งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวทางการดำเนินการของกระทรวงสาธารณสุข

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวทางการดำเนินการของกระทรวงสาธารณสุข"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวทางการดำเนินการของกระทรวงสาธารณสุข
ในช่วงระยะเวลาการปฏิรูป 3-8 เดือน 5 /02 /14

2 สถานการณ์ การเลือกตั้งที่ไม่สมบูรณ์คาดว่าทำให้การมีรัฐบาลใหม่ล่าช้าออกไปอย่าง น้อย 3 เดือน เป็นโอกาสในการใช้กระแสการปฏิรูปเพื่อวางระบบในกระทรวง เพื่อพัฒนา งาน สร้างความสามัคคี และป้องกันการแทรกแซงที่ไม่มีคุณธรรม การพัฒนากระทรวงในเชิง Function ก้าวหน้ามาระดับหนึ่งแต่ยังขาดความ ชัดเจนจนเป็นข้อสรุปสุดท้าย เช่นเขตบริการสุขภาพ

3 ประชาคมสาธารณสุข

4 กรอบการปฏิรูป การปฏิรูปประเทศไทย การปฏิรูประบบสาธารณสุข
เขตสุขภาพ การบูรณาการงานของกรมกับ สป. การปรับภารกิจกรมและคณะกรรมการตามกฎหมาย การร่วมงานของ กสธ. กับ ภาคีนอก กสธ. การอภิบาลระบบในกระทรวงสาธารณสุข การบริหารจัดการระบบคุณธรรม การจัดกลไกร่วมกำหนด ตรวจสอบ ถ่วงดุล ของประชาคมสาธารณสุข

5 การปฏิรูปประเทศไทย ติดตามความเคลื่อนไหวคณะปฏิรูปต่างๆ โดยเฉพาะคณะที่ได้รับการยอมรับและมี การขับเคลื่อนเป็นรูปธรรม ตั้งคณะทำงานเพื่อเข้าร่วมประชุม แลกเปลี่ยนความเห็น จุดยืนของ กสธ. ภายใต้ การดูแลของท่านปลัดกระทรวง สธ. สื่อสารให้ประชาคมสาธารณสุขรับรู้ในวงกว้าง ในบทบาทการมีส่วนร่วมการปฏิรูป ประเทศไทย

6 ปฏิรูประบบการเมืองและระบบราชการ ปฏิรูปการปกครอง การกระจายอำนาจ
กรอบเนื้อหาการปฏิรูป: 8 กลุ่มเรื่องใหญ่ จากคณะปฏิรูปประเทศชุดปลัดยุติธรรม ปฏิรูประบบการเมืองและระบบราชการ ปฏิรูปการปกครอง การกระจายอำนาจ ปฏิรูปการขจัดคอร์รัปชั่น ปฏิรูปสังคมเพื่อลดปัญหาความเหลื่อมล้ำและความไม่เป็นธรรม ปฏิรูปการจัดสรรทรัพยากร ปฎิรูประบบความยุติธรรม ปฏิรูประบบเศรษฐกิจ ปฏิรูประบบปัญญาของชาติ (การศึกษา-การวิจัย-การสื่อสาร)

7 2. การปฏิรูประบบสาธารณสุข
2. การปฏิรูประบบสาธารณสุข เขตสุขภาพ ประเมินการดำเนินการของเขตต่างๆ ในช่วงที่ผ่านตามบทบาทใหม่ โดยตั้งประเด็นต่างที่ต้องการความชัดเจน เช่น บทบาท CEO vs Regulator, สำนักงานสาธารณสุขเขต, การสนับสนุนของกรมและ สป.ส่วนกลาง, Service Plan, การบริหารงบประมาณ ฯ ประเมินโดยทีมวิชาการ 4 ทีม/ 4 ภาค และทีมผู้บริหาร หา Good Practices ในการจัดการด้านต่างๆ ของเขตต่างๆเพื่อเป็นแนวทาง พัฒนา กำหนดแนวทางทางการพัฒนา (Blueprint) เพื่อลดความแตกต่างในหลักการ สำคัญ รองปลัด วชิระ เพ็งจันทร์ ดูแล

8 2. การปฏิรูประบบสาธารณสุข
2. การปฏิรูประบบสาธารณสุข การบูรณาการงานของกรมกับ สป. พัฒนาการบูรณาการงานของกรมต่างๆ รวมถึงศูนย์วิชาการของกรม เพื่อให้การ สนับสนุนเขตบริการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเป็นเอกภาพ มุ่งเน้นที่ขาลงเป็นแผนบูรณาการก่อนถึงเขต รวมถึงกระบวนการ M & E ผตร. สุริยะ วงศ์คงคาเทพ ดูแล

9 2. การปฏิรูประบบสาธารณสุข
2. การปฏิรูประบบสาธารณสุข การปรับภารกิจกรมและคณะกรรมการตามกฎหมาย ปฏิรูปภารกิจกรมให้สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนากระทรวง การทบทวนบทบาทคณะกรรมการตามกฎหมายต่างๆโดยเฉพาะที่ปลัดเป็น ประธาน รองปลัด ทรงยศ ชัยชนะ ดูแล

10 2. การปฏิรูประบบสาธารณสุข
2. การปฏิรูประบบสาธารณสุข การร่วมงานของ สธ. กับ ภาคีนอก กสธ. เพิ่มความร่วมมือในการพัฒนา เริ่มด้วยเรื่องที่มีความเห็นในทิศทางเดียวกันเช่น DHS สธ., สปสช., สสส. ให้ การสนับสนุน, การเข้าถึงบริการ แสวงหาข้อเท็จจริงในประเด็นที่เห็นต่างเพื่อหาทางออกร่วมกันอย่างเป็น เอกภาพในอนาคตเช่น การบริหารงบ UC บทบาทในฐานะ National Health Authority ผตร. สุรเชษฐ์ สถิตนิรามัย ดูแล

11 การอภิบาลระบบในกระทรวงสาธารณสุข
การบริหารจัดการระบบคุณธรรม กำหนดกระบวนการการจัดซื้อจัดจ้างที่โปร่งใส ตรวจสอบได้ การบริหารงานบุคคลในระดับต่างๆ มีคุณธรรม ป้องกันการแทรกแซงที่ไม่ชอบ ธรรม การวางแผนการผลิตและพัฒนาเพื่อการให้บริการสาธารณสุข การวางแผนงบลงทุนระยะยาวที่เป็นรูปธรรม (คน เงิน ของ) ผู้ช่วยปลัด สุเทพ วัชรปิยานันท์ ดูแล

12 การอภิบาลระบบในกระทรวงสาธารณสุข
การจัดกลไกร่วมกำหนด ตรวจสอบ ถ่วงดุล ของประชาคมสาธารณสุข กำหนดบทบาทในการเป็นผู้ร่วม ตรวจสอบ ถ่วงดุล ออกแบบกลไกและกระบวนการการมีส่วนร่วมของประชาคมสาธารณสุขในการ รักษาระบบคุณธรรม สนับสนุนให้เกิดเวทีในการระดมความเห็นเพื่อร่วมกำหนดกลไกและกระบวนการ โดยเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมเช่น ธรรมนูญ. สมัชชา ฯ ผู้ทรงคุณวุฒิ ศุภกิจ ศิริลักษณ์ ดูแล

13 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt แนวทางการดำเนินการของกระทรวงสาธารณสุข

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google