งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Exhibition in Thailand “A Vibrant Marketplace for ASEAN ” TCEB Exhibition Forum January 2011 By: Supawan Teerarat Director of Exhibition.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Exhibition in Thailand “A Vibrant Marketplace for ASEAN ” TCEB Exhibition Forum January 2011 By: Supawan Teerarat Director of Exhibition."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1

2 Exhibition in Thailand “A Vibrant Marketplace for ASEAN ” TCEB Exhibition Forum January By: Supawan Teerarat Director of Exhibition Department, TCEB เรียน คุณอรรคพล สรสุชาติ ผู้อำนวยการสสปน. คุณอรินทร์ จิรา ประธานร่วม สภาที่ปรึกษาธุรกิจอาเซียน มร. จิเม่ เอสซิงค์ ประธานบริหาร บริษัท ยูบีเอ็ม เอเชีย จำกัด ท่านผู้บริหารองค์กรภาครัฐและเอกชนในอุตสาหกรรมงานแสดงสินค้านานาชาติ ท่านแขกผู้มีเกียรติและสื่อมวลชนทุกท่าน ก่อนอื่นดิฉันและทีมงานฝ่ายงานแสดงสินค้านานาชาติ ในฐานะผู้จัดงาน trade forum ในบ่ายวันนี้ ต้องขอขอบคุณทุกภาคส่วนที่ให้ความสนใจ และมาร่วมฟังสัมมนากันในจำนวนที่เกินความคาดหวังจริงๆ เมื่อสักครู่นี้ ทุกท่านคงได้รับฟังถึง “โอกาสทางธุรกิจในตลาดคู่แข่งสำคัญๆผ่านอุตสาหกรรมการจัดงานแสดงสินค้า” จาก มร. จิเม่ เอสซิงค์ ซึ่งได้ให้มุมมองถึงการเตรียมความพร้อมของอุตสาหกรรมงานแสดงสินค้าในประเทศไทยไปแล้วนะคะ และเพื่อให้จิ๊กซอว์ของทุกท่านสมบูรณ์ยิ่งขึ้นในทุกมุมมอง ดิฉันในนามของสสปน. ขอเป็นตัวแทนในการให้มุมมองจากภาครัฐ เพื่อให้ท่านเห็นถึงภาพรวมของอุตสาหกรรมงานแสดงสินค้านานาชาติเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งบทบาทของภาครัฐในการผลักดันประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางการจัดงานแสดงสินค้าอาเซียนค่ะ

3 THAILAND's Political Crisis
Trade Exhibition in 2010 by Month ภาพรวมการจัดงานของประเทศไทยในปี 2553 กราฟแสดงจำนวนงานการจัดงานแสดงสินค้านานาชาติในแต่ละเดือนของปี 2553 TOTAL 84 Exhibitions JAN MAY JUN FEB AUG SEP APR JUL MAR NOV DEC OCT 20 THAILAND's Political Crisis [ MAR-MAY 2010 ] 2 11 7 10 3 5 6 8 การจัดงานกระจุกตัวอยู่ 2 ช่วงหลัก  ช่วงกลางปี พ.ค.- มิ.ย.  ช่วงเดือน ก.ย.- พ.ย. ประเทศไทยถูกจัดอันดับเป็นที่ 1 ในอาเซียนจากการทำวิจัยของสมาคม ufi ด้านพื้นที่ในการจัดงานซี่งส่วนใหญ่อยู่ในกรุงเทพ 250,000 ตร.ม และมีพื้นที่ถูกขายในเชิงพาณิชย์มากสุดในอาเซียนเช่นกัน 466,560 ตร.ม ซึ่งรวมทั้งงาน ในรูปแบบ public และ int’l trade show สำหรับจำนวนงานที่จัดในประเทศไทยตลอดปีจะเห็นได้ว่า มีtraffic มากสุดช่วงไตรมาสที่ 2 และ ไตรมาสที่ 4 ซึ่งในปีที่แล้ว ด้วยสถานการณ์วิกฤติการเมืองทำให้ช่วงต้นปีงานลดลงด้วยมีการเลื่อนงานไปจัดช่วงอื่น slide นี้แสดงให้เห็นถึงงานในปี 2553 มีงานที่เป็นงานแสดงสินค้านานาชาติที่ได้รับการสนับสนุนจากสสปน. ประมาณ 84 .งาน แต่ผ่านการประเมิน ประมาณ 70 งาน ส่วนอีก 14 งานจัดโดยกรมส่งเสริมการส่งออก สสปน.ยังไม่ได้เริ่มทำการประเมินงาน แต่เริ่มในปี นี้ ที่เราจะได้ตัวเลขจากทุกงานของกรมฯ เพื่อทำการวิจัยต่อไป Note : ช่วงเดือน มี.ค.- พ.ค. เป็นช่วงที่เกิดเหตุการณ์ความ รุนแรงทางการเมืองขึ้นในประเทศไทย Source : Trade Exhibition Calendar 2010 by TCEB

4 Exhibitions Supported by TCEB :
Exhibition Space ขนาดพื้นที่ที่ใช้จัดงานแสดงสินค้านานาชาติ เมื่อเปรียบเทียบพื้นที่จัดงาน (Net Space) ที่ใช้ในปี 2553 กับปี 2552 ที่ผ่านมา พบว่า มีแนวโน้มปรับตัวลดลงประมาณ 15% และค่าเฉลี่ยของพื้นที่ที่ใช้จัดงานก็ปรับลดลงมาเช่นกัน แต่ปรับลงเล็กน้อยเพียง 6% 2008 2009 2010 % Change Goss Space (sq.m.) 197,723.40 232,513.45 190,860.01 -17.90% Net Space 86,261.10 95,737.58 81,529.03 -14.80% Maximum Space 22,090.50 16,078.00 19,041.00 18.40% METALEX 2008 METALEX 2009 METALEX 2010 Minimum Space 808.6 420 639 52.10% Chanthaburi Gem’08 Postharvest 2009 Furnitech Asia 2010 Average per Exhibition 5,391.32 4,351.71 4,076.45 -6.30% โดยมีพื้นที่ในการจัดงานลดลง % ตั้งแต่มีปัญหาวิกฤติการณ์ทางการเมือง อย่างไรก็ตาม พื้นที่โดยเฉลี่ยของการจัดงาน Int’l trade fair ในบ้านเราอยู่ที่ประมาณ 4,000 – 5,000 ตร.ม Source : Event Report (ER) Summary by TCEB

5 Exhibitions Supported by TCEB :
Exhibition Space ขนาดพื้นที่ที่ใช้จัดงานแสดงสินค้านานาชาติ กราฟแสดงแนวโน้มการใช้พื้นที่จัดงานแสดงสินค้านานาชาติ (Net Space) 2008 2012 2009 2011 2010 BAR CHART TOTAL Net Space [Sq.m.] 86,261.10 81,529.03 5,391.32 4,076.45 LINE CHART Average per Exhibition 95,737.58 4,351.71 งานที่นำมาสรุปนี้เรานับเฉพาะงานที่ได้รับการสนับสนุนจาก สสปน. และผ่านการประเมินเท่านั้น ดังนั้นยัง จำนวนงานอีกประมาณ 20 กว่างานที่เป็น trade fair Source : Event Report (ER) Summary by TCEB

6 Exhibitions Supported by TCEB :
Oversea Exhibitors & Exhibiting Companies จำนวนบุคคลากรชาวต่างชาติ และบริษัทที่เข้าร่วมงานจัดงาน เมื่อเปรียบเทียบจำนวนบริษัทที่เข้าร่วมจัดงานในปี 2553 กับปี 2552 ที่ผ่านมา พบว่า มีแนวโน้มปรับตัวลดลงถึง 21% ทั้งนี้ ส่วนใหญ่จะอยู่ในกลุ่ม International Companies นอกจากนี้ ยังพบว่า จำนวนผู้ที่มาร่วมจัดงานจากต่างประเทศ (Oversea Exhibitors) ก็มีสัดส่วนลดลง 9% 2008 2009 2010 % Change No. of Oversea Exhibitors 5,239 7,383 6,725 -8.90% No. of Exhibiting Companies 4,328 5,073 4,029 -20.60% National Companies 2,560 2,566 2,256 -12.10% International Companies 1,768 2,507 1,773 -29.30% Source : Event Report (ER) Summary by TCEB

7 Exhibitions Supported by TCEB :
Oversea Exhibitors & Exhibiting Companies จำนวนบริษัทที่เข้าร่วมงานแสดงสินค้านานาชาติ กราฟแสดงแนวโน้มจำนวนบริษัทที่เข้าร่วมงานการแสดงสินค้านานาชาติ 2008 2012 2009 2011 2010 BAR CHART EXHIBITING Companies [Com] National Companies International Companies Graph แสดงให้เห็นถึงการเป็นงาน int’l trade fairจริงๆในประเทศไทย จากการมีอัตรา ผู้เข้าร่วมออกบูธแสดงงานจากต่างประเทศและจากในประเทศ ในอัตราใกล้เคียง จึงทำให้งานมีเป็นตลาด หรือเวทีผู้ซื้อ ผู้ขายที่มีความหลากหลายจากทั่วโลก Source : Event Report (ER) Summary by TCEB

8 Exhibitions Supported by TCEB :
No. of Visitors จำนวนผู้เข้าชมงานแสดงสินค้านานาชาติ เมื่อเปรียบเทียบจำนวนผู้เข้าชมงานในปี 2553 กับปี 2552 ที่ผ่านมา โดยภาพรวมเพิ่มขึ้น 6% อย่างไรก็ตาม กลับพบว่า จำนวนผู้เข้าชมงานที่เดินทางมาจากต่างประเทศ (Oversea Visitors) มีสัดส่วนที่ลดลง 29% อย่างไรก็ตาม กลุ่มผู้ที่มาประชุม-สัมมนา มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง 2008 2009 2010 % Change No. of Trade Visitors 182,613 212,511 224,666 5.70% Local Visitors 172,269 193,997 211,485 9.00% Oversea Visitors 10,344 18,514 13,181 -28.80% No. of Conference Delegates 13,678 14,956 16,802 12.30% Local Delegates 12,797 14,580 15,120 3.70% Oversea Delegates 881 376 1,682 347.30% จากslide นี้ เป็นการเปรียบเทียบงานที่ได้รับการสนับสนุนจาก สสปน.และผ่านการ audit เท่านั้น conference delegate ที่จัดภายในงาน trade fair นั้นๆ Source : Event Report (ER) Summary by TCEB

9 Exhibitions Supported by TCEB :
Exhibitors & Visitors Trend จำนวนผู้เข้าชมงาน-ผู้ที่เข้ามาร่วมจัดงานจากต่างประเทศ กราฟแสดงแนวโน้มจำนวนผู้เข้าชมงานที่เดินทางมาจากต่างประเทศ (Oversea Visitors) จำนวนผู้ที่เข้าร่วมจัดงานจากต่างประเทศ (Oversea Exhibitors) และจำนวนผู้ที่มาเข้าร่วมประชุม-สัมมนา (Oversea Delegates) BAR CHART OVERSEA Visitors & Exhibitors [Pax] Oversea Visitors Oversea Exhibitors Oversea Delegates 2011 2012 2009 2008 2010 Source : Event Report (ER) Summary by TCEB

10 Exhibitions Supported by TCEB :
Oversea Visitors by Nationality จำนวนผู้เข้าชมงานจากต่างประเทศ กราฟแสดงสัดส่วนผู้เข้าชมงานที่เดินทางมาจากต่างประเทศ (Oversea Visitors) จำแนกตามประเทศต่าง ๆ ในปี 2008 10.3% 12.3% 6.3% 7.6% 8.8% Malaysia India Vietnam Singapore Philippines Indonesia Japan China Korea Taiwan Others 5.5% 5.4% 4.8% 4.1% 4.0% [ 30.8% ] 2009 10.7% 13.2% 5.6% 7.1% 8.4% Japan Malaysia Singapore India Indonesia China Philippines Vietnam Korea Taiwan Others 5.2% 4.9% 4.6% 3.2% 2.9% [ 34.0% ] 2010 Malaysia Singapore Japan Vietnam Philippines China India Taiwan Indonesia Korea Others 12.5% 10.9% 9.7% 5.1% 4.7% 4.5% 4.3% 3.8% 3.8% แนวโน้มที่เปลี่ยนไปในแต่ละปี และในปีที่แล้ว ประเทศญี่ปุ่นเข้าร่วมงานมากที่สุด คาดว่ามาจาก FTA และการเตรียมพร้อมในด้านการค้าการลงทุน เมื่ออาเซียนจะรวมตัวในปี 2015 3.4% [ 37.4% ] Source : Event Report (ER) Summary by TCEB

11 Exhibitions Supported by TCEB :
Visitor Statistics in 2010 ระดับของผู้เข้าชมงาน (Job Function) กราฟแสดงสัดส่วนผู้เข้าชมงาน จำแนกตามหน้าที่ / ลักษณะงานที่รับผิดชอบ 20.7% Corporate Management (CEO, MD, GM) Production / Quality Control / R&D Engineer / Technician Marketing / Sales / Distribution / Agent Manufacturer / Business Owner Procurement / Purchasing Technical / Maintenance Importer / Exporter Specialist Manager / Director / Consultant Wholesaler / Department Store Finance & Accounting Investor Government Official Publication Others 14.6% 14.4% 14.4% 8.5% 5.9% 3.0% 2.1% 1.7% 1.7% 1.1% 1.0% SLIDE แสดงระดับของผู้เข้าชมงาน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผู้บริหาร และมีอำนาจในการตัดสินใจ เป็นผู้ซื้อตัวจริง รองลงมาเป็นผู้ดูแลผลิตภัณฑ์ วิจัย และ ฝ่ายปฎิบัติการนักการตลาด เอเจนตามลำดับ 0.9% 0.5% 0.3% [ 7.6% ] Source : Post-show Report of Exhibitions Supported by TCEB

12 Exhibitions Supported by TCEB :
Visitor Statistics in 2010 วัตถุประสงค์หลักที่เข้ามาชมงาน (Purpose of Visit) กราฟแสดงสัดส่วนผู้เข้าชมงาน จำแนกตามวัตถุประสงค์หลักที่เข้ามาชมงาน Search for the latest technologies Gather information and seek new products Place purchase orders Observe the show with purchase intentions Obtain the information to place orders Look for new alternative supplier Evaluate show for future participation Seek representative View and recommend to decision maker Investment Networking / Personal Development Participate the seminar / conference Others 24.5% 24.3% 16.1% 13.0% 12.9% 10.6% 7.4% 3.9% สาเหตุในการมาชมงาน คือการผลิตภัณฑ์และนวัตกรรมใหม่ๆ วางแผนการสั่ง order และ หา Suppliers 2.2% 1.6% 0.5% 0.4% [ 1.6% ] Source : Post-show Report of Exhibitions Supported by TCEB

13 แผนการพัฒนาอุตสาหกรรมไมซ์ของ สสปน.
พ.ศ วิสัยทัศน์ ประเทศไทยเป็นจุดหมายหลักในการจัดงานด้าน การจัดประชุมนานาชาติ การท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัล และ การจัดนิทรรศการระดับโลกในภูมิภาคเอเชีย เป้าหมาย: เพื่อเพิ่มรายได้เข้าประเทศไทยซึ่งถือเป็นการพัฒนาเศรษฐกิจผ่านอุตสาหกรรม MICE เพื่อสร้างศักยภาพทางการแข่งขันในอุตสาหกรรม MICE ของไทยสู่การแข่งขันในตลาดโลก การดึงงาน การส่งเสริม การพัฒนา การดึงงานและเร่งพัฒนา/ขยายตลาดผ่านเครือข่ายภาครัฐและเอกชน ยุทธศาสตร์ที่ 1 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ส่งเสริมภาพลักษณ์อุตสาหกรรม MICEของประเทศ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ส่งเสริมกิจกรรมเพิ่มมูลค่าและยกระดับอุตสาหกรรม พัฒนาขีดความสามารถโครงสร้างพื้นฐานอุตสาหกรรม MICE ยุทธศาสตร์ที่ 4 สร้างเครือ ข่ายความร่วมมือทั้งภายในและระหว่างประเทศ ยุทธศาสตร์ที่ 5 การยกระดับศักยภาพและบทบาทของสสปน. ยุทธศาสตร์ที่ 6 จากแผนการพัฒนาอุตสาหกรรมไมซ์ของ สสปน. มีกลยุทธ์หลัก ดังนี้ การดึงงาน (WIN) การส่งเสริม (PROMOTE) การพัฒนา (DEVELOP) การพัฒนาโครงสร้างสนับสนุน อุตสาหกรรมฯ การพัฒนาการบริหารจัดการภายใน สสปน. Strictly Confidential-For Internal Use Only

14 “การทำให้กรุงเทพมหานครเป็นนครแห่ง งานแสดงสินค้าในปี 2015 “
วิสัยทัศน์ “การทำให้กรุงเทพมหานครเป็นนครแห่ง งานแสดงสินค้าในปี “ เพื่อจะล้อไปกับการรวมตัวของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี 2015 ด้วย ที่ตั้งที่อยู่ในจุดยุทธศาสตร์ของประเทศไทย ในการเป็นศูนย์กลางด้านคมนาคมของภูมิภาค ถ้าไม่มีปัญหาการเมืองภายในประเทศ อุตสาหกรรมงานแสดงสินค้านานาชาติจะได้รับความเชื่อถือและเชื่อมั่นในประเทศไทย ทำให้มีการเติบโตอย่างสูงในอนาคตอย่างแน่นอน

15 กลยุทธ์ ASEAN Plus 6 Centric
การสร้างเครือข่ายอุตสาหกรรมในและต่างประเทศ แคมเปญ BEC เพื่อเผยแพร่และจัดกิจกรรมส่งเสริม การตลาด ยกระดับงานแสดงสินค้าไทยสู่เวทีโลก ดังนั้นกลยุทธ์สำคัญที่เป็นโครงการต่อเนื่องของฝ่าย คือ การดำเนินงานยกระดับมาตรฐานการจัดแสดงสินค้าไทยและกิจกรรมสนับสนุนภายใต้กลยุทธ์ “ASEAN plus 6 CENTRIC” การเน้นทำการตลาดและสร้างเครือข่ายในตลาด อาเซียนและจีน อินเดีย เกาหลี ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ เป็นหลัก เพื่อผลักดันประเทศไทยให้กลายเป็นศูนย์กลางของการแสดงสินค้าประจำภูมิภาค การสร้างเครือข่ายกับ trade association และองค์กรที่เกี่ยวข้องกับงานแสดงสินค้าทั้งในและต่างประเทศ เพื่อสร้างการรับรู้ เข้าถึงในการเชิญชวนให้เข้าร่วมในงาน trade fair ในประเทศไทย พร้อมแคมเปญสนับสนุนการเดินทางเข้าชมงานในประเทศ

16 การส่งเสริม (Promote)
แผนปฏิบัติงานปี การดึงงาน (Win) โครงการ Better the Best การยกระดับงาน upgrade shows การสร้างเครือข่าย กิจกรรมการตลาดต่างประเทศ การส่งเสริม (Promote) โครงการ Bangkok, the exhibition city of ASEAN โครงการ Extra night, extra smile การตลาดออนไลน์ การพัฒนา (Develop) สนับสนุนสมาคมงานแสดงสินค้า (ไทย) การประเมินงานแสดงสินค้า (audit shows) งานวิจัยอุตสาหกรรมงานแสดงสินค้า การจัดการระบบฐานข้อมูล ระเบียบ ข้อจำกัดทางด้านภาษี infrastructure ดังนั้นใน ปี นั้น ฝ่ายฯ จะดำเนินการตามกลยุทธ์ และยุทธศาสตร์หลัก ด้านการดึงงาน ด้วยโครงการ ………การส่งเสิรม ด้วยโครงการ …..และการพัฒนาอุตสหากรรมร่วมกับภาคเอกชน คือ สมาคม TEA เป็นหลัก

17 โครงการกระตุ้นเศรษฐกิจ

18 โครงการ Better the Best เป็นโครงการที่ช่วยเสริมประสิทธิภาพทางการแข่งขันให้งานแสดงสินค้านานาชาติของไทยก้าวสู่งานระดับภูมิภาค (Regional Champion Show) และสามารถแข่งขันได้ในเวทีโลก พร้อมเพิ่มจำนวนผู้เข้าชมงานแสดงสินค้า ผู้เข้าร่วมงาน และผู้จัดงานแสดงสินค้าจากต่างประเทศให้เข้ามาในประเทศไทยเพิ่มมากขึ้น การผลักดัน และเสริมประสิทธิภาพ 6 สุดยอดงานแสดงสินค้า ใน 6 อุตสาหกรรม ต่อยอดสู่งานระดับ “แชมเปี้ยน” ในภูมิภาค

19 โครงการในปี ที่แล้ว และจะต่อเนื่องในการให้การสนับสนุนเพื่อให้เห็นผลอีกใน 3 ปีนี้

20 โครงการ Extra night, extra smile
เพื่อเพิ่มจำนวนผู้เข้าร่วมงานแสดงสินค้าและพำนักนานขึ้น พักฟรี 1 คืน พร้อมสิทธิพิเศษ เป็นการเพิ่มมูลค่าการเดินทางเข้าร่วมงาน trade showsในไทย ของนักธุรกิจชาวต่างชาติ หรือที่เรียกว่า BEYOND EXHIBITION ด้วยสิทธิประโยชน์พิเศษต่างๆ ที่เกิดจากการ ผนึกกำลังร่วมบกันกับพันธมิตรของ สสปน. ทั้งภาครัฐและเอกชน นักธุรกิจต่างชาติในกลุ่มเป้าหมายก็จะได้สร้างประสบการณ์ที่มากกว่าการเข้าร่วมงาน หรือชมงานแสดงสินค้า อาทิ fast track city tour half day ,etc

21 เป็น Buyer appreciation program ที่มอบให้กับผู้จัดงาน ในการมอบห้องพักโรงแรม ให้กับกลุ่ม ผู้ซื้อ หรือ ผู้มีอิทธิพลในการเพิ่มจำนวนผู้เข้าร่วมงานต่างชาติ ของงาน

22 Approved Event by TCEB แนวคิดโครงการ
ยกระดับมาตรฐานการจัดแสดงสินค้าในประเทศไทยให้มีมาตรฐานทัดเทียมในระดับสากล เพื่อที่จะผลักดันให้ประเทศไทยกลายเป็นศูนย์กลางของการจัดแสดงสินค้านานาชาติในระดับภูมิภาคได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ถือเป็นการรับรองงานที่มีคุณภาพ จากสสปน. ด้วยขบวนการประเมินที่ได้รับการรับรองจากสมาคม UFI

23 UFI’s Audit Certificate
The Searcher Co., Ltd. had been certified by the Global Association of the Exhibition Industry (UFI) to conduct audits of exhibition statistics and to produce audit certificate according to UFI’s standard requirement. The events must meet the criteria below :  Number of oversea exhibitors must be at least 10% of the total number of exhibitors  Number of oversea visitors must represent at least 5% of the total number of visitors Standard Requirement For Audit Certificate : Provide the dates (day, month, year) of previous exhibitions and whether each edition was audited. Provide the list of exhibiting companies /organizations categorized into national and international companies with exhibition space (area/sq.m.) สสปน. มีความภูมิใจที่ได้มีการผลักดันให้ บริษัทของคนไทย คือ The searcher ซึ่งได้รับแต่งตั้งให้เป็นบริษัทประเมินงานแสดงสินค้านานาชาติอย่างเป็นทางการ ของสสปน. ได้รับการรับรองว่าขบวนการประเมินนั้นได้มาตรฐานสากล จาก สมาคม งานแสดงสินค้าโลก ufi ดังนั้นงานแสดงสินค้าที่ได้รับการประเมินโดยบริษัท the searcher สามารถสมัครขอรับ การรับรอง approved event by UFI ได้ โดยไม่ต้องเสียค่าใข้จ่ายในการทำการประเมินอีก Set-up the computer system to control the badges printing (sticker isn’t acceptable), and categorized into local and oversea visitors, so the number of issued badges can beverified with other visitor evidence(s); e.g. registration form, pre-registration list.

24 UFI’s Audit Certificate
Latest Update on 21/12/2010 : The Searcher had been certified by UFI, the validation for a 2-year period ( ) ต้อง ขอชมเชย The searcher ที่รักษาคุณภาพในการประเมิน และได้รับการรองรับด้านการประเมินต่ออีก ถึงปี 2012

25 TCEB Exhibition: Overseas representatives
India Ms. SHEEMA VOHRA TCEB Representative (India) Tel: +91 – 11 – / Mobile: +91 – Singapore Mr. Charles Leong c/o Pacific Leisure Marketing Pte Ltd 371 Beach Road / #12-06 KeyPoint / Singapore T: (65) / F: (65) / M: (65) Vietnam Mr. Nguyen Ba Vinh TCEB Representative (Vietnam) Tel: Ext 18 Mobile: Fax: TCEB Exhibition: Overseas representatives Hong Kong, Taiwan Mr. Mark Cochrane Project Director (China) Tel: Fax: China Ms. Zhang Yi Juan (Candy) Tel: Cover Shanghai and Yangzte Delta Region Contact us at TCEB China rep office … 25

26 ส่วนลด 70% สำหรับสมาชิก TEA
งานประชุมสำหรับอุตสาหกรรมการจัดงานแสดงสินค้าและสร้างเครือข่ายฯ ในเอเชีย จัดโดย สมาคมงานแสดงสินค้าระดับโลก เจ้าภาพโดย สสปน. สนับสนุนโดย สมาคมงานแสดงสินค้า (ไทย) ศูนย์ฯ ไบเทค ศูนย์ฯ อิมแพ็ค ศูนย์ฯ พารากอน ศูนย์ฯ สิริกิติ์ ศูนย์ฯ เซ็นทารา ส่วนลด 70% สำหรับสมาชิก TEA

27 ขอบคุณ


ดาวน์โหลด ppt Exhibition in Thailand “A Vibrant Marketplace for ASEAN ” TCEB Exhibition Forum January 2011 By: Supawan Teerarat Director of Exhibition.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google