒนาเครือข่าย(Network) การแลกเปลี่ยน (share) /ใช้ระบบฐานข้อมูล(จัดเก็บเป็นเอกสาร หรือการใช้เทคโนโลยีจัดเก็บ) - การบูรณาการการทำงานแต่ละสายงาน - การสั่งการเพื่อแก้ไขปัญหาร้องเรียน/ร้องทุกข์ ของประชาชน/การสั่งการ บก.ภ.จว. 7. การพัฒนาเครื่องมือในการบริหารงาน - ปรับปรุง บก.สส.บช./ภ. และ ศฝร.

52 8. การบริหารจัดการในการสนับสนุน ควบคุมและกำกับดูแลการปฏิบัติของ บก. /ภ
8. การบริหารจัดการในการสนับสนุน ควบคุมและกำกับดูแลการปฏิบัติของ บก./ภ.จว. ในการปฏิบัติตามนโยบาย ตร. - การประชุม/คำสั่ง/แผนงาน - มาตรการตรวจเยี่ยมหน่วยอย่างไม่เป็นทางการ - กรอบการประเมินผลการปฏิบัติงานตามระยะ และ ให้รางวัล - แผนการพัฒนา บก./ภ.จว. นำร่อง - ระบบสวัสดิการ

53 การขับเคลื่อนนโยบายของ ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ
ไปสู่การปฏิบัติ ระดับ กองบังคับการ ของ บก./ภ.จว. ในสังกัด บช.น./ภ.๑-๙/ศชต.

54 การขับเคลื่อนนโยบายของผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบัติ
ของ บก./ภ.จว. ในสังกัด บช.น./ภ.๑-๙/ศชต. นโยบายเน้นหนัก 11 ข้อ นโยบาย กิจกรรม/โครงการ 1. ปกป้อง เทิดทูนและพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์และการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 1.1 กำชับการปฏิบัติในการประชุมประจำเดือน 1.2 กำชับและกำกับดูแล สน./สภ. ให้สนับสนุนโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ในพื้นที่และเข้าร่วมแก้ไขปัญหา อุปสรรค 1.3 กำกับดูแล สน./สภ. ให้มีการจัดทำ ซักซ้อมแผนการปฏิบัติถวายความปลอดภัยอย่างสม่ำเสมอ

55 การขับเคลื่อนนโยบายของผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบัติ
ของ บก./ภ.จว. ในสังกัด บช.น./ภ.๑-๙/ศชต. นโยบายเน้นหนัก 11 ข้อ นโยบาย กิจกรรม/โครงการ 2. ป้องกันและปราบปราม ยาเสพติดอย่างเข้มข้นทั้งผู้ผลิต ผู้ค้า ผู้จำหน่าย รายใหญ่และรายย่อยในชุมชนตลอดจนนำมาตรการยึดทรัพย์มาใช้กับผู้เกี่ยวข้องทุกราย โดยยึดหลักกฎหมายและ หลักนิติธรรม 2.1 จัดทำ/ปรับปรุง และกำหนดช่องทางการแจ้งเบาะแสในการกระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดของหน่วยงานในสังกัดให้เป็นแนวทางเดียวกัน โดยเน้นความสะดวก รวดเร็ว และความปลอดภัยของแหล่งข่าว 2.2 ลงโทษข้าราชการตำรวจที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติดอย่างเด็ดขาด 2.3 ฝึกอบรมให้ความรู้ ทักษะ ทั้งทฤษฎี และยุทธวิธีการปฏิบัติ ได้แก่ กฎหมายที่เกี่ยวข้องและยุทธวิธีตำรวจ ในการปฏิบัติหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง 2.4 ดำเนินการให้ข้าราชการตำรวจในสังกัด เป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. มาตรการในการปราบปรามผู้กระทำผิดเกี่ยวกับยาเสพติด พ.ศ.2534 2.5 ควบคุม ติดตาม กำชับ เร่งรัด ขยายผลและยึดทรัพย์ในคดียาเสพติด ตลอดจนการประสาน ป.ป.ง. ในการดำเนินคดี ตาม พ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.2542

56 การขับเคลื่อนนโยบายของผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบัติ
ของ บก./ภ.จว. ในสังกัด บช.น./ภ.๑-๙/ศชต. นโยบายเน้นหนัก 11 ข้อ นโยบาย กิจกรรม/โครงการ 3. แก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้เพื่อยุติเหตุร้ายรายวันและความรุนแรงด้วยมาตรการเชิงรุกเพื่อจำกัดเสรีการปฏิบัติของฝ่ายตรงข้าม (ศชต.) 3.1 นำนโยบาย ผบ.ตร. ไปเป็นกรอบในการปรับแผนปฏิบัติราชการประจำปี โดยมีเป้าหมายให้ 3.1.1 สถานการณ์ลดจำนวนและความรุนแรงลง 3.1.2 ลดความสูญเสียของประชาชน และ เจ้าหน้าที่รัฐ 3.1.3 สร้างภาวะผู้นำให้หัวหน้าหน่วยทุกระดับ 3.1.4 มีแผนงาน/กิจกรรม/โครงการริเริ่มใหม่ สามารถนำไปต่อยอดได้ 3.1.5 มีการขับเคลื่อน ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติ ตามแผนปฏิบัติราชการอย่างจริงจัง 3.2 ต้องมีการบูรณาการกับผู้นำศาสนา ผู้นำท้องถิ่น ผู้นำชุมชน ตลอดจนการประสานขอความร่วมมือกับต่างประเทศ โดยเฉพาะองค์การความร่วมมืออิสลาม (OIC) และประเทศเพื่อนบ้านเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ปัญหา 3.3 มีศูนย์ปฏิบัติการที่สามารถวิเคราะห์ ประมวลผลด้านการข่าวตลอด 24 ชั่วโมง ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้

57 การขับเคลื่อนนโยบายของผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบัติ
ของ บก./ภ.จว. ในสังกัด บช.น./ภ.๑-๙/ศชต. นโยบายเน้นหนัก 11 ข้อ นโยบาย กิจกรรม/โครงการ 4. ควบคุมและลดความรุนแรงของอาชญากรรมให้ ประชาชนเกิดความมั่นใจต่อการปฏิบัติงานของตำรวจโดยการจัดระเบียบสังคมและควบคุมอบายมุขผิดกฎหมาย ในพื้นที่ 4.1 มีทีมวิเคราะห์อาชญากรรมระดับ สน./สภ. เพื่อวิเคราะห์สถานภาพ และแนวโน้มของอาชญากรรม และกำหนดมาตรการที่เหมาะสมในการป้องกันปราบปรามอาชญากรรม 4.2 สนับสนุนสถานีตำรวจ ในการปฏิบัติตามความเหมาะสม 4.3 ระดมกวาดล้างอาวุธปืน อาวุธสงคราม วัตถุระเบิดแหล่งอบายมุขอย่างสม่ำเสมอตามสถานการณ์ในแต่ละพื้นที่

58 การขับเคลื่อนนโยบายของผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบัติ
ของ บก./ภ.จว. ในสังกัด บช.น./ภ.๑-๙/ศชต. นโยบายเน้นหนัก 11 ข้อ นโยบาย กิจกรรม/โครงการ 5. ให้ความสำคัญ กับการพัฒนาสถานีตำรวจเพื่อมีความพร้อมในการให้บริการและเป็นที่พึ่งของประชาชนได้อย่างแท้จริง 5.1 จัดทำสถานีตำรวจต้นแบบ สน./สภ. นำร่อง มาเป็นแบบอย่างในการเผยแพร่ ขยายผล และพัฒนาสถานีตำรวจ 5.2 พัฒนาประสิทธิภาพของพนักงาน สอบสวน และบุคลากรด้านงานสอบสวน (ความรู้, บุคลิกภาพ, กิริยาวาจา ฯลฯ) 5.3 การพิจารณาประเมินพนักงานสอบสวนให้มีมาตรฐาน 5.4 กำกับดูแลให้ สน./สภ. ให้บริการประชาชนอย่างเต็มความสามารถ 5.5 จัดฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติของสถานีตำรวจในภาพรวมของ บก./ภ.จว. 5.6 กระจายทรัพยากรทางการบริหารไปสู่สถานีตำรวจให้มากที่สุด 5.7 กำหนดและพัฒนา สน./สภ. นำร่อง เพื่อให้เป็นแบบอย่างการบริหารจัดการ ของ สน./สภ. อื่นๆ ในสังกัด

59 การขับเคลื่อนนโยบายของผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบัติ
ของ บก./ภ.จว. ในสังกัด บช.น./ภ.๑-๙/ศชต. นโยบายเน้นหนัก 11 ข้อ นโยบาย กิจกรรม/โครงการ 6. การปฏิบัติงานของตำรวจให้ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางและส่งเสริมให้ประชาชน ชุมชนและท้องถิ่นมีความรู้สึกเป็นเจ้าของและมีส่วนร่วมในทุกมิติ 6.1 ส่งเสริม กำกับดูแล สน./สภ. ในกิจกรรม/โครงการที่ เปิดโอกาสให้ประชาชนอาสาสมัครชุมชน และท้องถิ่น เข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันปราบปรามอาชญากรรม การให้บริการประชาชนและการพัฒนางาน ตำรวจในด้านต่างๆ 6.2 การมีส่วนร่วมของประชาชน กต.ตร. กทม./จว. และฝึกอบรม อส.ตร.(ตำรวจบ้าน)

60 การขับเคลื่อนนโยบายของผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบัติ
ของ บก./ภ.จว. ในสังกัด บช.น./ภ.๑-๙/ศชต. นโยบายเน้นหนัก 11 ข้อ นโยบาย กิจกรรม/โครงการ 7. พัฒนาบุคลากรทุกสายงานให้มีความพร้อมในการปฏิบัติงานอย่างมืออาชีพ มีความซื่อสัตย์ สุจริต ยึดมั่นในศีลธรรมและสร้างค่านิยมให้มีความเป็นอยู่ที่เรียบง่าย ประหยัด 7.1 เตรียมหน่วยปฏิบัติการพิเศษ ให้มีความพร้อมอยู่เสมอ 7.2 จัดเตรียมกำลังกองร้อยควบคุมฝูงชนอย่างน้อย 2 กองร้อย แผนการฝึก แผนปฏิบัติการ แผนเผชิญเหตุ และการซักซ้อม เพื่อสร้างความคุ้นเคยของกำลังพล ในกรณีที่ต้องปฏิบัติงานร่วมกัน 7.3 สร้างทีมงานฝ่ายอำนวยการให้เข้มแข็ง และทำงานเป็นทีม - พัฒนาระบบข้อมูล - บูรณาการทีมงานแต่ละสายงาน - จัดให้มีการประชุมติดตามสถานการณ์ทุกวัน - การสั่งการเพื่อแก้ไขปัญหาร้องเรียน/ร้องทุกข์ ของประชาชน / การสั่งการ สน./สภ.

61 การขับเคลื่อนนโยบายของผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบัติ
ของ บก./ภ.จว. ในสังกัด บช.น./ภ.๑-๙/ศชต. นโยบายเน้นหนัก 11 ข้อ นโยบาย กิจกรรม/โครงการ 7. พัฒนาบุคลากรทุกสายงานให้มีความพร้อมในการปฏิบัติงานอย่างมืออาชีพ มีความซื่อสัตย์ สุจริต ยึดมั่นในศีลธรรมและสร้างค่านิยมให้มีความเป็นอยู่ที่เรียบง่าย ประหยัด (ต่อ) 7.4 ประเมินผลการปฏิบัติงานและให้รางวัลแก่ข้าราชการตำรวจผู้ปฏิบัติงานแล้วมีผลสำเร็จ และเป็นแบบอย่างในหน่วย 7.5 กำหนดให้มีผู้ทรงคุณวุฒิทำหน้าที่อนุศาสนาจารย์ ประจำหน่วย 7.6 จัดฝึกอบรมสัมมนาเพิ่มประสิทธิภาพของข้าราชการตำรวจทุกระดับ

62 การขับเคลื่อนนโยบายของผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบัติ
ของ บก./ภ.จว. ในสังกัด บช.น./ภ.๑-๙/ศชต. นโยบายเน้นหนัก 11 ข้อ นโยบาย กิจกรรม/โครงการ 8 เตรียมความพร้อมและเร่งรัดการดำเนินการด้านบุคลากร โครงสร้าง กฎระเบียบและอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อให้สามารถรองรับและเป็นมาตรฐาน ในกรอบของอาเซียน 8.1 ศึกษาวิเคราะห์แนวโน้มของสถานการณ์ ปัญหาอุปสรรคที่อาจเกิดขึ้นในการปฏิบัติงาน ในปี พ.ศ.2558 เพื่อรวบรวมจัดทำข้อมูลเสนอหน่วยเหนือ 8.2 กำหนด มาตรการ/แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม เพื่อรองรับแผนเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ของ ตร. (อยู่ระหว่างดำเนินการ) 8.3 จัดทำโครงการ/กิจกรรมพื้นฐาน โดยเฉพาะการพัฒนาบุคลากรให้มีทักษะด้านภาษา

63 การขับเคลื่อนนโยบายของผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบัติ
ของ บก./ภ.จว. ในสังกัด บช.น./ภ.๑-๙/ศชต. นโยบายเน้นหนัก 11 ข้อ นโยบาย กิจกรรม/โครงการ 9. พัฒนาศูนย์ปฏิบัติการ (ศปก.) ทุกระดับให้มีความพร้อมเพื่อเป็นเครื่องมือของผู้บังคับบัญชาในการขับเคลื่อน ติดตามการปฏิบัติและบูรณาการการทำงาน ในทุกมิติ โดยนำเทคโนโลยี มาใช้ 9.1 จัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการ (ศปก.บก./ภ.จว และ กก.สส.) 9.2 นำเทคโนโลยี อุปกรณ์มาใช้ให้เกิดความเชื่อมโยงระบบกับ ตร. และหน่วยงานในสังกัด 9.3 จัดทำฐานข้อมูลที่จะเป็นกำลังในการปฏิบัติงานประจำศูนย์ 9.4 ใช้ ศปก. ที่จัดตั้งให้เกิดผลในทางปฏิบัติ โดยมีการปรับปรุง และพัฒนาให้เกิดประสิทธิภาพอยู่เสมอ 9.5 พัฒนาระบบรับแจ้งเหตุ ให้สามารถบริการประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ โทรได้ตลอดเวลา และมีวิธีการปฏิบัติตามแบบที่กำหนด

64 การขับเคลื่อนนโยบายของผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบัติ
ของ บก./ภ.จว. ในสังกัด บช.น./ภ.๑-๙/ศชต. นโยบายเน้นหนัก 11 ข้อ นโยบาย กิจกรรม/โครงการ 10. เน้นภาวะผู้นำในทุกระดับ ผู้บังคับบัญชาต้องเป็นแบบ อย่างที่ดีให้แก่ผู้ใต้บังคับบัญชา ให้ทำงานเป็นทีมและมีเอกภาพ 10.1 ฝึกอบรม ปลูกฝัง กำชับข้าราชการตำรวจเพื่อสร้างจิตสำนึก ภาวะผู้นำทุกระดับ (บก./ภ.จว./สน. /สภ.) ให้มีความรับผิดชอบต่อหน่วยงานผู้ใต้บังคับบัญชา และตนเอง 10.2 กำหนดมาตรการ และแผนการตรวจเยี่ยมหน่วย หรือติดตามผลการปฏิบัติงาน และสร้างขวัญกำลังใจให้แก่ผู้ใต้บังคับบัญชา ทั้งอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการ

65 การขับเคลื่อนนโยบายของผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบัติ
ของ บก./ภ.จว. ในสังกัด บช.น./ภ.๑-๙/ศชต. นโยบายเน้นหนัก 11 ข้อ นโยบาย กิจกรรม/โครงการ 11. จัดระบบและดำเนินการด้านสวัสดิการให้แก่ ข้าราชการตำรวจ ครอบครัว และข้าราชการตำรวจที่เกษียณอายุราชการแล้ว ให้มีสุขภาพพลานามัย มีความเป็นอยู่ที่ดี ประกอบอาชีพเสริม ดำเนินชีวิตอย่างเรียบง่าย สามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างมีศักดิ์ศรี ตามหลักปรัชญา “เศรษฐกิจพอเพียง” 11.1 ปรับปรุง พัฒนาสภาพแวดล้อม ความสะอาด/สร้าง/จัดตั้ง สถานที่ทำการ อาคารบ้านพัก สโมสรตำรวจ สถานพักฟื้น และฌาปนสถานในแต่ละ บก./ภ.จว. 11.2 ส่งเสริมสวัสดิการเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตให้แก่ผู้ใต้บังคับบัญชาตามความเหมาะสม 11.3 จัดทำโครงการสวัสดิการนำร่อง โดยการประกวดเพื่อใช้เป็นต้นแบบในการขยายผล พัฒนาสวัสดิการตำรวจในสังกัด

66 แนวทางการตรวจติดตามผลการดำเนินการ ในการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ ระดับ กองบังคับการ ของ บก.น. / ภ.จว.

67 1.ที่ตั้ง บช.น/ภ.จว และอาคารบ้านพัก
1.ที่ตั้ง บช.น/ภ.จว และอาคารบ้านพัก - ความสะอาด ความเป็นระเบียบ เรียบร้อย ภายในและนอกอาคาร สถานที่/อาคารบ้านพัก 2. ข้าราชการตำรวจ - การแต่งกาย เครื่องแบบ เครื่องหมาย อาวุธประจำการ - บุคลิกลักษณะ ทรงผม หนวดเครา ความสะอาด ท่วงที วาจา 3. ระเบียบวินัยและการปกครองบังคับบัญชา

68 4. การฝึกอบรมและพัฒนาข้าราชการตำรวจ
การฝึกอบรมประชุมชี้แจงประจำสัปดาห์/การฝึก/แผนการฝึก แผนการสัมมนาหัวหน้าสถานีตำรวจ/การฝึกทบทวนการปฏิบัติแต่ละสายงาน การเตรียมความพร้อมของชุดปฏิบัติการพิเศษ 5.ศปก.บกน./ภ.จว. การจัดกำลังประจำ ศปก.บก.น/ภ.จว. ห้องปฏิบัติการ ระบบสื่อสาร การควบคุม สั่งการ และการเชื่อมโยงกับเครือข่ายกับ ตร. บช./ภ. และ สน./สภ. การประชุมติดตามสถานการณ์ทุกวัน

69 6. การสร้างทีมงานฝ่ายอำนวยการให้เข็มแข็ง
การพัฒนาแลกเปลี่ยน (share) /ใช้ระบบฐานข้อมูล (การใช้เทคโนโลยีจัดเก็บ) - การบูรณาการการทำงานแต่ละสายงาน - การสั่งการเพื่อแก้ไขปัญหาร้องเรียน/ร้องทุกข์ ของประชาชน/การสั่งการ สน./สภ. 7. การพัฒนาเครื่องมือในการบริหารงาน - ปรับปรุง กก.สส. - ปรับปรุงระบบการแจ้งเหตุ

70 8. งานด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน
กต.ตร.กทม./จว. การฝึกอบรม อส.ตร.(ตำรวจบ้าน) 9. การบริหารจัดการในการสนับสนุน ควบคุมและกำกับดูแลการปฏิบัติของสถานีตำรวจในการปฏิบัติตามนโยบาย ตร. การประชุม/คำสั่ง/แผนงาน มาตรการตรวจเยี่ยมหน่วยอย่างไม่เป็นทางการ กรอบการประเมินผลการปฏิบัติงานตามระยะและให้รางวัล แผนการพัฒนา สน./สภ. นำร่อง

71 10. การกำกับดูแลการปฏิบัติข้าราชการตำรวจต่างสังกัดที่ปฏิบัติราชการในจังหวัด
-การประชุมชี้แจง/โครงสร้างหน่วยต่างๆ/รายชื่อ

72 ของผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบัติ ระดับ สถานีตำรวจ
การขับเคลื่อนนโยบาย ของผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบัติ ระดับ สถานีตำรวจ ของ บช.น./ภ.1-9/ศชต.

73 การขับเคลื่อนนโยบายของผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบัติ
ระดับสถานีตำรวจ หน่วย บช.น. ภ ศชต. นโยบายเน้นหนัก 11 ข้อ นโยบาย กิจกรรม/โครงการ 1. ปกป้อง เทิดทูนและพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์และการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 1.1 เข้าแถวเคารพธงชาติ กล่าวคำปฏิญาณตามอุดมคติตำรวจ และการเป็นข้าราชการตำรวจที่ดี และอบรม สร้างจิตสำนึกฯ ต่อสถาบัน 1.2 สนับสนุนโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริในพื้นที่ 1.3 ซักซ้อม ทบทวน เตรียมความพร้อมทางยุทธวิธีในการเผชิญเหตุระหว่างการถวายความปลอดภัย (อย่างน้อยไตรมาสละ 1 ครั้ง)

74 การขับเคลื่อนนโยบายของผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบัติ
ระดับสถานีตำรวจ หน่วย บช.น. ภ ศชต. นโยบายเน้นหนัก 11 ข้อ นโยบาย กิจกรรม/โครงการ 2. ป้องกันและปราบปรามยาเสพติดอย่างเข้มข้นทั้งผู้ผลิต ผู้ค้า ผู้จำหน่ายรายใหญ่และรายย่อยในชุมชนตลอดจนนำมาตรการยึดทรัพย์มาใช้กับผู้เกี่ยวข้องทุกราย โดยยึดหลักกฎหมายและหลักนิติธรรม 2.1 เปิดช่องทางการแจ้งเบาะแสการกระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด 2.2 วิเคราะห์ประเมินสถานการณ์ยาเสพติดในพื้นที่ 2.3 แบ่งมอบหน้าที่รับผิดชอบในพื้นที่ย่อย มีแผนงานป้องกันปราบปรามยาเสพติด 2.4 ระดมกวาดล้างปิดล้อม ตรวจค้นอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง 2.5 สอบสวน ขยายผลและยึดทรัพย์ในคดียาเสพติด ตามกฎหมายอย่างเป็นรูปธรรม 2.6 ตรวจหาสารเสพติดในข้าราชการตำรวจ และสอดส่องดูแล ติดตามพฤติกรรมเสี่ยงของครอบครัวตำรวจมิให้เกี่ยวข้องกับยาเสพติด เพื่อให้เป็นแบบอย่างของชุมชนในพื้นที่ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

75 การขับเคลื่อนนโยบายของผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบัติ
ระดับสถานีตำรวจ หน่วย บช.น. ภ ศชต. นโยบายเน้นหนัก 11 ข้อ นโยบาย กิจกรรม/โครงการ 3. แก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้เพื่อยุติเหตุร้าย รายวันและความรุนแรงด้วยมาตรการเชิงรุกเพื่อจำกัดเสรีการปฏิบัติของฝ่ายตรงข้าม เฉพาะ ศชต. 3.1 หัวหน้าสถานีตำรวจต้องอยู่ในพื้นที่ 3.2 ฝึกทบทวนยุทธวิธีตำรวจ และฝึกอบรมสร้างความรู้ ความเข้าใจ หลักศาสนาวัฒนธรรม ประเพณี พื้นฐานความเป็นอยู่ และความเชื่อของชุมชนท้องถิ่น ทุกสัปดาห์ 3.3 ประสานและแสวงหาความร่วมมือกับผู้นำศาสนา ผู้นำท้องถิ่น ผู้นำชุมชน 3.4 สืบสวนหาข่าว และมีทีมวิเคราะห์ประมวลผลด้านการข่าว

76 การขับเคลื่อนนโยบายของผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบัติ
ระดับสถานีตำรวจ หน่วย บช.น. ภ ศชต. นโยบายเน้นหนัก 11 ข้อ นโยบาย กิจกรรม/โครงการ 4. ควบคุมและลดความรุนแรงของอาชญากรรมให้ประชาชนเกิดความมั่นใจต่อการปฏิบัติงานของตำรวจโดยการจัดระเบียบสังคมและควบคุมอบายมุขผิดกฎหมายในพื้นที่ 4.1 จัดทำ และพัฒนาระบบฐานข้อมูลท้องถิ่น ข้อมูลอาชญากรรม นาฬิกาอาชญากรรมหมายจับ ประวัติและพฤติการณ์ของกลุ่มบุคคลต่าง ๆ ในสถานีตำรวจ เช่น บุคคลเป้าหมาย บุคคลพ้นโทษ บุคคลพักการลงโทษ และกลุ่มเสี่ยงอื่น ๆ 4.2 พัฒนาบุคลากร/ทีมงานวิเคราะห์อาชญากรรม จากระบบฐานข้อมูลเพื่อกำหนดมาตรการที่เหมาะสมในการป้องกันปราบปรามอาชญากรรม 4.3 จัดทำช่องทาง ฐานข้อมูลการร้องเรียน/ ร้องทุกข์ของประชาชน ผลการดำเนินการแก้ไขปัญหา 4.4 มีมาตรการปราบปรามอาชญากรรมที่เกี่ยวข้องกับการค้ามนุษย์ 4.5 มีมาตรการป้องกันและปราบปราม ไม่ให้มีการแข่งรถในพื้นที่

77 การขับเคลื่อนนโยบายของผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบัติ
ระดับสถานีตำรวจ หน่วย บช.น. ภ ศชต. นโยบายเน้นหนัก 11 ข้อ นโยบาย กิจกรรม/โครงการ 4. ควบคุมและลดความรุนแรงของอาชญากรรมให้ประชาชนเกิดความมั่นใจต่อการปฏิบัติงานของตำรวจโดยการจัดระเบียบสังคมและควบคุมอบายมุขผิดกฎหมายในพื้นที่ (ต่อ) 4.6 กำหนดมาตรการที่ชัดเจน ในการป้องกันปราบปรามอาชญากรรมในพื้นที่รับผิดชอบ ให้สอดคล้องกับการวิเคราะห์ รวมทั้งแหล่งมั่วสุมสถานบริการ แหล่งอบายมุข 4.7 ดำเนินการระดมกวาดล้างอาวุธปืนอาวุธสงคราม วัตถุระเบิดอย่างสม่ำเสมอตามสถานการณ์ในแต่ละพื้นที่ 4.8 พนักงานสอบสวนต้องรับตำร้องทุกข์ทุกคดี เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลให้กับทีมวิเคราะห์อาชญากรรมในการป้องกันปราบปรามอาชญากรรม และให้บริการประชาชน 4.9 ประสานงานกับทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เพื่อติดตั้ง/เชื่อมโยงระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)

78 การขับเคลื่อนนโยบายของผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบัติ
ระดับสถานีตำรวจ หน่วย บช.น. ภ ศชต. นโยบายเน้นหนัก 11 ข้อ นโยบาย กิจกรรม/โครงการ 5. ให้ความสำคัญกับการพัฒนาสถานีตำรวจเพื่อมีความพร้อมในการให้บริการและเป็นที่พึ่งของประชาชนได้อย่างแท้จริง 5.1 ปรับภูมิทัศน์ ดูแลความสะอาด สถานีตำรวจ/อาคารบ้านพัก/ตู้ยาม และจัดสถานที่ให้เป็นระเบียบเรียบร้อย (สีไม่ตก หญ้าไม่รก) 5.2 ข้าราชการตำรวจทุกนาย ต้องแต่งกาย เครื่องแบบเครื่องหมายสะอาดเรียบร้อย (ผมสั้น รองเท้ามัน ฟันขาว) บุคลิกลักษณะ ท่วงทีและ ใช้กิริยาวาจาสุภาพ เหมาะสมต่อประชาชน 5.3 หัวหน้าสถานีตำรวจและผู้บังคับบัญชาของสถานีตำรวจทุกระดับ ต้องเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา 5.4 ปลูกฝัง อบรม ชี้แจงสถานการณ์ มอบภารกิจ แนวความคิดในการปฏิบัติเพื่อช่วยเหลือประชาชนอย่างสม่ำเสมอ 5.5 เจ้าหน้าที่ตำรวจ และพนักงานสอบสวน เมื่อรับแจ้งเหตุต้องเข้าถึงที่เกิดเหตุโดยเร็ว

79 การขับเคลื่อนนโยบายของผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบัติ
ระดับสถานีตำรวจ หน่วย บช.น. ภ ศชต. นโยบายเน้นหนัก 11 ข้อ นโยบาย กิจกรรม/โครงการ 5. ให้ความสำคัญกับการพัฒนาสถานีตำรวจเพื่อ มีความพร้อมในการให้บริการและเป็นที่พึ่งของประชาชนได้อย่างแท้จริง (ต่อ) 5.6 ปรับระบบเจ้าหน้าที่รับแจ้งเหตุทางโทรศัพท์ (ไม่ใช้ระบบอัตโนมัติ) เพื่อให้สะดวก รวดเร็ว และมีการสั่งการได้ทันต่อเหตุการณ์ และให้มีรายงานผลการดำเนินการให้ประชาชนทราบ 5.7 พนักงานสอบสวนต้องแจ้งให้ผู้เสียหายทราบถึงผลการดำเนินการทางคดีเป็นระยะตามระเบียบ และปฏิบัติต่อผู้เสียหายด้วยความห่วงใย เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนที่ได้รับ 5.8 ปรับปรุงตู้ยาม หรือจัดตั้งหน่วยบริการประชาชน (สถานีย่อย) ให้มีความพร้อมของข้อมูลท้องถิ่น วัสดุอุปกรณ์ และกำลังพล ในการให้บริการประชาชนตามความเหมาะสม

80 การขับเคลื่อนนโยบายของผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบัติ
ระดับสถานีตำรวจ หน่วย บช.น. ภ ศชต. นโยบายเน้นหนัก 11 ข้อ นโยบาย กิจกรรม/โครงการ 5. ให้ความสำคัญกับการพัฒนาสถานีตำรวจเพื่อ มีความพร้อมในการให้บริการและเป็นที่พึ่งของประชาชนได้อย่างแท้จริง (ต่อ) 5.9 กำหนดจุดที่มีปัญหาจราจรในพื้นที่ และจัดเจ้าหน้าที่จราจรประจำจุด เพื่อแก้ไขปัญหาจราจร ในกรณีที่มีปัญหาหรือได้รับการร้องขอ ตลอดจนช่วงเทศกาลสำคัญต่าง ๆ 5.10 ฝึกทบทวนแผนเผชิญเหตุ เพื่อเตรียมพร้อมรับสถานการณ์ต่างๆ 5.11 บูรณาการทีมงานสอบสวนและสืบสวนให้สามารถบริหารจัดการทางคดีที่เกิดขึ้นให้มีประสิทธิภาพ 5.12 ประชุมแถวทุกวัน เพื่อชี้แจงสถานการณ์และมอบภารกิจ

81 การขับเคลื่อนนโยบายของผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบัติ
ระดับสถานีตำรวจ หน่วย บช.น. ภ ศชต. นโยบายเน้นหนัก 11 ข้อ นโยบาย กิจกรรม/โครงการ 6. การปฏิบัติงานของตำรวจให้ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางและส่งเสริมให้ประชาชน ชุมชนและท้องถิ่นมีความรู้สึกเป็นเจ้าของและมีส่วนร่วมในทุกมิติ 6.1 เปิดโอกาสให้ประชาชน อาสาสมัคร ชุมชน และท้องถิ่น เข้ามามีส่วนร่วมในกิจการของ สน./สภ. ในด้าน 1) การป้องกันปราบปรามอาชญากรรม 2) การจราจร และการให้บริการประชาชน 6.2 กต.ตร.สน. 6.3 ตำรวจชุมชน

82 การขับเคลื่อนนโยบายของผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบัติ
ระดับสถานีตำรวจ หน่วย บช.น. ภ ศชต. นโยบายเน้นหนัก 11 ข้อ นโยบาย กิจกรรม/โครงการ 7. พัฒนาบุคลากรทุกสายงานให้มีความพร้อมในการปฏิบัติงานอย่างมืออาชีพ มีความซื่อสัตย์ สุจริต ยึดมั่นในศีลธรรมและสร้างค่านิยมให้มีความเป็นอยู่ที่เรียบง่าย ประหยัด 7.1 ฝึกอบรมให้แก่เจ้าหน้าที่ตำรวจทุกนายในแต่ละสายงาน อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 7.2 ทดสอบสมรรถภาพร่างกายอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง 7.3 จัดให้มีการศึกษาดูงานแก่ข้าราชการตำรวจในแต่ละสายงาน 7.4 ประชุมแถว เพื่อชี้แจงสถานการณ์และมอบภารกิจ (ประจำวัน/สัปดาห์) 7.5 จัดครูฝึกประจำ สน./สภ. และมีแผนการฝึก 7.6 การบริหารงานให้มีสายการบังคับบัญชา และจัดกำลังให้เป็นหมวดหมู่หรือชุดปฏิบัติการ

83 การขับเคลื่อนนโยบายของผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบัติ
ระดับสถานีตำรวจ หน่วย บช.น. ภ ศชต. นโยบายเน้นหนัก 11 ข้อ นโยบาย กิจกรรม/โครงการ 8. เตรียมความพร้อมและเร่งรัดการดำเนินการด้านบุคลากร โครงสร้าง กฎระเบียบและอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อให้สามารถรองรับและเป็นมาตรฐาน ในกรอบของอาเซียน 8.1 ส่งเสริม และพัฒนาให้เจ้าหน้าที่ตำรวจมีความรู้ ความเข้าใจ พื้นฐานเกี่ยวกับประเทศสมาชิกอาเซียน 8.2 ฝึกเจ้าหน้าที่ตำรวจให้มีทักษะในการติดต่อสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษ และภาษาท้องถิ่นของประเทศเพื่อนบ้าน 8.3 จัดทำป้ายแสดงอาคารสถานที่ คำแนะนำต่างๆ ให้มีทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 9. พัฒนาศูนย์ปฏิบัติการ (ศปก.) ทุกระดับให้มีความพร้อมเพื่อเป็นเครื่องมือของผู้บังคับบัญชาในการขับเคลื่อน ติดตามการปฏิบัติและบูรณาการ การทำงานในทุกมิติ โดย นำเทคโนโลยีมาใช้ 9.1 จัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการ (ศปก.สน./สภ.) ด้วยการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการบูรณาการ ในการปฏิบัติการ การสั่งการ การรายงาน และติดตามผลการปฏิบัติ 9.2 การจัดกำลังประจำศูนย์

84 การขับเคลื่อนนโยบายของผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบัติ
ระดับสถานีตำรวจ หน่วย บช.น. ภ ศชต. นโยบายเน้นหนัก 11 ข้อ นโยบาย กิจกรรม/โครงการ 10. เน้นภาวะผู้นำในทุกระดับ ผู้บังคับบัญชาต้องเป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่ผู้ใต้บังคับบัญชา ให้ทำงานเป็นทีมและมีเอกภาพ 10.1 หัวหน้าสถานีตำรวจ รอง ผกก.หัวหน้างาน สว. และรอง สว. ซึ่งทำหน้าที่เป็นผู้บังคับบัญชาในระดับต่างๆ ของสถานีตำรวจต้องมีความเป็นผู้นำ เป็นตัวอย่างที่ดี ทั้งในด้านครองตน ครองคน ครองงาน 11. จัดระบบและดำเนินการด้านสวัสดิการให้แก่ข้าราชการตำรวจ ครอบครัว และข้าราชการตำรวจที่เกษียณอายุราชการแล้ว ให้มีสุขภาพพลานามัย มีความเป็นอยู่ที่ดี ประกอบอาชีพเสริม ดำเนินชีวิตอย่างเรียบง่าย สามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างมีศักดิ์ศรี ตามหลักปรัชญา “เศรษฐกิจพอเพียง” 11.1 สนับสนุนการปฏิบัติหน้าที่ ของข้าราชการตำรวจในสถานี ด้วยการจัดให้มีสวัสดิการด้านต่างๆ เช่น 1) โครงการอาหารกลางวัน 2) ร้านค้า/สหกรณ์ ในสถานีตำรวจ 3) ประกอบอาชีพเสริมด้วยการปลูกผักสวนครัว เลี้ยงสัตว์ ตามสภาพพื้นที่

85 แนวทางการตรวจติดตามผลการดำเนินการ ในการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ
ของ สถานีตำรวจ

86 1.ที่ตั้ง บช.น/ภ.จว และอาคารบ้านพัก
1.ที่ตั้ง บช.น/ภ.จว และอาคารบ้านพัก - ความสะอาด ความเป็นระเบียบ เรียบร้อย ภายใน และนอกอาคาร สถานที่/อาคารบ้านพัก 2. ข้าราชการตำรวจ - การแต่งกาย เครื่องแบบ เครื่องหมาย อาวุธประจำการ - บุคลิกลักษณะ ทรงผม หนวดเครา ความสะอาด ท่วงที วาจา 3. ระเบียบวินัยและการปกครองบังคับบัญชา

87 4. การฝึกอบรมและพัฒนาข้าราชการตำรวจ
การอบรมชี้แจงประจำสัปดาห์ การจัดผู้ทำหน้าที่ครูฝึก/แผนการฝึก ทดสอบสมรรถภาพทางร่างกาย 5.ศปก.สน. การจัดกำลังประจำ ศปก.สน. ห้องปฏิบัติการ ระบบสื่อสาร การควบคุม สั่งการ และการเชื่อมโยงกับเครือข่ายกับ ตร. บช./ภ. และ ภ.จว.

88 6.ระบบฐานข้อมูล และข้อมูลท้องถิ่น
การจัดเก็บฐานข้อมูล(จัดเก็บเป็นเอกสาร หรือการใช้เทคโนโลยีจัดเก็บ) ข้อมูลท้องถิ่นที่มีอยู่ และการปรับปรุงให้เป็นปัจจุบันนาใช้ประโยชน์ได้ ข้อมูลข้อร้องเรียน/ร้องทุกข์ ของประชาชน ผลการดำเนินการแก้ไขปัญหา

89 7.แผนการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม
- นาฬิกาอาชญากรรม หรือเครื่องมืออื่นที่ใช้ในการ วิเคราะห์วางแผนอาชญากรรมที่เกิดขึ้น - แผนปฎิบัติการ แนวทาง วิธีดำเนินการในการ ป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม - ผลการปฎิบัติในการดำเนินการตามแผน - การจัดกำลังชุดปฎิบัติการประจำสถานี

90 8. งานด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน
กต.ตร.สน./สภ. ตำรวจชุมชน การมีส่วนร่วมของประชาชนในลักษณะต่างๆ 9. การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด - แผนปฎิบัติการ และผลการดำเนินการ ข้อมูล สถิติที่เกี่ยวข้อง

91 10. การดูแลจัดการจราจรในพื้นที่รับผิดชอบ
สังเกตจากสภาพการจราจร การจัดการจราจร เจ้าหน้าที่ประจำชุด ความเป็นระเบียบเรียบร้อยของเส้นทาง 11. การจัดสวัสดิการ/โครงการเสริมรายได้ให้ข้าราชการตำรวจ

92 สรุป การรายงานผลการปฏิบัติราชการตามนโยบายการบริหารราชการ
สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2556 รายงานผลรอบ ระดับ บช./ภาค สรุปรายงานผลในภาพรวมให้ ตร. (สยศ.ตร.) ทราบ 6 4 เม.ย.56 9 4 ก.ค.56 12 4 ต.ค.56 วิธีการรายงาน บช./ภาค สรุปรายงานผลในภาพรวม ของ สน./สภ. บก./ภ.จว. ของ บช./ภาค ส่ง ให้ ตร. สน./สภ. บช./ภาค บก./ภ.จว. สน./สภ. บช./ภาค บก./ภ.จว. สน./สภ. สน./สภ. รายงานผลให้ บก./ภ.จว. ทราบ แล้วเก็บเอกสารไว้ที่ บก./ภ.จว. บช./ภ.จว. สรุปรายงานผลในภาพรวม ของ สน./สภ. ให้ บช./ภาค ทราบ แล้วเก็บเอกสารไว้ที่ บช./ภาค

93 คำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2556
คำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2556

94 ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการฯ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2556 ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ (รวม 42 ตัวชี้วัด ) การประเมินประสิทธิผล (ร้อยละ 60) ด้านประสิทธิผล (ผลลัพธ์และผลผลิต) มี 15 ตัวชี้วัด การประเมินคุณภาพ (ร้อยละ 10) ด้านคุณภาพการให้บริการ มี 1 ตัวชี้วัด มิติภายนอก มิติภายนอก ( ร้อยละ 70) การประเมินประสิทธิภาพ (ร้อยละ 15) ด้านประสิทธิภาพ มี 22 ตัวชี้วัด การพัฒนาองค์กร (ร้อยละ 15) ด้านการพัฒนาองค์การ มี 4 ตัวชี้วัด มิติภายใน ( ร้อยละ30) มิติภายใน

95 มิติที่ 1 : มิติภายนอก - ด้านประสิทธิผล (ผลลัพธ์และผลผลิต) มี 15 ตัวชี้วัด น้ำหนักร้อยละ 60
1.1 ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุต่อนโยบายสำคัญเร่งด่วนของรัฐบาลและ ภารกิจหลักของกรมหรือเทียบเท่าและตัวชี้วัดของกระทรวงที่มีเป้าหมายร่วมกัน (มี 8 ตัวชี้วัด) น้ำหนัก ร้อยละ 57 - นโยบายสำคัญเร่งด่วนของรัฐบาลและภารกิจหลัก ตัวชี้วัดที่ ร้อยละของความหวาดกลัวภัยอาชญากรรมของประชาชน ตัวชี้วัดที่ คดีความผิดเกี่ยวกับชีวิตร่างกายและเพศ ต่อจำนวนประชากร ตัวชี้วัดที่ คดีความผิดต่อทรัพย์ต่อจำนวนประชากรแสนคน ตัวชี้วัดที่ ร้อยละของความเชื่อมั่นของประชาชนต่อการปฏิบัติงานของตำรวจ

96 มิติที่ 1 : มิติภายนอก - ด้านประสิทธิผล (ผลลัพธ์และผลผลิต) มี 15 ตัวชี้วัด น้ำหนักร้อยละ 60
- นโยบายของนายกรัฐมนตรี *ตัวชี้วัดที่ จำนวนคดีที่รับแจ้งความเปรียบเทียบกับจำนวนคดีที่สามารถจับกุมตัวผู้กระทำผิด *ตัวชี้วัดที่ ผลการสั่งดคีในชั้นพนักงานอัยการมีความเห็นสอดคล้องกับ พนักงานสอบสวน *ตัวชี้วัดที่ จำนวนข้อร้องเรียนของนักท่องเที่ยวต่อนักท่องเที่ยวแสนคน *ตัวชี้วัดที่ จำนวนข้อร้องเรียนของนักท่องเที่ยวที่สามารถแก้ไขได้ - ตัวชี้วัดของกระทรวงที่มีเป้าหมายร่วมกัน (Joints KPI Template) - ด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ตัวชี้วัดที่ ปริมาณการจับกุมยาเสพติดที่จับกุมได้เพิ่มขึ้น (หน่วยวัด:กิโลกรัม) - เมธแอมเฟตามีน ไอซ์ - กัญชา เฮโรอีน โคเคน เคตามีน เอ็กซ์ตาซี่ ตัวชี้วัดที่ จำนวนผู้เสพ/ผู้ติด/ผู้ค้ายาเสพติดลดลงโดยการจับกุมและขยายผล (จำนวน/คดี)

97 มิติที่ 1 : มิติภายนอก (ต่อ) ด้านประสิทธิผล (ผลลัพธ์และผลผลิต) มี 15 ตัวชี้วัด น้ำหนักร้อยละ 60
- ด้านความมั่นคงชายแดนภาคใต้ ตัวชี้วัดที่ ร้อยละที่ลดลงของจำนวนเหตุการณ์การก่อความไม่สงบที่มี ผลกระทบต่อชีวิตและทรัพย์สินในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ตัวชี้วัดที่ ร้อยละที่ลดลงของจำนวนผู้เสียชีวิตจากเหตุการณ์ การก่อความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ตัวชี้วัดที่ ร้อยละที่ลดลงของจำนวนผู้ได้รับบาดเจ็บจากเหตุการณ์ การก่อความ ไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ - ด้านศูนย์ช่วยเหลือเด็กและสตรีในภาวะวิกฤตหรือศูนย์พึ่งได้ * ตัวชี้วัดที่ ร้อยละของผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงไม่ถูกกระทำซ้ำ ตัวชี้วัดที่ 1.2 ระดับความสำเร็จของการเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคม อาเซียน(ASEAN Readiness)

98 มิติที่ 1 : มิติภายนอก (ต่อ) ด้านคุณภาพการให้บริการ มี 1 ตัวชี้วัด น้ำหนักร้อยละ 10
- ตัวชี้วัดที่ 2. ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ

99 มิติที่ 2 : มิติภายใน น้ำหนักร้อยละ 30 ด้านประเมินประสิทธิภาพ มี 22 ตัวชี้วัด น้ำหนักร้อยละ 15
ตัวชี้วัดที่ 3. ระดับความสำเร็จการจัดทำต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต ตัวชี้วัดที่ 4. ร้อยละความสำเร็จของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ ตัวชี้วัดที่ 5. ระดับความสำเร็จของปริมาณผลผลิตที่ทำได้จริงเปรียบเทียบกับเป้าหมายผลผลิตตามเอกสารงบประมาณรายจ่าย (เชิงปริมาณ) มี 18 ตัวชี้วัด ได้แก่ ตัวชี้วัดที่ 5.1 การดำเนินคดีกับผู้กระทำความผิด เกี่ยวกับยาเสพติด จำนวนไม่น้อยกว่า 119,800 ราย ตัวชี้วัดที่ 5.2 การสืบสวนและสอบสวนคดีที่สามารถทำสำนวนส่ง ป.ป.ช. ให้ดำเนินการตามกฎหมาย จำนวน 50 คดี

100 มิติที่ 2 : มิติภายใน (ต่อ) น้ำหนักร้อยละ 30 ด้านประเมินประสิทธิภาพ มี 22 ตัวชี้วัด น้ำหนักร้อยละ 15
ตัวชี้วัดที่ 5.3 เหตุการณ์การก่อเหตุรุนแรงที่มีผลกระทบต่อชีวิตและทรัพย์สินบริเวณพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ลดลง เมื่อเปรียบเทียบกับจำนวนเหตุการณ์ฯ ในปีที่ผ่านมา ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕ ตัวชี้วัดที่ 5.4 ควบคุมคดีเกี่ยวกับความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินที่เกิดขึ้นกับนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ ไม่เกิน 20 คดี ต่อนักท่องเที่ยวหนึ่งแสนคน ตัวชี้วัดที่ 5.5 จำนวนนักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับเครื่องคอมพิวเตอร์พกพา (แท็บเล็ต) เพื่อการศึกษา 3,103 คน ตัวชี้วัดที่ 5.6 จำนวนนักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับเครื่องคอมพิวเตอร์พกพา (แท็บเล็ต) เพื่อการศึกษา 144 คน ตัวชี้วัดที่ 5.7 จำนวนครั้งในการรณรงค์ผ่านสื่อเพื่อเสริมสร้างจิตสำนึกของประชาชนให้มีความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ ไม่น้อยกว่า 3,650 ครั้ง

101 มิติที่ 2 : มิติภายใน (ต่อ) น้ำหนักร้อยละ 30 ด้านประเมินประสิทธิภาพ มี 22 ตัวชี้วัด น้ำหนักร้อยละ 15
ตัวชี้วัดที่ 5.8 การรณรงค์สร้างจิตสำนึกและค่านิยมโดยชุมชนและมวลชนสัมพันธ์ เพื่อสร้างความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ 696 ครั้ง/448 หมู่บ้าน ตัวชี้วัดที่ 5.9 หมู่บ้านเป้าหมายที่ดำเนินกิจกรรมเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาสถานการณ์ชายแดน เพื่อความสงบเรียบร้อยและความมั่นคงของรัฐ ไม่น้อยกว่า 2,470 หมู่บ้าน ตัวชี้วัดที่ 5.10 ผลิตข่าวกรองที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงของประเทศ การรักษาความปลอดภัยบุคคลและสถานที่ที่ส่งให้กับผู้ใช้ข่าวและหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องใช้ประโยชน์ ไม่น้อยกว่า 2,500 เรื่อง/ต่อปี ตัวชี้วัดที่ 5.11 การออกตรวจดูแลและรักษาความสงบเรียบร้อยในเขตน่านน้ำ จำนวน 70,900 ครั้ง/ปี ตัวชี้วัดที่ 5.12 คนต่างด้าวเข้าเมืองผิดกฎหมายที่ดำเนินการจับกุมผลักดันออกนอกราชอาณาจักร ไม่น้อยกว่า 300,000 คน

102 มิติที่ 2 : มิติภายใน (ต่อ) น้ำหนักร้อยละ 30 ด้านประเมินประสิทธิภาพ มี 22 ตัวชี้วัด น้ำหนักร้อยละ 15
ตัวชี้วัดที่ 5.13 ผู้มารับบริการสุขภาพ 370,000 ราย (เฉพาะบุคคลภายนอก) ตัวชี้วัดที่ 5.14 จำนวนคดีความผิดเกี่ยวกับการค้ามนุษย์ที่สืบสวนจับกุมได้ จำนวน 72 คดี ตัวชี้วัดที่ 5.15 อัตราส่วนจำนวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน ไม่เกิน ราย ต่อจำนวนประชากรแสนคน ตัวชี้วัดที่ 5.16 ควบคุมคดีอาญาซึ่งมีผลต่อความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชนกลุ่มคดีความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ ไม่เกิน 6.24 คดี ต่อประชากรหนึ่งแสนคน ตัวชี้วัดที่ 5.17 ควบคุมคดีอาญาซึ่งมีผลต่อความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนกลุ่มคดีความผิดเกี่ยวกับชีวิตร่างกาย และเพศ ไม่เกิน คดีต่อประชากรหนึ่งแสนคน

103 มิติที่ 2 : มิติภายใน (ต่อ) น้ำหนักร้อยละ 30 ด้านประเมินประสิทธิภาพ มี 22 ตัวชี้วัด น้ำหนักร้อยละ 15
ตัวชี้วัดที่ 5.18 จำนวนคดีอาญาที่พนักงานสอบสวนดำเนินการเสร็จสิ้นเทียบกับค่ามาตรฐาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ตัวชี้วัดที่ 6. ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ ตัวชี้วัดที่ 7. ระดับความสำเร็จของการปรับปรุงกระบวนการ - ร้อยละความเชื่อมั่นในการป้องกันอาชญากรรมในความเห็นของเจ้าของสถานการ : การลดอาชญากรรมโดยใช้ระบบการเชื่อมโยงกล้องทีวีวงจรปิด (CCTV) ระดับความสำเร็จของการพัฒนากระบวนการผัดฟ้องฝากขังทางอิเล็คทรอนิกส์ : กระบวนการผัดฟ้องฝากขังทางอิเล็กทรอนิกส์ - ร้อยละที่ลดลงของสถิติคดีอาญา 3 กลุ่มในพื้นที่เป้าหมาย : เพิ่มประสิทธิภาพเครือข่ายชุมชนและตำรวจชุมชนในการป้องกันอาชญากรรม

104 มิติที่ 2 : มิติภายใน (ต่อ) น้ำหนักร้อยละ 30 ด้านพัฒนาองค์กร มี 4 ตัวชี้วัด น้ำหนักร้อยละ 15
ตัวชี้วัดที่ 8. ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร ตัวชี้วัดที่ 9. ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงสารสนเทศ ตัวชี้วัดที่ 10. ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ ตัวชี้วัดที่ 11. ระดับความสำเร็จของการดำเนินโครงการสร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ

105 ประเด็นการดำเนินการของหน่วยตามแผนปฏิบัติราชการของตัวชี้วัดที่ 1.1
ชื่อตัวชี้วัด ประเด็นข้อคำถาม 1.1 ร้อยละของความหวาดกลัวภัยอาชญากรรมของประชาชน (ยุทธศาสตร์ที่ 1) ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน ความรู้สึกไม่ปลอดภัย หรือไม่มั่นคงในชีวิต ร่างกายและทรัพย์สินทั้งของตนเองและบุคคลในครอบครัว 2) ความหวาดกลัวที่จะตกเป็นเหยื่ออาชญากรรมประเภทต่างๆ เช่น ลักทรัพย์ วิ่งราวทรัพย์ ชิงทรัพย์ปล้นทรัพย์ ทำร้ายร่างกาย ข่มขืนฯ ขณะอยู่นอกบ้านพัก หรือ ห้องพักเวลากลางวัน ขณะอยู่นอกบ้านพัก หรือ ห้องพักเวลากลางคืน ขณะอยู่ในบ้านพัก หรือ ห้องพักเวลากลางวัน ขณะอยู่ในบ้านพัก หรือ ห้องพักเวลากลางคืน

106 ประเด็นการดำเนินการของหน่วยตามแผนปฏิบัติราชการของตัวชี้วัดที่ 1.1
ชื่อตัวชี้วัด ประเด็นข้อคำถาม 1.1 ร้อยละของความหวาดกลัวภัยอาชญากรรมของประชาชน (ยุทธศาสตร์ที่ 1) 2. ประสิทธิภาพการป้องกันอาชญากรรม 1) ตั้งจุดตรวจจุดสกัดอย่างสม่ำเสมอ 2) รักษาความปลอดภัย ในชีวิตและทรัพย์สิน ในสถานที่ล่อแหลมและสถานที่เปลี่ยวได้ 3) ออกตรวจพื้นที่ อย่างสม่ำเสมอ เช่น สายตรวจรถจักรยานยนต์ สายตรวจเดินเท้า การตรวจตู้แดง ฯลฯ 4) ออกเยี่ยมเยียนประชาชน และปฏิบัติงานชุมชนและมวลชนสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ 5) แนะนำประชาชนในการป้องกันชีวิตและทรัพย์สิน

107 ประเด็นการดำเนินการของหน่วยตามแผนปฏิบัติราชการของตัวชี้วัดที่ 1.1
ชื่อตัวชี้วัด ประเด็นข้อคำถาม 1.1 ร้อยละของความหวาดกลัวภัยอาชญากรรมของประชาชน (ยุทธศาสตร์ที่ 1) (ต่อ) 3.ประสิทธิภาพการปราบปรามอาชญากรรม มาถึงสถานที่เกิดเหตุด้วยความรวดเร็วและสามารถระงับเหตุการณ์ได้ทันท่วงที 2) มีความรู้ความสามารถในการสืบสวนสอบสวนภายหลังเกิดเหตุ 3) สามารถติดตามจับกุมตัวคนร้าย ได้อย่างรวดเร็ว 4) สามารถปราบปรามยาเสพติด ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

108 ประเด็นการดำเนินการของหน่วยตามแผนปฏิบัติราชการของตัวชี้วัดที่ 1.4
ประเด็นการดำเนินการของหน่วยตามแผนปฏิบัติราชการของตัวชี้วัดที่ 1.4 ชื่อตัวชี้วัด ประเด็นข้อคำถาม 1.4 ร้อยละของความเชื่อมั่นของประชาชนต่อการปฏิบัติงานของตำรวจ (ยุทธศาสตร์ที่ 2) การให้บริการบนสถานีตำรวจ (Front office) ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก 1) มีป้ายแสดงที่ตั้ง และเส้นทางการเดินทางไปสถานีตำรวจ ที่มีความชัดเจน เห็นได้ง่าย 2) การจัดที่นั่งรอรับบริการบนสถานีตำรวจมี อย่างเพียงพอ3) ความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อย 4) การจัดสถานที่จอดรถสาหรับประชาชนอย่างเพียงพอ 5) ห้องน้ามีจำนวนเพียงพอ 6) มีตู้รับฟังความคิดเห็นของประชาชนติดตั้งไว้ ด้านเจ้าหน้าที่/บุคลากร 7) กิริยามารยาทของเจ้าหน้าที่ตำรวจเป็นมิตรต่อประชาชน 8) มีบุคลิกภาพน่าเชื่อถือและเหมาะสม 9) ใส่ใจในการบริการ 10) ให้บริการประชาชนอย่าง เสมอภาค

109 ประเด็นการดำเนินการของหน่วยตามแผนปฏิบัติราชการของตัวชี้วัดที่ 1.4
ประเด็นการดำเนินการของหน่วยตามแผนปฏิบัติราชการของตัวชี้วัดที่ 1.4 ชื่อตัวชี้วัด ประเด็นข้อคำถาม 1.4 ร้อยละของความเชื่อมั่นของประชาชนต่อการปฏิบัติงานของตำรวจ (ยุทธศาสตร์ที่ 2) การให้บริการบนสถานีตำรวจ (Front office) (ต่อ) มีความรู้ในการตอบคำถาม ให้คำแนะนำ ให้คำปรึกษา ปัญหา 12) ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความสุจริต ไม่มีการเรียกร้องทรัพย์สินอื่นใด ด้านกระบวนการการให้บริการ 13) สวมชุดเครื่องแบบระหว่างปฏิบัติหน้าที่ 14) มีการจัดแผนผังอธิบายและแนะนำขั้นตอน เช่น การแจ้งความร้องทุกข์ การเสียค่าปรับคดีจราจร การแจ้งเอกสารหายหรือแจ้งความไว้เป็นหลักฐานฯ 15) มีการจัดพื้นที่ให้บริการไว้ ณ จุดเดียว 16) การบริการมีความรวดเร็วเหมาะสม 17) การบริการเรียงลำดับก่อนหลัง ไม่มี การแซงหรือแทรกคิว

110 ประเด็นการดำเนินการของหน่วยตามแผนปฏิบัติราชการของตัวชี้วัดที่ 1.4
ประเด็นการดำเนินการของหน่วยตามแผนปฏิบัติราชการของตัวชี้วัดที่ 1.4 ชื่อตัวชี้วัด ประเด็นข้อคำถาม 1.4 ร้อยละของความเชื่อมั่นของประชาชนต่อการปฏิบัติงานของตำรวจ (ยุทธศาสตร์ที่ 2) 2. การอำนวยความยุติธรรมและความเชื่อมั่นของผู้เสียหาย ต่อ พนักงานสอบสวน สุภาพและให้เกียรติผู้เสียหาย 2) ตรงต่อเวลาเมื่อนัดหมายทางคดี 3) แจ้งข้อมูล ขั้นตอน และข้อมูลทางคดีให้ผู้เสียหายทราบ 4) การสอบสวนรวดเร็ว ตามกรอบระยะเวลาที่กฎหมายกำหนด 5) ปกปิดข้อมูลของผู้เสียหายและพยานเป็นความลับ 6) มีความรู้ความสามารถ และปฏิบัติตามขั้นตอนการสอบสวนได้อย่างถูกต้องครบถ้วน 7) นำเทคโนโลยีมาใช้ใน การรวบรวมพยานหลักฐานในงานสอบสวนได้อย่างมีประสิทธิภาพ 8) ปฏิบัติหน้าที่อย่างซื่อสัตย์ สุจริต ตรงไปตรงมา ไม่แสวงหาผลประโยชน์อันมิควรได้

111 ประเด็นการดำเนินการของหน่วยตามแผนปฏิบัติราชการของตัวชี้วัดที่ 1.4
ประเด็นการดำเนินการของหน่วยตามแผนปฏิบัติราชการของตัวชี้วัดที่ 1.4 ชื่อตัวชี้วัด ประเด็นข้อคำถาม 1.4 ร้อยละของความเชื่อมั่นของประชาชนต่อการปฏิบัติงานของตำรวจ (ยุทธศาสตร์ที่ 2) 3. การนำประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในกิจการตำรวจ 1. เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามา มีส่วนร่วมในการป้องกันปราบปรามอาชญากรรม 2. สนับสนุน ยกย่อง เชิดชูเกียรติ ประชาชนที่มีส่วนร่วม 3. กำหนดแนวทาง ระเบียบ หรือกลไกในการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม 4. มีกิจกรรมร่วมกับประชาชน ในชุมชนอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ 5.เมื่อท่านทราบเบาะแสคนร้ายจะแจ้งให้ตำรวจทราบ

112 กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ของหน่วยงานฝ่ายอำนวยการและสนับสนุน
(คำรับรองฯกับ ตร.)

113 ตัวชี้วัดของหน่วยงานฝ่ายอำนวยการและสนับสนุน ที่ทำคำรับรองกับ ตร.
ระดับความสำเร็จของการสืบสวนหาข่าว ร้อยละความเชื่อมั่นและความพึงพอใจด้านการข่าว บช.ส.

114 ตัวชี้วัดของหน่วยงานฝ่ายอำนวยการและสนับสนุน ที่ทำคำรับรองกับ ตร. (ต่อ)
พัฒนาระบบรับแจ้งเหตุฉุกเฉินและให้ข้อมูลบริการประชาชนให้ครอบคลุมทุก ภ.จว.(สส.) ระดับความสำเร็จของโครงการศึกษา การพัฒนาโปรแกรมใช้งานบนโทรศัพท์มือถือ เพื่อแจ้งข่าวอาชญากรรม (สสท.) ระดับความสำเร็จของโครงการศึกษาเกี่ยวกับการนำเทคโนโลยี GPS มาใช้ในการบริหารงานสายตรวจ (สสท.) จัดระบบการประชุมทางไกลผ่านจอภาพให้ครอบคลุมระดับ ภ.จว. และ สภ. ที่สำคัญ (สส.) ระดับความสำเร็จของโครงการพัฒนาระบบเชื่อมโยงข้อมูลหน่วยงานภายนอก 3 หน่วยงาน (ศทก.) สทส.

115 ตัวชี้วัดของหน่วยงานฝ่ายอำนวยการและสนับสนุน ที่ทำคำรับรองกับ ตร. (ต่อ)
- ระดับความสำเร็จของการปรับปรุงพัฒนาระบบงานและกระบวนงานจัดการประชุมคณะกรรมการนโยบายตำรวจแห่งชาติ (ก.ต.ช.) ให้มีประสิทธิภาพ ก.ต.ช. ระดับความสำเร็จของการจัดทำแผนพัฒนาบุคลากร ร้อยละความสำเร็จของการจัดตั้ง ฌาปนสถานประจำหน่วยของ ตร. สกพ.

116 ตัวชี้วัดของหน่วยงานฝ่ายอำนวยการและสนับสนุน ที่ทำคำรับรองกับ ตร. (ต่อ)
ระดับความสำเร็จในการจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน ระดับความสำเร็จของการจัดสรรงบประมาณให้หน่วยงานใน ตร. สงป. สง.ก.ตร. การปรับปรุงกระบวนการการอุทธรณ์ ไม่เกิน 240 วัน ข้าราชการตำรวจดีเด่นระดับประเทศ

117 ตัวชี้วัดของหน่วยงานฝ่ายอำนวยการและสนับสนุน ที่ทำคำรับรองกับ ตร. (ต่อ)
ร้อยละของการออกรายงานการตรวจพิสูจน์หลักฐานได้รวดเร็วกว่าระยะเวลาที่กำหนดไว้ ร้อยละของการเข้าถึงสถานที่เกิดเหตุภายในกำหนดเวลา ร้อยละความเชื่อมั่นของพนักงานสอบสวนต่อการปฏิบัติงานของตำรวจในด้านการตรวจพิสูจน์หลักฐานและวิทยาการตำรวจ ระดับความสำเร็จของความเชื่อมโยงฐานข้อมูลลายนิ้วมือแฝงให้สามารถสนับสนุนการปฏิบัติงานของพนักงานสอบสวน สพฐ.ตร.

118 ตัวชี้วัดของหน่วยงานฝ่ายอำนวยการและสนับสนุน ที่ทำคำรับรองกับ ตร. (ต่อ)
ระดับความสำเร็จของการจัดเก็บข้อมูลกฎหมาย กฎ ระเบียบ คำสั่ง และข้อบังคับต่าง ๆ ในระบบ Electronic – Document (กม.) ระดับความสำเร็จของการแจ้งเวียนข้อมูลกฎหมาย กฎ ระเบียบ คำสั่ง และข้อบังคับต่าง ๆ ผ่านระบบ Electronic – Document ไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (กม.) การกำหนดตัวชี้วัดการปฏิบัติงานของนิติกร (คด.) ระดับความสำเร็จของการเตรียม ความพร้อมพนักงานสอบสวนสู่ประชาคมอาเซียน(สบส.) กมค.

119 ตัวชี้วัดของหน่วยงานฝ่ายอำนวยการและสนับสนุน ที่ทำคำรับรองกับ ตร. (ต่อ)
ด้านการป้องกันปราบปรามความผิดเกี่ยวกับ ชีวิต ร่างกาย ทรัพย์ประกอบด้วย คดีฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา คดี ปล้นทรัพย์ และคดีเกี่ยวกับอายุธปืน อาวุธสงคราม (บก.ป.) การจับกุมการกระทำความผิดเกี่ยวกับรถบรรทุกน้ำหนักเกินพิกัดอัตราที่กฎหมายกำหนด (บก.ทล.) คดีความผิดเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ประกอบด้วย (บก.ปทส.) 1) การตัดไม้ทำลายป่า 2) การบุกรุกป่าและที่สาธารณะ 3) การค้าสัตว์ป่า และพันธุ์พืช 4) การทำลายทรัพยากรธรรมชาติและคุณภาพสิ่งแวดล้อม และการยึดพื้นที่ป่าคืน บช.ก.

120 ตัวชี้วัดของหน่วยงานฝ่ายอำนวยการและสนับสนุน ที่ทำคำรับรองกับ ตร. (ต่อ)
คดีความผิดเกี่ยวกับ (บก.ปคบ.) 1) พ.ร.บ.คุ้มครองผู้บริโภค 2) พ.ร.บ.มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม 3) พ.ร.บ.อาหารและยา 5. คดีความผิดเกี่ยวกับ (บก.ปอศ.) 1) ภาษี 2) การละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา 3) การเงินการธนาคาร คดีความผิดทางเว็บไซต์เกี่ยวกับการพนันออนไลน์และความผิดทางเว็บไซต์ลามกอนาจาร (บก.ปอท.) 7. คดีความผิดเกี่ยวกับการสืบสวนและสอบสวนคดีที่สามารถทำสำนวนส่ง ป.ป.ช. หรือ ป.ป.ท. ให้ดำเนินการตามกฎหมาย ตามที่ ตร. กำหนดให้ 50 คดี (บก.ปปป.) บช.ก. (ต่อ)

121 ตัวชี้วัดของหน่วยงานฝ่ายอำนวยการและสนับสนุน ที่ทำคำรับรองกับ ตร. (ต่อ)
คดีความผิดเกี่ยวกับจำนวนข้อร้องเรียน ต่อนักท่องเที่ยว 100,000 คน และจำนวนข้อร้องเรียนของนักท่องเที่ยวต่อนักท่องเที่ยวที่สามารถแก้ไขได้ (บก.ทท.) คดีความผิดเกี่ยวกับการค้ามนุษย์ และความผิดที่เกี่ยวเนื่องตาม พ.ร.บ.ป้องกันปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ.2551 จำนวน 72 คดี (บก.ปคม.) คดีความผิดเกี่ยวกับการตรวจป้องกันปราบปรามอาชญากรรม และการดูแลรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน 70,900 ครั้ง/ปี (บก.รน.) การออกตรวจดูแลและรักษาความปลอดภัย อำนวยความสะดวกบนขวบนรถไฟ (บก.รฟ.) บช.ก. (ต่อ)

122 ตัวชี้วัดของหน่วยงานฝ่ายอำนวยการและสนับสนุน ที่ทำคำรับรองกับ ตร. (ต่อ)
ผลการจับกุมอาชญากรรมข้ามชาติเปรียบเทียบกับการส่งข้อมูลให้หน่วย ทำฐานข้อมูลอาชญากรรมข้ามชาติ คนต่างชาติในประเทศไทย การวิเคราะห์สถานภาพอาชญากรรมข้ามชาติในประเทศไทย ตท. ระดัความสำเร็จในการส่งสำนวนคดีเสนอผู้บังคับบัญชา ระดับความสำเร็จในการพัฒนาบุคลากรด้านวินัย วน.

123 ตัวชี้วัดของหน่วยงานฝ่ายอำนวยการและสนับสนุน ที่ทำคำรับรองกับ ตร. (ต่อ)
ชิ้นงานช่องทางสื่อสาร ช่องทางประชาสัมพันธ์ของตำรวจ คู่มือการแถลงข่าวสารของผู้บังคับบัญชา สท.

124 ตัวชี้วัดของหน่วยงานฝ่ายอำนวยการและสนับสนุน ที่ทำคำรับรองกับ ตร. (ต่อ)
ความพึงพอใจของผู้รับบริการด้านงานอำนวยการ งานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ (E-paper) 3. ระดับความสำเร็จของการจัดทำคู่มือการปฏิบัติงาน 3.1 คู่มือการปฏิบัติงานพิธีการ 3.2 คู่มือการปฏิบัติงานรัฐพิธี 3.3 คู่มือการปฏิบัติงานราชพิธี สลก.ตร.

125 ตัวชี้วัดของหน่วยงานฝ่ายอำนวยการและสนับสนุน ที่ทำคำรับรองกับ ตร. (ต่อ)
ร้อยละของข้าราชการตำรวจที่เข้าร่วมโครงการรักษ์สุขภาพ ระดับความพึงพอใจของข้าราชการตำรวจที่เข้าร่วมโครงการรักษ์สุขภาพ ระดับความสำเร็จของการดำเนินโครงการสร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ ร้อยละของหลักสูตรการอบรมที่ผ่านเกณฑ์หลักประกันคุณภาพการฝึกอบรม ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ (แยก ขรก.ตร. และประชาชน) รพ.ตร.

126

127 การรายงานผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
สรุป การรายงานผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2556 รายงานผลรอบ หน่วยปฏิบัติ ระดับ บช. รายงานผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัดรายงาน ตร. ตร. 6 11 เม.ย.56 23 เม.ย.56 รายงานผล + ไฟล์ข้อมูล สยศ.ตร. 9 8 ก.ค.56 10 ก.ค.56 12 11 ต.ค.56 22 ต.ค.56

128

129

130 ติดต่อประสานงาน กลุ่มงานขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ กองยุทธศาสตร์
สำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ (สยศ.ตร.) หมายเลข โทรสาร เว็บไซด์ Facebook : กลุ่มงานขับเคลื่อนยุทธศาสตร์

131


ดาวน์โหลด ppt ประเด็นการชี้แจง วัตถุประสงค์และเป้าหมาย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google