งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การเรียนการสอนทางไกลอย่างมีประสิทธิภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การเรียนการสอนทางไกลอย่างมีประสิทธิภาพ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การเรียนการสอนทางไกลอย่างมีประสิทธิภาพ
(กรณีศึกษา ศูนย์การศึกษาต่อเนื่องแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) โดย ศาสตราจารย์ ดร. ดิเรก ลาวัณย์ศิริ

2 CEC Case Study E-Learning Contents E-Learning Website
Learning Management System Road To Standard

3 e-Learning Contents

4 บทเรียนในรูปแบบ e-Learning
ระดับก่อนปริญญา หลักสูตรเติมความรู้มุ่งสู่มหาวิทยาลัย เติมเข้มคณิตศาสตร์ เฉลยข้อสอบ Entrance 2. ระดับปริญญา โครงการผลิตสื่อการเรียนการสอนทางไกล ระดับอุดมศึกษา โครงการติววิทยาศาสตร์พื้นฐานระดับมหาวิทยาลัย

5 บทเรียนในรูปแบบ e-Learning (cont.)
3. ระดับหลังปริญญา ธุรกิจท่องเที่ยว SMEs ภาษาญี่ปุ่น ภาษาเวียดนาม จิตวิทยาการบริหาร การศึกษาความเป็นไปได้และโครงการ

6 บทเรียนในรูปแบบ e-Learning (cont.)
Flash Content

7 บทเรียนในรูปแบบ e-Learning (cont.)
2. Streaming

8 e-Learning Website

9 ChulaOnline.Com TOEFL Online ChulaOnline Card
เป็นหลักสูตรเพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับการสอบ TOEFL และ TOEIC ด้วยความร่วมมือของผู้ผลิตหลักสูตรออนไลน์ชั้นนำจากประเทศสหรัฐอเมริกาและแคนาดา ChulaOnline Card หลักสูตรเติมความรู้มุ่งสู่มหาวิทยาลัย สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย ในการเรียนการสอนรูปแบบใหม่ โดยการรับชมวิดีทัศน์ ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต

10 ChulaOnline.Com (cont.)
Mini Entrance โครงการสำหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ที่กำลังเตรียมตัวสอบ เข้ามหาวิทยาลัย สามารถทดลองทำข้อสอบย้อนหลังกว่า 3,000 ข้อ E-Life Long Learning โครงการเพื่อเปิดโอกาสทางการศึกษาให้สามารถศึกษาผ่านทาง Internet เพื่อลดข้อจำกัดของการเรียนในเรื่องของเวลาและสถานที่โดยศูนย์การศึกษาต่อเนื่องแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดให้บุคคลทั่วไปมีโอกาสได้เข้าเรียนในโครงการเรียนผ่าน Internet โดยร่วมกับสื่อต่าง ๆให้เข้าร่วมโครงการ

11 Learning Management System

12 Chula ELS : คุณสมบัติโปรแกรม
มีความสามารถในการบริหารจัดการบทเรียนผ่านทางเครือข่าย Internet โดยผู้เรียนผู้สอนสามารถเข้าใช้งานระบบได้แบบ Anywhere Anytime ประกอบด้วยฐานข้อมูลที่ทำการจัดเก็บข้อมูล ทั้งผู้เรียน ผู้สอน และผู้บริหารระบบ รวมถึงฐานข้อมูลในด้านหลักสูตร และข้อสอบ ประกอบด้วยโปรแกรมช่วยสร้างเนื้อหา (Content Authoring Tool) ที่ใช้งานง่ายและรองรับบทเรียนได้หลายรูปแบบ ทั้ง text-based และ multimedia สามารถรองรับจำนวนผู้ใช้งานและจำนวนบทเรียนได้ไม่จำกัด โดยขึ้นอยู่กับ Hardware และ Software ที่ใช้

13 Chula ELS : คุณสมบัติโปรแกรม (cont.)
โปรแกรมประกอบด้วยระบบข้อสอบแบบจับเวลา ตรวจข้อสอบอัตโนมัติ และระบบสุ่มข้อสอบ เฉลยข้อสอบ และรายงานสถิติคะแนนและการเข้าเรียน ประกอบด้วยระบบจัดการไฟล์โฟล์เดอร์ สามารถ upload ไฟล์ได้หลายรูปแบบ เช่น HTML,Flash,Quicktime,Movie,Acrobat,Powerpoint,Word,Real ประกอบด้วย Collaboration Tools สำหรับติดต่อสื่อสารระหว่างนักเรียนและอาจารย์ เช่น Webboard และ Chatroom พัฒนาโดยฝีมือของคนไทย สามารถรองรับการทำงานได้ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

14 Chula ELS : การนำไปใช้ ใช้อบรมกับสถาบันราชภัฏ 41 แห่งทั่วประเทศ จำนวนผู้อบรม 1,225 คน ใช้อบรมกับคณาจารย์จุฬาและบุคคลทั่วไป จำนวนผู้อบรม 366 คน ใช้งานกับคลังข้อสอบ Entrance ปี (11 ชุดวิชา) เปิดให้บริการฟรีบน ChulaOnline มีผู้สมัครเรียน 627 คน เข้าร่วมกับโครงการ NIMEWORLD ประเทศญี่ปุ่น ใช้อบรมภายในบริษัท ทศท. คอร์ปอเรชั่น จำกัด มหาชน ใช้อบรมภายในสถาบันภาษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กระทรวงพาณิชย์ ธนาคารกสิกรไทย

15 Road To Standard

16 Why Standard Need ? ประโยชน์ของมาตรฐาน
ทำให้สามารถเนื้อหาจาก LMS หนึ่งมาผสมและรวมไปใช้งานกับ LMS อีกตัวหนึ่งได้ (Mix and Match) ทำให้การใช้งานไม่ขึ้นอยู่กับแพลตฟอร์ม เพิ่มประสิทธิภาพและทำให้เกิดการลงทุนที่คุ้มค่า ทำบทเรียนให้เหมาะกับแต่ละบุคคล (Personalization) ได้มากขึ้น (Put the right content to the right person on the right time) เพิ่มทั้งปริมาณและคุณภาพของเนื้อหา

17 Who does What for Standard

18 Sharable Content Object Reference Model (SCORM) Version 1.2
Content Aggregation Model อธิบายหลักในการประกอบ learning object ให้สามารถถูกค้นพบและถูกเรียกใช้ซ้ำระหว่าง SCORM-complicant LMS ได้ Run-time Environment จะอธิบายหลักในการรันเนื้อหา (Content) โดยที่ SCO ที่ประกอบกันเป็นเนื้อหานั้นจะต้องถูกติดตามได้โดย LMS ซึ่งเป็นผลให้เราสามารถติดตามข้อมูลผู้เรียนได้

19 Conformance Requirements v1.2
1. LMS Categories 3. Metadata Categories LMS-RTE1 LMS-RTE2 LMS-RTE3 MD-XML1 MD-XML1 + Optional MD-XML1 + Extensions MD-XML1 + Optional + Extensions 2. SCO Categories 4. Content Pacakging Categories SCO-RTE1 SCO-RTE1 + Mandatory SCO-RTE1 + Optional SCO-RTE1 + Mandatory + Optional ADLCP-PIF1

20 Conformance Test Suite Version 1.2.3

21 Example : SCO Metadata (cont.)

22 Example : SCO Metadata (cont.)
Metadata กลุ่มบังคับสำหรับ SCO กลุ่ม general บังคับ Catalog Entry Catalog Entry และ Keyword กลุ่ม Lifecycle บังคับVersion และ Status กลุ่ม Meta-Metadata บังคับ Meta-Data Schema กลุ่ม Technical บังคับ Format และ Location กลุ่ม Rights บังคับ Cost และ Copyrights and other restrictions กลุ่ม Classification บังคับ Purpose Description และ Keyword

23

24 Example : SCO Metadata (cont.)
*************************************** Checking Meta-data for Minimum Conformance Checking Meta-data for well-formedness... Meta-data is well-formed Validating Meta-data against Schema... Meta-data is valid against the Schema Checking Meta-data for Mandatory Elements... Meta-data contains all mandatory elements Checking Meta-data for Optional Elements... Meta-data used optional elements correctly Checking Meta-data for Extension Elements... Extension element(s) have not been used Meta-data is SCORM Version 1.2 MD-XML1 + Optional Conformant

25 Already Done. Plan To Develop. SCO Metadata Conformance
Content Packaging Conformance LMS : Import / Export Module


ดาวน์โหลด ppt การเรียนการสอนทางไกลอย่างมีประสิทธิภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google