งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
โดย พรพรหม อธีตนันท์ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ วันที่ ๓-๔ และ ๖ พฤษภาคม ๒๕๔๗

2 เนื้อหาการนำเสนอ นิยาม และวิวัฒนาการของไอซีที นโยบาย
ไอซีที และ ว & ท แผนแม่บทไอซีทีของหน่วยงาน การพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ระบบคอมพิวเตอร์ องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ การใช้งาน Microsoft Windows อินเทอร์เน็ต ความหมาย ประโยชน์และโทษ บริการต่าง ๆ บัญญัติ 10 ประการในการใช้งานอินเทอร์เน็ต การใช้งานเว็บบราวเซอร์ การรับ-ส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ การสืบค้นข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต การป้องกันข้อมูลไม่พึงประสงค์บนเว็บ

3 ความหมาย ข้อมูล กับ สารสนเทศ (Data Information)
เทคโนโลยีสารสนเทศ / ไอที / Information Technology (IT) เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร / ไอซีที / Information and Communication Technology (ICT) ระบบสารสนเทศ (Information System)

4 เทคโนโลยีสารสนเทศ Information Technology : IT
ความหมาย ความรู้ในผลิตภัณฑ์ หรือ ในกระบวนการดำเนินการใด ๆ ที่อาศัยเทคโนโลยี ทางด้าน คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์ (Software) คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ (Hardware) การติดต่อสื่อสาร การรวบรวมและการนำข้อมูลมาใช้อย่างทันการ เพื่อก่อให้เกิด ประสิทธิภาพ ทั้งด้านการผลิต การบริการ การบริหาร และการ ดำเนินงาน รวมทั้งเพื่อการศึกษาและการเรียนรู้ ซึ่งจะส่งผลต่อ ความได้เปรียบทางเศรษฐกิจ การค้า และการพัฒนาด้านคุณภาพชีวิต และคุณภาพของประชาชนในสังคม ที่มา :- ศัพทานุกรม แผนแม่บทไอซีที พ.ศ. ๒๕๔๕ - ๒๕๔๙

5 เทคโนโลยีเหล่านี้ มักจะหมายถึง คอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบด้วย
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร Information and Communication Technology : ICT ความหมาย เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับ ข่าวสาร ข้อมูล และการสื่อสาร นับตั้งแต่การสร้าง การนำมาวิเคราะห์ หรือ ประมวลผลการรับและส่งข้อมูล การจัดเก็บ และการนำไปใช้งานใหม่ เทคโนโลยีเหล่านี้ มักจะหมายถึง คอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบด้วย ส่วนอุปกรณ์ (Hardware) ส่วนคำสั่ง (Software) ส่วนข้อมูล (Data) และ ระบบการสื่อสารต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นโทรศัพท์ ระบบสื่อสารข้อมูล ดาวเทียม หรือ เครื่องมือสื่อสารใด ๆ ทั้งมีสายและไร้สาย ที่มา :- ศัพทานุกรม แผนแม่บทไอซีที พ.ศ. ๒๕๔๕ - ๒๕๔๙

6 ที่มา :-

7 ที่มา :-

8 ระบบสารสนเทศ Information System
ความหมาย ระบบคอมพิวเตอร์ที่สามารถจัดทำสารสนเทศ หรือ ข่าวสารที่มีความหมาย สำหรับพนักงานใช้ปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ และให้ ผู้บริหารใช้ในการตัดสินใจ อย่างมีประสิทธิผล IS ต้องใช้ IT / ICT

9 ข้อมูล กับ สารสนเทศ Data and Information
ข้อเท็จจริง ของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น และบันทึกไว้เป็นหลักฐาน เช่น รายการค้า ปริมาณการผลิตต่อวัน การจำหน่ายตั๋วต่อวัน ราคาวัตถุดิบ ชื่อลูกค้าที่ไม่ชำระเงินตามกำหนด สารสนเทศ (Information) ข้อมูลที่นำมาประมวลให้เกิดเป็นความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น สารสนเทศอาจผสมผสานความลำเอียงความรู้สึกของผู้รับ

10 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในปัจจุบันและทิศทางในอนาคต
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในปัจจุบันและทิศทางในอนาคต

11 การก้าวกระโดดของคมนาคมและการสื่อสาร ทุก 500 ปี
การก้าวกระโดดของคมนาคมและการสื่อสาร ทุก 500 ปี

12 การหลอมรวมกันของเทคโนโลยี C+C
Computers Broadcasting Broadband and cable services Connected to networks PC TV Mobile and Wireless Appliance Cable changes to wireless Electronic Games and Embedded Systems Telecommunications

13 Convergence of Technologies
Nanoelectronics Bio-Informatics

14 NanoTechnology Center
(

15 NanoTechnology

16 นาโนเทคโนโลยี 3 สาขาหลัก
Nanobiotechnolgy (นาโนเทคโนโลยีชีวภาพ) Nanoelctronics (นาโนอิเล็กทรอนิกส์) Nanomaterials (วัสดุนาโน)

17

18

19

20 Bioinformatics (ต่อ) ชีวสารสนเทศศาสตร์ ==> ถูกใช้ในการ
ชีวสารสนเทศศาสตร์ ==> ถูกใช้ในการ การหาคำตอบ หรือ ตอบคำถามทางด้านวิทยาศาสตร์ชีวภาพ ในหลายรูปแบบ ซึ่ง เดิมทำได้ยากหรือไม่อาจทำได้เลย นอกจากนี้ ยังเป็นเครื่องมือที่ปรับเปลี่ยนรูปแบบหลัก ( Paradigm shift ) ของ การค้นคว้าวิจัย จากแบบดั้งเดิม ซึ่งใช้เวลาส่วนใหญ่ในห้องปฏิบัติการอย่างเดียว มาเป็น การผสมผสาน กับ การสืบค้น วิเคราะห์ หรือแม้กระทั่งทำการทดลองบนเครื่อง คอมพิวเตอร์ โดยการจำลอง(simulation) โดยใช้ข้อมูล ( digital data) เป็นวัตถุดิบ จากนั้นจึงกลับมาวิจัยในห้องปฏิบัติการ (wet lab) เพื่อยืนยันผลลัพธ์ที่ได้จากการประเมิน หรือวิเคราะห์ผลจากข้อมูลเหล่านั้น อันเป็นการประหยัดทั้งเวลาและงบประมาณการวิจัย

21 Bioinformatics* ชีวสารสนเทศศาสตร์ ==> ศาสตร์ที่ว่าด้วย
การจัดเก็บ และ การใช้ข้อมูลทางชีววิทยาอย่างเป็นระบบ รวมทั้ง การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์แบบต่างๆ สำหรับ เปรียบเทียบ วิเคราะห์ คำนวณ และประเมินผลข้อมูลที่ได้จาก การสืบค้นจากคอมพิวเตอร์ระดับองค์กรหรือระหว่างองค์กร ทั้งในและต่างประเทศ ผ่านเครือข่ายสารสนเทศต่างๆ Source :-

22 ไอซีที วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แผนแม่บทไอซีทีของหน่วยงาน
นโยบาย ไอซีที วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แผนแม่บทไอซีทีของหน่วยงาน

23 ที่มา :-

24 นโยบาย IT2000* *

25 เศรษฐกิจแห่ง ภูมิปัญญาและ การเรียนรู้
ส่งเสริมให้มี นวัตกรรม ลงทุนในการสร้างทรัพยากรมุนุษย์ IT2010* เศรษฐกิจแห่ง ภูมิปัญญาและ การเรียนรู้ ระยะเวลา ลงทุนและส่งเสริมให้มีโครงสร้าง พื้นฐานสารสนเทศและอุตสาหกรรม ที่เกี่ยวเนื่อง กรอบนโยบายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ: นำประเทศไทยก้าวสู่เศรษฐกิจแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ (Knowledge-Based Economy) พิจารณาและเห็นชอบโดยคณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติ เมื่อ ๓ ตุลาคม ๒๕๔๔ *

26 การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ ที่มา : คณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติ ๑๑ มิ.ย. ๔๕ เศรษฐกิจ สังคม e-Industry e-Commerce services/agriculture/ and tourism e-Society e-Education e-Government นวัตกรรม, วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี,การวิจัยและพัฒนา,ความรู้ การพัฒนาสารสนเทศ, ทักษะพื้นฐานของประชาชน และบุคลากรด้านไอที โครงสร้างพื้นฐานโทรคมนาคม ปริมาณ คุณภาพ *

27 ยุทธศาสตร์ทั้ง ๗ ด้าน แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ของประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๔๕ - ๒๕๔๙

28 ยุทธศาสตร์ ๑ : การพัฒนาอุตสาหกรรม ICT เพื่อให้เป็นผู้นำในภูมิภาค
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ของประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๔๕ - ๒๕๔๙ ยุทธศาสตร์ ๑ : การพัฒนาอุตสาหกรรม ICT เพื่อให้เป็นผู้นำในภูมิภาค ยุทธศาสตร์ ๒ : การใช้ ICT เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของคนไทยและสังคมไทย ยุทธศาสตร์ ๓ : การปฏิรูปและการสร้างศักยภาพการวิจัยและพัฒนา ICT ยุทธศาสตร์ ๔ : การยกระดับศักยภาพพื้นฐานของสังคมไทยเพื่อการแข่งขันในอนาคต ยุทธศาสตร์ ๕ : การพัฒนาศักยภาพของผู้ประกอบการ เพื่อมุ่งขยายตลาดต่างประเทศ ยุทธศาสตร์ ๖ : การส่งเสริมผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อมใช้ ICT ยุทธศาสตร์ ๗ : การนำ ICT มาใช้ประโยชน์ในการบริหารและการให้บริการของภาครัฐ

29 แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๔๕-๒๕๔๙
ยุทธศาสตร์ ๗ : การนำ ICT มาใช้ประโยชน์ในการบริหารและการให้บริการของภาครัฐ “ให้รัฐดำเนินการพัฒนาการใช้ ICT ในส่วนงานของรัฐอย่างมีบูรณาการและเอกภาพ เพื่อเพิ่มศักยภาพในการบริหารประเทศและในการให้บริการประชาชนและภาคเอกชน อย่างมีประสิทธิภาพ” ให้มีกระทรวงที่รับผิดชอบการวางแผน ส่งเสริม พัฒนา และดำเนินการด้าน ICT ของประเทศไทย ปฏิรูปการบริหารและการจัดการของหน่วยงานภาครัฐ โดยจัดตั้งโครงสร้างส่วนงานสนับสนุน CIO ปรับกฎระเบียบและวิธีบริหารราชการเพื่อใช้ประโยชน์จาก ICT และ จัดสรรงบประมาณในการพัฒนา ICT อย่างมีประสิทธิภาพ พัฒนาฐานข้อมูลภาครัฐโดยกำหนดมาตรฐานที่เกี่ยวกับข้อมูลและการสื่อสารข้อมูล เพื่อให้ทุกหน่วยงานแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้อย่างมีเอกภาพ จัดให้มีระบบข้อมูลภูมิสารสนเทศ (GIS) เพื่อนำมาใช้ในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม การบริหารจัดการทรัพยากร และการป้องกันภัยพิบัติ บริหารการใช้โครงข่ายสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพและมั่นคงปลอดภัย พัฒนาบุคลากรภาครัฐ ทั้งด้าน ICT และด้านอื่นๆ รวมถึงการจัดตั้งสถาบัน e-Government สำหรับการพัฒนาความรู้ความสามารถด้าน ICT พัฒนาระบบการติดตามประเมินผลเพื่อประเมินผลสำเร็จและวิเคราะห์ปัญหาการพัฒนา ICT ของประเทศ พัฒนาระบบโครงข่ายประสาทดิจิทัล(Digital Nervous System) เพื่อให้รัฐบาลสามารถบริหารจัดการข้อมูลข่าวสารสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ

30 แผนกลยุทธ์ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
แผนกลยุทธ์ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ระยะ ๒๕๔๗-๒๕๕๖

31 แผนกลยุทธ์ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ระยะ ๒๕๔๗-๒๕๕๖ ที่มา : คณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ได้รับความเห็นชอบจาก คณะรัฐมนตรี ๑๐ ก.พ. ๔๗ แนวคิดการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศไทยในระยะ 10 ปี (พ.ศ )

32 กรอบแผนกลยุทธ์ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ระยะ ๒๕๔๗ - ๒๕๕๖
กรอบแผนกลยุทธ์ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ระยะ ๒๕๔๗ - ๒๕๕๖

33 แผนแม่บทไอซีทีระดับหน่วยงาน
ดาวน์โหลด คู่มือการจัดทำแผนแม่บทไอซีทีระดับหน่วยงาน ได้ที่

34 องค์ประกอบของ แผนแม่บทไอซีทีระดับหน่วยงาน

35 องค์ประกอบของ แผนแม่บทไอซีทีระดับหน่วยงาน (ต่อ)

36 การพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
e-Government Development

37 ความหมายของรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Government: e-Government)
ความหมายโดย ธนาคารโลก: “การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร(ICT) ในการปรับปรุงประสิทธิภาพ ความสัมฤทธิ์ผล ความโปร่งใส และความน่าเชื่อถือของรัฐบาล” ความหมายโดย สหประชาชาติ: “ความผูกมัดตลอดไปของรัฐบาลในการปรับปรุงความสัมพันธ์ระหว่างประชาชนและภาครัฐโดยการยกระดับการสร้างความคุ้มค่า และการสร้างประสิทธิภาพในเรื่องการให้บริการข้อมูลข่าวสารและองค์ความรู้” ความหมายโดย โครงการรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ เนคเทค/สวทช : หมายถึง วิธีการบริหารจัดการภาครัฐสมัยใหม่ โดยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร (ICT) เพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพและสร้างความโปร่งใสของการดำเนินงานของภาครัฐ (back office) ปรับปรุงการบริการเพื่อประชาชน ส่งเสริมเศรษฐกิจ และพัฒนาสังคม (front office)

38 รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (e-Government)
ความหมายโดย ธนาคารโลก: “การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร(ICT) ในการปรับปรุง ประสิทธิภาพ ความสัมฤทธิผล ความโปร่งใส และความน่าเชื่อถือของรัฐบาล” ความหมายโดย สหประชาชาติ: “ความผูกมัดตลอดไปของรัฐบาลในการปรับปรุงความสัมพันธ์ระหว่าง ประชาชนและภาครัฐโดยการยกระดับการสร้างความคุ้มค่า และ การสร้างประสิทธิภาพในเรื่องการให้บริการข้อมูลข่าวสารและองค์ความรู้” ความหมายโดย โครงการรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์: “หมายถึงวิธีการบริหารจัดการภาครัฐสมัยใหม่ โดยการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) เพื่อ: กิจกรรม: เพิ่มประสิทธิภาพและ สร้างความโปร่งใสของ การดำเนินงานของภาครัฐ มาตรฐาน ซอฟต์แวร์ กลาง (Back Office) ศูนย์ แลกเปลี่ยน ข้อมูลภาครัฐ (GDX) โครงข่าย ประสาท ดิจิทัล (DNS) ศูนย์ ปฏิบัติการ นายกรัฐมนตรี (NOC) การพัฒนาบุคลากรภาครัฐ ปรับปรุงการบริการเพื่อ ประชาชน ส่งเสริมเศรษฐกิจ และพัฒนาสังคม ” บริการ ข้อมูลข่าวสาร และเชิงรายการ โอนเงิน และ ทำธุรกรรม อิเล็กทรอนิกส์ จัดซื้อ จัดจ้าง ทาง อิเล็กทรอนิกส์ บริการ แบบ ที่เดียว ทันใด ทั่วไทย ทุกเวลา โครงสร้างพื้นฐาน ,Smart ID Card, e-Citizen

39 องค์ประกอบ การใช้งาน Microsoft Windows
ระบบคอมพิวเตอร์* องค์ประกอบ การใช้งาน Microsoft Windows * จาก เอกสาร Computer for CIO โดย อ. บุญเลิศ อรุณพิบูลย์ , โครงการพัฒนาบุคลากรด้านไอซีที/เนคเทค

40

41

42

43

44

45

46

47

48

49

50

51

52

53

54

55

56

57

58

59

60

61

62

63

64

65

66

67

68

69

70

71

72

73

74

75

76

77

78 อินเทอร์เน็ต ความหมาย ประโยชน์และโทษ บริการต่าง ๆ
ความหมาย ประโยชน์และโทษ บริการต่าง ๆ บัญญัติ 10 ประการในการใช้งานอินเทอร์เน็ต การใช้งานเว็บบราวเซอร์ การรับ-ส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ การสืบค้นข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต * จาก เอกสาร Computer for CIO โดย อ. บุญเลิศ อรุณพิบูลย์ , โครงการพัฒนาบุคลากรด้านไอซีที/เนคเทค

79

80

81

82

83

84

85

86

87

88

89

90 dpim.go.th

91

92

93

94

95

96

97

98

99

100

101

102

103

104

105

106

107

108

109

110

111

112

113 อินเทอร์เน็ต การรับ-ส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์
คู่มือการใช้ระบบ กพร.

114 Emoticon

115 การสืบค้นข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต การป้องกันข้อมูลไม่พึงประสงค์บนเว็บ
* จาก เอกสาร Computer for CIO โดย อ. บุญเลิศ อรุณพิบูลย์ , โครงการพัฒนาบุคลากรด้านไอซีที/เนคเทค

116

117

118 การป้องกันข้อมูลไม่พึงประสงค์บนเว็บ
ระบบอินเทอร์เน็ตเป็นระบบเปิดที่อนุญาตให้ผู้ใดก็ได้ ที่สนใจ สามารถนำเสนอได้อย่างอิสระ ข้อมูลบนเครือข่าย มีหลากหลาย ทั้งคุณ และโทษ การกลั่นกรองเนื้อหาที่เหมาะสมให้กับเยาวชน เป็น เรื่องที่ทำได้ค่อนข้างยาก เทคนิคหรือวิธีการกลั่นกรองเนื้อหา การกลั่นกรองที่เครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้ การกลั่นกรองในส่วนของผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต

119 บัญญัติ 10 ประการด้านความปลอดภัยของเครือข่าย
ตั้งรหัสผ่านที่ยากแก่การเดา เปลี่ยนรหัสผ่านสม่ำเสมอ เช่น ทุก 90 วัน รันและปรับปรุงโปรแกรมป้องกันไวรัสตลอดเวลา ให้ความรู้แก่บุคลากรในเรื่องความปลอดภัยในการรับไฟล์ หรือดาวน์โหลดไฟล์ จากอินเทอร์เน็ต เช่น อีเมล์, เว็บไซต์ ติดตั้งระบบรักษาความปลอดภัยสำหรับเครือข่ายอย่างสมบูรณ์ ประเมินสถานการณ์ของความปลอดภัยในเครือข่ายสม่ำเสมอ ลบรหัสผ่าน และบัญชีการใช้ของพนักงานที่ออกจากหน่วยงานทันที วางระบบรักษาความปลอดภัยสำหรับการเข้าถึงระบบของพนักงานจากภายนอก หน่วยงาน ปรับปรุง (Upgrade) ซอฟต์แวร์สม่ำเสมอ ไม่รันเซอร์วิสบางตัวบนเครือข่าย อย่างไม่จำเป็น

120 ขอขอบคุณและสวัสดีครับ
ดาวน์โหลดเอกสารประกอบการนำเสนอ ได้ที่นี่ ครับ


ดาวน์โหลด ppt ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google