งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

e-Learning แหล่งที่มาข้อมูลอ้างถึง รวบรวม เรียบเรียง : WBI Design

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "e-Learning แหล่งที่มาข้อมูลอ้างถึง รวบรวม เรียบเรียง : WBI Design"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 e-Learning แหล่งที่มาข้อมูลอ้างถึง รวบรวม เรียบเรียง : WBI Design
Department of Computer Education KMITNB ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

2 เกริ่นนำ WBI Design ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีเครือข่ายคอมพิวเตอร์ กระตุ้นให้เกิดการศึกษาผ่านเครือข่าย โดยเฉพาะอินเตอร์เน็ต สนับสนุนด้านการศึกษา สร้างโอกาสของการเรียนรู้ให้ทัดเทียมกัน สนับสนุนการฝึกอบรมในสถานประกอบการให้ได้รับประโยชน์สูงสุด Online Training ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตในลักษณะของ e-Training e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

3 เกริ่นนำ WBI Design มีบทบาทต่อการเรียนการสอนทุกรูปแบบ โดยเฉพาะการศึกษาทางไกล(Distance Learning) สนับสนุนการศึกษาแบบ L3 (Life Long Learning) หมายถึงการศึกษาตลอดชีวิต ผู้เรียนไม่ต้องเสียเวลาเดินทางเข้าร่วมศึกษาในชั้นเรียนและไม่ขึ้นอยู่กับเวลา e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

4 ความหมายของ e-Learning
WBI Design e-Learning เกิดจากคำศัพท์ 2 คำ e ซึ่งมาจาก Electronic ที่มีความหมายในเชิงของความรวดเร็วโดยทำงานในระบบอัตโนมัติ Learning ซึ่งหมายถึง การเรียน การเรียนรู้ หรือการเรียนการสอน e-Learning Electronic + Learning e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

5 ความหมายของ e-Learning
WBI Design กระบวนการเรียนรู้ทางไกลอย่างอัตโนมัติผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Media) ซีดีรอม เครือข่ายอินทราเน็ต เครือข่ายอินเตอร์เน็ต เครือข่ายเอ็กซ์ทราเน็ต ระบบเสมือนจริง (Virtual Reality System) สื่ออื่น ๆ โดยไม่ขึ้นอยู่กับเวลาและสถานที่ e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

6 ความหมายของ e-Learning
WBI Design e-Learning เป็นรูปแบบหนึ่งของการจัดเนื้อหาสาระที่สร้างเป็นบทเรียนสำเร็จรูปที่อาจใช้ซีดีรอมเป็นสื่อกลางในการส่งผ่านความรู้หรือใช้เครือข่ายอินทราเน็ตหรือเครือข่ายอินเตอร์เน็ต รูปแบบของ e-Learning อาจเป็น บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน(CAI–Computer-Assisted Instruction) บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยฝึกอบรม(CBT– Computer-Based Training) บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเว็บ(WBI – Web-Based Instruction) เพื่อใช้ในการเรียนการสอนทางไกล e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

7 ความหมายของ e-Learning
WBI Design Courseware Technology Computer Networking Communication Content Exercise/Test e-Learning Media/Aids Activities e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

8 ประโยชน์ของ e-Learning
WBI Design ความสะดวกสบาย (Convenient) สามารถจัดการศึกษาให้กับผู้เรียนได้ตามความต้องการโดยไม่ต้องอาศัยชั้นเรียน ความสัมพันธ์กับปัจจุบัน (Relevant) สามารถปรับเปลี่ยนเนื้อหาสาระและข้อมูลต่าง ๆ ตามสถานการณ์ปัจจุบันได้ง่าย ความเร็วแบบทันทีทันใด (Immediate) e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

9 ประโยชน์ของ e-Learning
WBI Design ความเป็นเลิศของระบบ (Excellent) สามารถนำเสนอเนื้อหาสาระและระบบการจัดการที่มีความเป็นเลิศ ทันสมัย และน่าสนใจ การมีปฏิสัมพันธ์ (Interactive) ปฏิสัมพันธ์กับบทเรียนโดยตรง ปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียนที่อยู่ต่างชุมชนด้วยความสะดวกและมีประสิทธิภาพ เพื่อร่วมกันสร้างสรรค์องค์ความรู้ในลักษณะของระบบการเรียนรู้ร่วมกัน (Collaborative Learning System) e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

10 ประโยชน์ของ e-Learning
WBI Design ความเป็นสหวิชาการ (Interdisciplinary) เป็นการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกันหลายวิชา หรือเรียกว่า สหวิชาการ e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

11 คุณสมบัติของ e-Learning
WBI Design e-Learning is dynamic หมายถึง เนื้อหาสาระและข้อมูลที่ปรากฏอยู่ในระบบ e-Learning เป็นข้อมูลที่มีความเป็นพลวัต (Dynamic) เปลี่ยนแปลงได้ง่าย e-Learning operates in real time หมายถึง การทำงานของระบบ e-Learning เป็นระบบเวลาจริง e-Learning is empowering หมายถึง ระบบ e-Learning สามารถควบคุมการนำเสนอเนื้อหาสาระ การจัดกิจกรรมการเรียน การนำเสนอสื่อการเรียนการสอน และส่วนของการจัดการอื่น ๆ ตามความสามารถในการเรียนรู้ของผู้เรียน e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

12 คุณสมบัติของ e-Learning
WBI Design e-Learning is individual หมายถึง กระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเองของ e-Learning จะสัมพันธ์กับประสบการณ์ของผู้เรียนแต่ละคน e-Learning is comprehensive หมายถึง ความสามารถของ e-Learning ในการจัดการกับข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ อย่างเข้าใจและชาญฉลาด e-Learning enables the enterprise หมายถึง ความสามารถในการสร้างงานหรือภารกิจของ e-Learning ต่อกลุ่มผู้เรียนหรือสมาชิกผู้ประกอบการด้วยกัน e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

13 คุณสมบัติของ e-Learning
WBI Design e-Learning is effective หมายถึง ความสามารถทางด้านประสิทธิผลของ e-Learning ในการทำให้ผู้เรียนมีการปฏิสัมพันธ์กับบทเรียนแล้วได้รับความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ ตลอดจนมีความคงทนในการเรียนรู้สูง (Retention of Learning) e-Learning is express หมายถึง ความรวดเร็วของ e-Learning ในการสร้างสรรค์องค์ความรู้ให้กับผู้เรียนได้อย่างรวดเร็วตามต้องการ e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

14 คุณสมบัติของ e-Learning
WBI Design e-Learning is experiencetial ผู้เรียนมีประสบการณ์เหมือนการเรียนในห้องเรียนหลังจากเรียนบทเรียนตามปัจจัยที่ผู้ออกแบบตั้งไว้ การติดตามบทเรียน (Engagement) การอยากรู้อยากเห็น (Curiosity) การสร้างสถานการจำลองและการฝึกปฏิบัติ (Simulations and Practice) การช่วยเหลือ (Coaching) การแก้ไขและการรักษาบทเรียน (Remediation) สร้างชุมชนการเรียนรู้ (Pier Learning) e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

15 คุณสมบัติของ e-Learning
WBI Design e-Learning is experiencetial (ต่อ) การเรียนรู้แบบมีชีวิตชีวา (Action Learning) การสนับสนุนความสามารถ (Support Performance) ความเข้มข้น (Intensity) ของเนื้อหา การประเมินผลและการให้ข้อมูลป้อนกลับ (Assessment and Feedback) วัฒนธรรมการสอน (Teaching Culture) e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

16 ข่ายงาน (Framework) ของ e-Learning
WBI Design ข่ายงาน (Framework) ของ e-Learning e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

17 สภาวะแวดล้อม อีเลิร์นนิ่ง
Static Content Expert / Faculty Internet Co-Learner Learner Helpdesk Dynamic Content e-Learning

18 ข่ายงาน (Framework) ของ e-Learning
WBI Design Student Web-Based Learning Materials Textbooks/Journals Tutorials e-Libraries Lectures e-Discussion Groups Quality and Assessment e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

19 ข่ายงาน (Framework) ของ e-Learning
WBI Design ผู้เรียน (Student) วัสดุการเรียนรู้บนเว็บ (Web-Based Learning Materials) บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเว็บ WBI (Web-Based Instruction) WBT (Web-Based Training) IBT (Internet-Based Training) NBT (Net-Based Training) สไลด์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronics Slide) Powerpoint Slide e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

20 ข่ายงาน (Framework) ของ e-Learning
WBI Design หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Books) การใช้โปรแกรม Acrobat Reader อ่านไฟล์เอกสาร pdf เอกสารคำสอนอิเล็กทรอนิกส์ (e-Lecture Notes) ไฟล์ doc, ไฟล์ html วีดิทัศน์และเสียงดิจิตอล (Video and Digital Sound) การใช้โปรแกรม RealVideo ดูภาพวีดิทัศน์ และ RealAudio ฟังเสียง เอกสารไฮเปอร์เท็กซ์และไฮเปอร์มีเดีย (Hypertext and Hypermedia Document) e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

21 ข่ายงาน (Framework) ของ e-Learning
WBI Design การบรรยายการสอน (Lectures) ใช้วิธีการบรรยายแบบออนไลน์ผ่านช่องทางโทรคมนาคม ในส่วนเนื้อหาที่สำคัญเป็นครั้งคราว ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ระบบดาวเทียม ระบบโทรทัศน์ตามสาย (Cable TV) ช่องทางอื่น ๆ ตามที่ตกลงกันไว้ก่อนระหว่างผู้ดำเนินการและผู้เรียน e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

22 ข่ายงาน (Framework) ของ e-Learning
WBI Design การสอนเสริม (Tutorials) เพื่อเพิ่มความเข้าใจเนื้อหาบทเรียนที่มีความยาก กระทำโดยวิธีการออนไลน์ผ่านเครือข่ายเช่นเดียวกันกับการบรรยายการสอน หนังสือ/บทความ (Textbooks/Journal) เพื่อให้ผู้เรียนศึกษาเพิ่มเติม ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (e-Libraries) e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

23 ข่ายงาน (Framework) ของ e-Learning
WBI Design การวิจารณ์กลุ่มอิเล็กทรอนิกส์ (e-Discussion Groups) เพื่อสร้างบรรยากาศให้ใกล้เคียงห้องเรียนจริงผ่านสื่อออนไลน์ แบ่งตามการใช้งานเป็น ระบบการดำเนินการพร้อมกัน (Synchronous System) การสนทนาแบบเวลาจริง (Realtime Chat) เช่น Facebook messenger, Line Chat เป็นต้น การประชุมทางไกลด้วยวีดิทัศน์และเสียง (Video and Audio Teleconferencing) เช่น การใช้โปรแกรม NetMeetings สำหรับการประชุมทางไกลร่วมกัน การเรียนรู้แบบร่วมกัน (Collaborative Learning System) e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

24 ข่ายงาน (Framework) ของ e-Learning
WBI Design ระบบการดำเนินการไม่พร้อมกัน (Asynchronous System) การใช้กระดานอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Board) เช่น การใช้กระดานข่าว BBS (Bulletin Board System), Webboard, Newsgroup การใช้จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ( ) เพื่อเป็นช่องทางในการถามตอบปัญหาต่าง ๆ การใช้บริการอื่น ๆ เช่น การถ่ายโอนข้อมูลโดยใช้ ftp e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

25 ส่วนประกอบของ e-Learning
WBI Design Learning Management System (LMS) Content Management System (CMS) Test Management System (TMS) Delivery Management System (DMS) e-Learning Student ส่วนประกอบของ e-Learning e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

26 ส่วนประกอบของ e-Learning
WBI Design Learning Management System (LMS) :ระบบการจัดการด้านการเรียนรู้ จะต้องนำพาผู้เรียนไปยังเป้าหมายที่ต้องการ นับตั้งแต่การลงทะเบียนเรียนจนถึงการประเมินผล เว็บไซต์ Click2learn : LMS เป็นระบบสำหรับนำทางและจัดการเกี่ยวกับบทเรียนทั้งหมด ทั้งความต้องการและกิจกรรมการเรียนการสอนที่เกิดขึ้น CISCO e-Learning Solutions : LMS เป็นส่วนประกอบส่วนหนึ่งของ e-Learning ที่ช่วยให้ผู้เรียนได้ฝึกอบรมตามประสบการณ์ของตนเอง ซึ่งเป็นระบบที่ทำหน้าที่จัดการรายการต่าง ๆ ตั้งแต่ต้นจนจบ นับตั้งแต่การลงทะเบียน การสืบท่อง (Navigation) การเลือกบทเรียน และการต่อเชื่อมเข้าระบบ e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

27 ส่วนประกอบของ e-Learning : LMS
WBI Design ส่วนประกอบของ e-Learning : LMS e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

28 ส่วนประกอบของ e-Learning : LMS
WBI Design LMS มีหน้าที่ดังนี้ การบริหารและการจัดการบทเรียน (Administration) การจัดการรวบรวมเนื้อหาบทเรียน (Organizational Management) การจัดการด้านเวลา (Time Management) การรายงานการเรียน (Reporting) การวิเคราะห์ความต้องการ (Needs Analysis) e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

29 ส่วนประกอบของ e-Learning : LMS
WBI Design LMS มีหน้าที่ดังนี้ การเตรียมการวางแผนบทเรียน (Preplanning) การจัดตารางเวลาการเรียน (Scheduling) การจัดการด้านองค์ความรู้ (Knowledge Management – KM) การวางแผนด้านทรัพยากรข้อมูล (Resources Planning) การจัดการด้านการออกใบรับรองผล (Qualification Management) e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

30 ส่วนประกอบของ e-Learning : CMS
WBI Design Content Management System (CMS) หมายถึงระบบการจัดการด้านเนื้อหา ซึ่งเป็นส่วนบริการสำหรับผู้ออกแบบหรือผู้พัฒนาบทเรียนในการสร้างสรรค์และนำเสนอเนื้อหาบทเรียน เนื้อหา ส่วนของการลงทะเบียน การรวบรวม การจัดการเนื้อหา การนำส่งเนื้อหา การพิมพ์เป็นเอกสาร หรือการบันทึกลงซีดีรอม e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

31 ส่วนประกอบของ e-Learning
WBI Design Delivery Management System (DMS)หมายถึง ระบบการจัดการด้านการนำส่ง ซึ่งเป็นการนำส่งบทเรียนไปยังผู้เรียนได้ศึกษาตามวัตถุประสงค์ การนำส่งบทเรียนจึงรวมถึง การจัดการบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ การพิมพ์เป็นเอกสารสำหรับผู้เรียน การบันทึกลงสื่ออิเล็กทรอนิกส์ การนำส่งบทเรียนในรูปแบบอื่น ๆ ไปยังผู้เรียน e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

32 ส่วนประกอบของ e-Learning
WBI Design Test Management System (TMS) หมายถึง ระบบการจัดการด้านการทดสอบ การจัดการและการนำส่ง การดำเนินการสอบให้กับผู้เรียน การประเมินผลความก้าวหน้าของผู้เรียนในระบบ e-Learning e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

33 ซอฟท์แวร์สำหรับพัฒนา e-Learning
WBI Design Blackboard’s Courseinfo ( USA. Lotus LearningSpace ( ของ IBM Corp., USA. WebCT ( ของ University of British Columbia, Canada Topclass ( ของ WBT System, USA. SAP ( ของ SAP’s Corporate Research Center, Germany Education Sphere ( ของ USA e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

34 ซอฟท์แวร์สำหรับพัฒนา e-Learning
WBI Design ซอฟท์แวร์สำหรับพัฒนา e-Learning e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

35 ซอฟท์แวร์สำหรับพัฒนา e-Learning
WBI Design ซอฟท์แวร์สำหรับพัฒนา e-Learning e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

36 ซอฟท์แวร์สำหรับพัฒนา e-Learning
WBI Design ซอฟท์แวร์สำหรับพัฒนา e-Learning บทเรียนและ Virtual Lab ในระบบ e-Learning ของ Igenetic, Germany ที่ใช้ SAP เป็น LMS e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

37 สถาปัตยกรรมเครือข่ายของ e-Learning
WBI Design Service Center e-Learning Center VPN (Virtual Private Network)  Central Servers  Search Engine  Learn Center  PC  Proxy Servers Virtual Private Network (VPN) สถาปัตยกรรมเครือข่ายของ e-Learning e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

38 สถาปัตยกรรมเครือข่ายของ e-Learning
WBI Design ศูนย์บริการ (Service Center) เซิร์ฟเวอร์ส่วนกลาง (Central Servers) เครื่องมือช่วยค้นหา (Search Engine) เครือข่ายส่วนตัวเสมือน (Virtual Private Network - VPN) ศูนย์การเรียนรู้ (e-Learning Center) ศูนย์เรียนรู้ (Learn Center) เครื่องคอมพิวเตอร์ (PC) เครื่องพร๊อกซีเซิร์ฟเวอร์ (Proxy Servers) e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

39 การดำเนินการพัฒนาระบบ e-Learning
WBI Design การดำเนินการพัฒนาระบบ e-Learning เพื่อจัดการเรียนการสอนทางไกลไปยังกลุ่มเป้าหมาย จำแนกออกเป็นด้านต่าง ๆ ดังนี้ การดำเนินการด้านเทคโนโลยี การดำเนินการด้านเนื้อหาบทเรียน การดำเนินการด้านการบริหารและจัดการระบบ e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

40 การดำเนินการพัฒนาระบบ e-Learning
WBI Design การดำเนินการด้านเทคโนโลยี เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ (Computer Technology) เซิร์ฟเวอร์ส่วนกลาง (Central Servers) ที่มีความเร็วในการประมลผลสูง มีหน่วยเก็บความจุที่มีปริมาณมากเพียงพอ เทคโนโลยีเครือข่าย (Network Technology) เครือข่ายอินทราเน็ต อินเตอร์เน็ต และเครือข่ายเอ๊กซ์ทราเน็ต เทคโนโลยีการสื่อสาร (Communication Technology) สายโทรศัพท์ สายเช่า เคเบิลใต้น้ำ ดาวเทียมเพื่อการสื่อสาร หรือระบบการสื่อสารอื่น e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

41 การดำเนินการพัฒนาระบบ e-Learning
WBI Design การดำเนินการด้านเนื้อหาบทเรียน ผู้จัดเตรียมเนื้อหาบทเรียน (Content Provider) ออกแบบ วิเคราะห์ และสังเคราะห์เนื้อหาสาระ ตั้งแต่โครงสร้างของบทเรียน เนื้อหาบทเรียน สื่อการเรียนการสอน วิธีการสอน กิจกรรม การตรวจปรับ และคำถามที่จะใช้ในบทเรียนเพื่อการประเมินผลการเรียนรู้ ผู้จัดการบทเรียน (Program Director) มาออกแบบเป็นคอร์สแวร์ของบทเรียน ซึ่งผลลัพธ์ในขั้นนี้คือบทดำเนินเรื่อง (Storyboard) และผังงานของบทเรียน (Lesson Flowchart) นักโปรแกรม (Programmer) ผู้เชี่ยวชาญ (Expert) จำแนกออกเป็น 2 ด้าน ด้านเนื้อหา และด้านเทคนิคและวิธีการ e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

42 การดำเนินการพัฒนาระบบ e-Learning
WBI Design การดำเนินการด้านการบริหารและจัดการระบบ เป็นการเลือกใช้ LMS ในการ การประชาสัมพันธ์หลักสูตร การจัดตารางเวลา การลงทะเบียน การกำหนดสิทธิ์ การรักษาความปลอดภัย การสืบท่อง การค้นหา การจัดการเรียนการสอน การรายงานผลการเรียน e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

43 การดำเนินการพัฒนาระบบ e-Learning
WBI Design ประเด็นในการพิจารณาในการดำเนินการด้าน การบริหารและจัดการระบบ การเลือกใช้ระบบ LMS ที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ การคุ้มค่าต่อการลงทุน การช่วยส่งเสริมและพัฒนาทักษะของผู้เรียน กระบวนการสร้างปฏิสัมพันธ์ที่ผู้เรียนมีต่อบทเรียน การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด การเปลี่ยนแปลงกระบวนทัศน์ของการศึกษา การพิจารณาปัจจัยด้านกำลังคน e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

44 การจัดการศึกษาระบบ e-Learning ในมหาวิทยาลัยของประเทศไทย
WBI Design มหาวิทยาลัยรามคำแหงตั้งศูนย์ e-Learning โดยใช้ Education Sphere เป็น LMS จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้จัดตั้งเครือข่าย เพื่อให้บริการการเรียนการสอนระบบ e-Learning ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

45 การจัดการศึกษาระบบ e-Learning ในมหาวิทยาลัยของประเทศไทย
WBI Design การจัดการศึกษาระบบ e-Learning ในมหาวิทยาลัยของประเทศไทย e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

46 การจัดการศึกษาระบบ e-Learning ในมหาวิทยาลัยของประเทศไทย
WBI Design การจัดการศึกษาระบบ e-Learning ในมหาวิทยาลัยของประเทศไทย e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

47 การจัดการศึกษาระบบ e-Learning ในมหาวิทยาลัยของประเทศไทย
WBI Design การจัดการศึกษาระบบ e-Learning ในมหาวิทยาลัยของประเทศไทย e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

48 การจัดการศึกษาระบบ e-Learning ในมหาวิทยาลัยของประเทศไทย
WBI Design การจัดการศึกษาระบบ e-Learning ในมหาวิทยาลัยของประเทศไทย e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

49 ปัญหาและอุปสรรคของ e-Learning
WBI Design ปัญหาด้านเทคนิค ปัญหาด้านฮาร์ดแวร์และเครือข่ายอินเตอร์เน็ต รวมทั้งอุปกรณ์ต่อเชื่อมระบบ ซึ่งมี Band width ต่ำ ความสามารถของซอฟท์แวร์ในการบีบอัดข้อมูลยังไม่สมบูรณ์ ทำให้ไม่สามารถส่งข้อมูล Multimedia ได้ดี ความไม่พร้อมของเครื่องคอมพิวเตอร์และเครือข่ายอินเตอร์เน็ต โดยเฉพาะชนบท ปัญหาลิขสิทธิ์ของซอฟท์แวร์ ซึ่งมีราคาสูง e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

50 ปัญหาและอุปสรรคของ e-Learning
WBI Design ปัญหาด้าน e-Learning ความเป็นมาตรฐานของ e-Learning ซึ่งยังไม่มีทำให้มักออกมาในรูปแบบ e-Book การรักษาความปลอดภัยของระบบ การจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนของ e-Learning ให้เหมือนจริงทำได้ยาก e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

51 ปัญหาและอุปสรรคของ e-Learning
WBI Design ปัญหาทั่ว ๆ ไป จำนวนบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถในการพัฒนาเนื้อหาสาระของบทเรียนที่ใช้ในระบบ e-Learning ยังมีจำนวนน้อย ขาดการประสานงานที่ดีระหว่างบุคลากรที่ทำหน้าที่พัฒนาบทเรียนร่วมกัน ขาดงบประมาณและการสนับสนุนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ค่าใช้จ่ายในการต่อเชื่อมเข้ากับเครือข่ายอินเตอร์เน็ตแต่ละครั้งมีราคาแพง การยอมรับของสังคมในการศึกษาทางไกลยังค่อนข้างต่ำ e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา


ดาวน์โหลด ppt e-Learning แหล่งที่มาข้อมูลอ้างถึง รวบรวม เรียบเรียง : WBI Design

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google