งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

หลักการจัดองค์การ เป้าหมาย.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "หลักการจัดองค์การ เป้าหมาย."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 หลักการจัดองค์การ เป้าหมาย

2 สาเหตุที่ต้องมีการจัดองค์การ
1. ปรับปรุง พัฒนาประสิทธิภาพ และ คุณภาพของงานที่ทำ 2. แสดงให้เห็นถึงภาระหน้าที่ 3. ระบบการติดต่อสื่อสารที่ดี

3 ผลลัพธ์ในการจัดองค์การ
แผนภูมิองค์การ ผลลัพธ์ในการจัดองค์การ “เรียงลำดับขั้นจากสูงสุดถึงต่ำสุด”

4 แผนภูมิองค์การแบบง่าย

5 องค์การที่เป็นทางการ
แผนภูมิองค์การ ความสัมพันธ์ที่เป็นทางการของสมาชิกทั้งหลายในองค์การ องค์การที่เป็นทางการ

6 ขั้นตอนการจัดองค์การ การกระจายอำนาจหน้าที่
การแบ่งงาน การจัดแผนกงาน การกระจายอำนาจหน้าที่ การประสานงาน

7 การแบ่งงาน (Division of Work)
ตลาด บุคคล บัญชี ผลิต จัดซื้อ

8 อิสระและเสรีภาพในการวางแผนจัดการกับงานของตนว่ามีมากน้อยเพียงใด
ความลึกของงาน (Job Depth) อิสระและเสรีภาพในการวางแผนจัดการกับงานของตนว่ามีมากน้อยเพียงใด ความลึกสูง ท้าทาย รับผิดชอบ ไม่ควบคุม ความลึกต่ำ จำเจ น่าเบื่อ ควบคุม

9 ขอบข่ายงานกว้างประเภทงานมากชนิด
ขอบข่ายของงาน (Job Scope) จำนวนชนิดของงานที่คนงานได้รับมอบหมาย ขอบข่ายงานแคบ ประเภทงานน้อยชนิด ขอบข่ายงานกว้างประเภทงานมากชนิด

10 (Task Characteristics)
ลักษณะของงาน (Task Characteristics) ความชำนาญ (Skill Variety) เอกลักษณ์ของงาน (Task Identity) ความสำคัญของงาน (Task Significance) ความเป็นอิสระในงาน (Autonomy) ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback)

11 ผลกระทบ ผลทางบวก คนงานขาดงานสูง ต้นทุนต่ำลง มีการเข้าออกงานบ่อย
Specialization ผลทางลบ คนงานขาดงานสูง มีการเข้าออกงานบ่อย ประสิทธิภาพของงานต่ำลง ผลทางบวก ต้นทุนต่ำลง คนงานมีความชำนาญสูงขึ้น

12 การเพิ่มจำนวนของกิจกรรมที่คนงานทำอยู่ให้มีหลากหลายมากขึ้น
ขยายงานแนวราบ (Job Enlargement) การเพิ่มจำนวนของกิจกรรมที่คนงานทำอยู่ให้มีหลากหลายมากขึ้น Job Rotation Job Enlargement

13 ความพยายามที่จะให้คนงานมีอิสระในการทำงานมากขึ้น
ขยายงานแนวดิ่ง (Job Enrichment) ความพยายามที่จะให้คนงานมีอิสระในการทำงานมากขึ้น Job Depth

14 (Departmentalization)
การจัดแผนกงาน (Departmentalization) การรวมงานชนิดต่าง ๆ หรือขั้นตอนการทำงานต่าง ๆ ให้เข้าอยู่ในหน่วยงานใหญ่เดียวกัน Organization Chart

15 (Departmentalization)
การจัดแผนกงาน (Departmentalization) จัดตามหน้าที่ จัดตามผลิตภัณฑ์ จัดตามกิจกรรมหรือกระบวนการผลิต จัดตามลักษณะของลูกค้า จัดตามพื้นที่

16 การจัดแผนกงานตามหน้าที่

17 การจัดแผนกงานตามผลิตภัณฑ์

18 การจัดแผนกงานตามกระบวนการผลิต

19 การจัดแผนกงานตามลักษณะลูกค้า

20 การจัดแผนกงานตามพื้นที่

21 การจัดแผนกงานแบบอื่น ๆ
การจัดแผนกงานตามเวลา การจัดแผนกงานตามขนาด

22 การจัดแผนกงานแบบผสมกัน

23 อำนาจอย่างถูกต้องที่ได้รับมาจากองค์การ
อำนาจหน้าที่ อำนาจอย่างถูกต้องที่ได้รับมาจากองค์การ Authority

24 ความสามารถที่จะกระทำหรือใช้อิทธิพล
ความแตกต่าง อำนาจหน้าที่ VS อำนาจ อำนาจ ความสามารถที่จะกระทำหรือใช้อิทธิพล อำนาจหน้าที่ สิทธิที่ถูกต้องที่จะกระทำการอย่างใดอย่างหนึ่ง

25 ทฤษฎีทางด้านการบริหาร
แบบดั้งเดิม ยอมรับในอำนาจหน้าที่ สถานการณ์เป็นตัวกำหนด บุคคลที่มีความรู้ความชำนาญ

26 ผู้จัดการมีอำนาจหน้าที่ ผู้จัดการไม่มีอำนาจหน้าที่
ผู้ใต้บังคับบัญชา โต้แย้งและปฏิเสธ ที่จะปฏิบัติตาม ยอมรับคำสั่ง ของผู้จัดการ ผู้จัดการออกคำสั่ง ผู้จัดการมีอำนาจหน้าที่ ผู้จัดการไม่มีอำนาจหน้าที่ Acceptance Theory บทบัญญัติของบริษัท กฎหมายของรัฐ คนงานทั่วไป ผู้บริหารระดับล่าง ผู้บริหารระดับกลาง ผู้ถือหุ้น ผู้บริหารระดับสูง ประธาน คณะกรรมการบริหาร Classical Theory

27 ประเภทของอำนาจหน้าที่
1. Line Authority 2. Staff Authority 3. Functional Authority

28 Line Authority Functional Authority Staff Authority
รับผิดชอบความสำเร็จขององค์การ อยู่ใน Chain of Command Functional Authority ช่วย Line และ Staff บังคับบัญชานอกสายงานได้ Staff Authority ช่วยเหลือหน่วยงานที่ เป็น Line อยู่นอก Chain of Command

29 กระบวนการมอบหมายอำนาจหน้าที่
กำหนดความรับผิดชอบ มอบหมายอำนาจหน้าที่ “หลักความเสมอภาค” ทำให้ผู้บังคับบัญชารู้ถึงภาระหน้าที่ “Accountability”

30 การรวมอำนาจ การกระจายอำนาจ
- อำนาจอยู่ที่ผู้บริหารระดับสูง - พนักงานขาดขวัญกำลังใจ - พนักงานไม่กล้าตัดสินใจ การกระจายอำนาจ - ให้พนักงานช่วยตัดสินใจ - พนักงานมีขวัญกำลังใจ - งานท้าทาย

31 รวมอำนาจหรือกระจายอำนาจขึ้นอยู่กับ
ขนาดองค์การ เทคโนโลยี สภาพแวดล้อม ขอบเขตภูมิประเทศ

32 ความสอดคล้องของกิจกรรม จุดมุ่งหมายร่วมอันเดียวกัน
การประสานงาน Coordination ความพยายามของกลุ่ม ความสอดคล้องของกิจกรรม จุดมุ่งหมายร่วมอันเดียวกัน

33 เอกภาพในการบังคับบัญชา การมีผู้บังคับบัญชาคนเดียว
Unity of Command การมีผู้บังคับบัญชาคนเดียว

34 สายการบังคับบัญชา อำนาจหน้าที่ จะเริ่มต้นที่ระดับบนแล้วลดหลั่นลงมาเรื่อยจนถึงระดับล่างเหมือนสายโซ่ร้อยติดกัน โดยไม่ขาด Chain of Command

35 จำนวนของผู้ใต้บังคับบัญชาที่ผู้บังคับบัญชา แต่ละคนต้องควบคุมดูแล
ขนาดของการควบคุม จำนวนของผู้ใต้บังคับบัญชาที่ผู้บังคับบัญชา แต่ละคนต้องควบคุมดูแล ขนาดควบคุมแคบ ขนาดควบคุมกว้าง Tall Organization Flat Organization Span of Control

36 องค์การที่มีโครงสร้างแบบสูง
ประธาน รองประธาน ผู้จัดการ

37 องค์การที่มีโครงสร้างแบบแบนราบ
ประธาน รองประธาน

38 สายการบังคับบัญชา A C B F D G E H I Gangplank

39 ขนาดของผู้ใต้บังคับบัญชา
Sir Ian Hamilton Lyndall Urwick ขนาดของผู้ใต้บังคับบัญชา 3-6 คน

40 V.G. Graicunas R = n(2n-1 + n-1)

41 V.G. Graicunas ข้อดี ช่วยให้รู้ความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้น ข้อเสีย ไม่ได้บอกขนาดของการควบคุมที่ดีที่สุดควรจะเป็นกี่คน

42 V.G. Graicunas ปัจจัยอื่น ๆ ที่ต้องนำมาพิจารณา
1. ปัจจัยที่เกี่ยวกับกิจกรรมที่ต้องควบคุมดูแล 2. ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับผู้บังคับบัญชา 3. ปัจจัยที่เกี่ยวกับผู้ใต้บังคับบัญชา


ดาวน์โหลด ppt หลักการจัดองค์การ เป้าหมาย.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google