งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ประวัติผู้บรรยาย ชื่อ - นามสกุล : นางสาวสุมาลี จำเริญ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ประวัติผู้บรรยาย ชื่อ - นามสกุล : นางสาวสุมาลี จำเริญ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ประวัติผู้บรรยาย ชื่อ - นามสกุล : นางสาวสุมาลี จำเริญ
ชื่อ - นามสกุล : นางสาวสุมาลี จำเริญ การศึกษา : นิติศาสตรมหาบัณฑิต (กฎหมายเอกชน และธุรกิจ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จบหลักสูตร : ครูสมาธิ รุ่นที่ ๓๙ (เอกูนจัตตาฬิสโม) อัตตชัย ญาณสาสมาธิ อาจาริยสาสมาธิ รุ่นที่ ๑๘ อาชีพปัจจุบัน : รับราชการ

2 ๑. จุดประสงค์ของการทำสมาธิ
หนังสือหลักสูตรครูสมาธิ เล่มที่ ๑ หน้าที่ ๑-๓ เทปบรรยายโดยพระอาจารย์หลวงพ่อวิริยังค์ สิรินฺธโร

3 ประเด็นในการบรรยาย ๑. จุดประสงค์ของการทำสมาธิ คือ อะไร ๒. สมาธิไฮเทค

4 ๑. จุดประสงค์ของการทำสมาธิ คือ อะไร
“...การทำอะไรไม่ว่าจะเล็กหรือใหญ่ จะมากหรือน้อยก็มีจุดประสงค์ในการทำ...” (เล่ม ๑ หน้า ๑ บรรทัดที่ ๑๑) ๑. จุดประสงค์ของการทำสมาธิ คือ อะไร

5 จุดประสงค์ของการทำสมาธิ
เพื่อสะสมพลังจิต (เล่ม ๑ หน้า ๑ บรรทัดที่ ๗) พลังจิต พลังจิต

6 (เล่ม ๑ หน้า ๑ บรรทัดที่ ๘-๙)
“...คนทุกคนต้องมีพลังจิตจึงจะทำงานสำเร็จ ถ้าขาดพลังจิตก็จะไม่พบความสำเร็จ และถ้าขาดพลังจิตมากจะเป็นโรคประสาท...” (เล่ม ๑ หน้า ๑ บรรทัดที่ ๘-๙)

7

8 (เล่ม ๑ หน้า ๑ บรรทัดที่ ๒๓-๒๔)
“...จึงคิดพัฒนาการทำสมาธิให้เป็นไปตามโลกาภิวัฒน์ ด้วยหลักสูตรที่เขียนขึ้นมาในครั้งนี้ โดยที่จะย่นเวลาจาก ๕๐ ปี ให้เหลือเพียงครึ่งปี” (เล่ม ๑ หน้า ๑ บรรทัดที่ ๒๓-๒๔) ๒. สมาธิไฮเทค

9 (เล่ม ๑ หน้า ๒ บรรทัดที่ ๖-๘)
- เน้นการทำสมาธิอย่างง่าย - ความรู้ที่ปรึกปรือมานั้นเพียงพอที่จะสอนผู้อื่นได้ (เล่ม ๑ หน้า ๒ บรรทัดที่ ๖-๘)

10 ๒. การบริกรรม หนังสือหลักสูตรครูสมาธิ เล่มที่ ๑ หน้าที่ ๔๗-๗๑
เทปบรรยายโดยพระอาจารย์หลวงพ่อวิริยังค์ สิรินฺธโร

11 ประเด็นในการบรรยาย ๑. ทำไมต้องบริกรรม ๒. หลักการบริกรรม ๘ ประการ

12 ๑. ทำไมต้องบริกรรม

13 (เล่ม ๑ หน้า ๔๗ บรรทัดที่ ๑-๒)
“คำบริกรรม คือ วิธีการทำจิตให้นิ่ง เมื่อใจมาจดจ่ออยู่ที่คำบริกรรมถือว่าบรรลุความสำเร็จในขั้นหนึ่ง...” (เล่ม ๑ หน้า ๔๗ บรรทัดที่ ๑-๒)

14 (เล่ม ๑ หน้า ๔๗ บรรทัดที่ ๑๖-๑๗)
“เหตุผลที่จะต้องบริกรรม คือ บุคคลทุกๆ คนจะต้องมีอารมณ์...” (เล่ม ๑ หน้า ๔๗ บรรทัดที่ ๑๖-๑๗)

15 (เล่ม ๑ หน้า ๔๘ บรรทัดที่ ๑๙-๒๐)
“...การบริกรรม คือ การตัดอารมณ์อื่นทั้งหมดทิ้งให้เหลือเพียงอารมณ์เดียว...” (เล่ม ๑ หน้า ๔๘ บรรทัดที่ ๑๙-๒๐)

16 อารมณ์ คือ ความนึกคิดไม่มีที่สิ้นสุด

17 อารมณ์ มีหลากหลาย

18 มนุษย์อยู่กับอารมณ์ ความนึกคิดมีอยู่ทุกขณะจิต แม้กระทั่งหลับยังฝัน
มนุษย์อยู่กับอารมณ์ ความนึกคิดมีอยู่ทุกขณะจิต แม้กระทั่งหลับยังฝัน

19 อารมณ์มีทั้งสร้างสรรค์ และอารมณ์ทำลาย มวลมนุษยชาติด้วยกันเอง
อารมณ์มีทั้งสร้างสรรค์ และอารมณ์ทำลาย มวลมนุษยชาติด้วยกันเอง

20 คำบริกรรม การควบคุมอารมณ์ ด้วยคำบริกรรม อารมณ์
เปรียบเหมือนการ “สลายม็อบ” คำบริกรรม อารมณ์

21 การเริ่มต้นของสมาธิคือ “คำบริกรรม” หมายถึง “คำนึงอยู่ในใจ”
การเริ่มต้นของสมาธิคือ “คำบริกรรม” หมายถึง “คำนึงอยู่ในใจ” สังโฆ ยุบหนอ พองหนอ ธัมโม พุทโธ สัมมาอะระหัง นะมะพะธะ อะไรก็ได้ ไม่ต้องออกเสียง นึกอยู่ในใจ จึงเรียกว่า “บริกรรมภาวนา” เป็น “มโนกรรม” ๖๙

22 คำบริกรรม คือ คำอะไรก็ได้ที่ทำให้จิตสงบ
ของฉันดีกว่าของเธอ ของเธอผิด ของฉันถูก ไม่ควรเห็นว่าคำบริกรรมของคนนี้ผิด ของคนนี้ถูก หรือคำนั้นถูกบ้าง ผิดบ้าง เพราะ ถูกทุกๆ คำบริกรรม เทปบรรยาย

23 จิตเป็นสมาธิ คือ จิตเป็นหนึ่ง จิตเป็นสมาธิเป็นทางเดียวที่จะเสริมพลังจิต การทำสมาธิจึงเป็นการส่งเสริมเพิ่มเติมพลังจิต เปรียบเทียบดุจสร้างเขื่อนกักกั้นน้ำ

24 ๒. หลักการบริกรรม ๘ ประการ
๒. หลักการบริกรรม ๘ ประการ ๒.๑ การบริกรรม คือ นึกพุทโธ ฯลฯ - การบริกรรม คือ การกลั่นกรองอารมณ์ในใจให้มาจดจ่ออยู่ที่คำบริกรรมเดียวคือ “พุทโธ” - นึกอยู่คำเดียวในใจ แต่เมื่อนึกคำใดก็อย่าเปลี่ยนบ่อย ๆ จะทำให้ใจเราเขว

25 ๒.๒ การบริกรรมเป็นเพียงเบื้องต้น
- คำบริกรรมเปรียบเด็กเล็กที่ยังช่วยตัวเองไม่ได้ ต้องมีผู้ใหญ่คอยดูแล - เมื่อโตแล้วไม่ต้องมีใครมาอุ้ม ถึงอุ้มก็อุ้มไม่ไหว

26 ๒.๓ การบริกรรม เป็นความจำเป็น
เพราะอารมณ์นับร้อย นับพัน นับหมื่น ไหลเข้าสู่ใจในแต่ละวัน จำเป็นต้องให้ พุทโธ

27 ๒.๔ การไม่บริกรรม กำหนดความหยุด
เมื่อจิตสงบแล้ว ต้องหยุดบริกรรม เหมือนทานอาหารอิ่มแล้วต้องพอ คือ กำหนดความว่าง หลับตาบังคับจิตให้อยู่ในความว่าง ประมาณ ๕ นาที เมื่อจิตสงบให้หยุดบริกรรม ถ้าไม่หยุดบริกรรมจะทำให้สมาธิ ไม่ละเอียดขึ้น

28 ๒.๕ การผ่อนลมหายใจขณะกำหนดความหยุด
ความหยุด หมายถึง การหยุดคำบริกรรม ความหยุดนิ่งจะปรากฏสิ่งหนึ่งให้เรากำหนด คือ การหายใจ เพราะจิตได้จดจ่ออยู่ที่ลมหายใจนี้เอง ทำให้เกิดความเป็นหนึ่งได้โดยอาศัยธรรมชาติ พุทโธ พุทโธ พุทโธ พุทโธ

29 ๒.๖ การบริกรรม เปรียบด้วยเด็กอ่อน
จิตที่ยังไม่เคยฝึกสมาธิเปรียบด้วยเด็กอ่อนต้องอาศัยบิดา มารดา พี่เลี้ยง คำบริกรรมนี้เป็นเพียงผู้ประคับประคองไป ในระดับหนึ่งเท่านั้น

30 ๒.๗ การวางจิตขณะบริกรรม การวางจิตขณะบริกรรมมีหลักอยู่ ๓ ประการ ๑. เมื่อบริกรรมอยู่ จิตก็อยู่ ณ คำบริกรรม ๒. ศรัทธา เชื่อมั่นว่านี่คือทางถูก ๓. มีจิตตั้งพร้อมไว้โดยความระมัดระวังด้วยตนเอง

31 ฐานที่ตั้งจิต หน้าผาก อกเบื้องซ้าย สะดือ

32 ๒.๘ การวัดผลของการบริกรรม
เมื่อเรานึกคำบริกรรมจนจิตนิ่งได้มาก เราก็ลองกำหนดจิตให้เฉย โดยไม่นึกคำบริกรรม หากปรากฏว่าจิตยังอ่อนต้องบริกรรมต่อไป แต่ถ้ากำหนดจิตให้เฉยไม่นึกถึงคำบริกรรม จิตก็ยังนิ่งได้ ถือว่าจิตของเราได้แข็งแกร่งขึ้นแล้วไม่ต้องบริกรรมได้

33 เป็นสมาธิ ทำให้เกิดพลังจิต
สรุป คำบริกรรม คือ วิธีการทำให้ใจนิ่ง ตัดอารมณ์อื่นทั้งหมดทิ้งให้เหลือเพียงอารมณ์เดียว การบริกรรม เป็นการกรองอารมณ์ และฟอกอารมณ์ให้จิตเป็นหนึ่ง เมื่อจิตสงบทำให้เกิดพลังจิต อารมณ์ บริกรรม จิตเป็นหนึ่ง เป็นสมาธิ ทำให้เกิดพลังจิต

34 ๓. ประโยชน์ของสมาธิ หนังสือหลักสูตรครูสมาธิ เล่ม ๒ หน้า ๒๐-๒๒
เทปคำบรรยายพระธรรมมงคลญาณ พระอาจารย์หลวงพ่อวิริยังค์ สิรินฺธโร

35 ประเด็นการบรรยาย ความหมายของประโยชน์ ประโยชน์ของสมาธิ ๑๒ ประการ

36 ๑. ความหมายของประโยชน์ ประโยชน์ หมายถึง ความได้มาและสิ่งที่ทำให้ได้รับความจริงที่อำนวยผล - ผลประโยชน์/ ประโยชน์ทางโลก - ประโยชน์ของสมาธิ

37 ๒. ประโยชน์ของสมาธิ ๑๒ ประการ
๑. ทำให้หลับสบายคลายกังวล

38 ๒. กำจัดโรคภัยไข้เจ็บ

39 ๓. ทำให้สมอง ปัญญาดี

40 ๔. ทำให้รอบคอบก่อนทำงาน

41 ๕. ทำให้ระงับความร้ายกาจ

42 ๖. บรรเทาความเครียด

43 ๗. มีความสุขพิเศษ

44 ๘. ทำให้จิตใจอ่อนโยน

45 ๙. กลับใจได้

46 ๑๐. เวลาจะสิ้นลมพบทางดี

47 ๑๑. เจริญวาสนาบารมี พุทโธ

48 ๑๒. เป็นกุศล

49 สรุป ประโยชน์ของสมาธิมีมากมายมหาศาล แก่สังคมโลก ประชากรโลก อย่างแท้จริง และแน่นอน ร่วมแรงร่วมใจคิดค้นดำเนินการวางแผนอย่างจริงจังก็จะเป็นรูปธรรมเป็นประโยชน์อย่างประเมินค่ามิได้แก่โลก แก่ธรรม และแก่มวลมนุษยชาติ

50 ๔. สมาธิกับการควบคุมอารมณ์
ทบทวน จุดประสงค์ของการทำสมาธิ / อิริยาบท 4 การบริกรรม / ประโยชน์ของสมาธิ ธรรมชาติของอารมณ์ ในแต่ละวันบุคคลจะมีอารมณ์ต่างๆ เกิดขึ้นมากมาย เช่น ความพึงพอใจ ความดีใจ ความเสียใจ ความต้องการ ความโกรธ ความหลง ความเจ็บปวด ความผิดหวัง เป็นต้น ตลอดเวลาที่บุคคลอยู่ในสถานการณ์ใดสถานการณ์หนึ่ง บุคคลจะอยู่ภายใต้สิ่งเร้าและประสบการณ์ที่เขามีอยู่ ทำให้อารมณ์เปลี่ยนไปเปลี่ยนมา ดังนั้นอารมณ์จึงมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของบุคคล ไหนใครคิดว่าอารมณ์ เป็นสิ่งสำคัญบ้าง...ถูกต้องค่ะ อารมณ์ ถือเป็นสิ่งสำคัญมาก เรานั้นจะต้องตกอยู่ภายใต้อารมณ์ ตั้งแต่ตื่นนอน จนถึงเข้านอนกันเลยทีเดียว เรียกได้ว่ามีอารมณ์ทั้งวัน เรามาดูกันว่า คำว่า อารมณ์ นั้นคืออะไร หนังสือหลักสูตรครูสมาธิ เล่ม ๒ หน้า ๔๙-๕๐ เทปคำบรรยายพระธรรมมงคลญาณ พระอาจารย์หลวงพ่อวิริยังค์ สิรินฺธโร

51 ประเด็นการบรรยาย ๑. อารมณ์ ๒. สมาธิควบคุมอารมณ์ได้อย่างไร

52 อารมณ์ คือ อะไร

53 มีอารมณ์บางอารมณ์ที่มีความรุนแรง เป็นเหตุให้จิตใจเศร้าหมอง
มีอารมณ์บางอารมณ์ที่มีความรุนแรง เป็นเหตุให้จิตใจเศร้าหมอง

54 ฉุนเฉียว

55 วุ่นวายและฟุ้งซ่าน

56 ผลกระทบของอารมณ์ ทำให้เกิดความเดือดร้อนแก่ตนเอง และบุคคลอื่น
ทำให้เกิดความเดือดร้อนแก่ตนเอง และบุคคลอื่น ทำความเสียหาย แก่กิจการงาน ครอบครัว และสังคมเป็นอันมาก ๓. เกิดภัยอันตรายอย่างใหญ่หลวง หนังสือครูสมาธิ เล่ม ๒ หน้า ๔๙ ย่อหน้า ๑

57 อารมณ์ฉุนเฉียวเกิดจากความไม่พอใจ - เรื่องใหญ่ฉุนนิด - เรื่องนิดฉุนใหญ่ เพราะอะไร???
ฉุนเล็ก

58 บางทีอารมณ์ฉุนก็อาละวาดขึ้นมาอีกอันดับหนึ่ง

59 การอาละวาด - ปมนี้ คือ จุดรุนแรง
- ถ้าเกิดบ่อย ๆ ประสาทในร่างกายอาจพิการได้ - การเก็บกดผูกใจเจ็บ อารมณ์นี้มีความคมมาก หนังสือครูสมาธิ เล่ม ๒ หน้า ๔๙ ย่อหน้า ๓

60 ความพยาบาท - เป็นการขยายวง มีอำนาจมากขึ้น
- มีผลทำให้เกิดความวุ่นวายในใจ เป็นช่องทางของกิเลสตัวสำคัญที่จะแทรกเข้ามา คือ โทโส-โมโห เกิดอันตรายแก่ครอบครัว บุคคลอื่น และสังคม หนังสือครูสมาธิ เล่ม ๒ หน้า ๔๙ ย่อหน้า ๓

61 โทโส-โมโห

62 ลำดับความรุนแรงของอารมณ์ ไม่พอใจหลายๆ อย่าง ฉุนเฉียว อาละวาด พยาบาท
อารมณ์รุนแรงขั้นนี้ระงับไหวหรือไม่ แก้ปมอย่างไร???

63 สมาธิ เป็นจุดศูนย์กลาง ของ กำลังฝ่ายลบล้างอารมณ์
สมาธิ เป็นจุดศูนย์กลาง ของ กำลังฝ่ายลบล้างอารมณ์

64 สมาธิ ๑. พลังจิต ๒. ความรอบ คอบ ๓. ความหยุดยั้ง ๔. ความเตือนตน
๕. ความอดทน ๖. ความเฉียบคม ๗. ความวางเฉย

65 สมาธิดูเหมือนว่างเปล่าไม่มีอะไร แต่ในความว่างเปล่านั้นกองกำลังทั้ง ๗ ได้ถูกเตรียมพร้อมไว้แล้ว

66 ขณะจิตเป็นสมาธิ กระแสจิตพร้อมกับกองกำลังทั้ง ๗ ได้ฟักตัว อย่างมีประสิทธิภาพ
พุทโธ พุทโธ

67 ความฉุนเฉียว ๒. ความรอบคอบ
ความฉุนเฉียว ๒. ความรอบคอบ ความอาละวาด ๕. ความอดทน ความเก็บกดไม่พอใจ ๔. ความเตือนตน หนังสือครูสมาธิเล่ม ๒ หน้า ๕๐ ย่อหน้า ๑

68 เปรียบเหมือน กองกำลังที่จะไปรบ
กองกำลังทั้ง ๗ เปรียบเหมือน กองกำลังที่จะไปรบ กับข้าศึก

69 สรุป ๑. อารมณ์มีหลากหลาย และรุนแรง ทำให้เกิดความเสียหายและตนเอง สังคม และประเทศ ๒.สมาธิเป็นศูนย์กลางของกำลังฝ่ายลบล้างอารมณ์ ประกอบด้วยกองกำลังทั้ง ๗ ระงับอารมณ์ได้

70 ๕. วิทิสาสมาธิ หนังสือหลักสูตรครูสมาธิ เล่ม ๓ หน้า ๙๑-๙๕
ทบทวน จุดประสงค์ของการทำสมาธิ / อิริยาบท 4 การบริกรรม / ประโยชน์ของสมาธิ ธรรมชาติของอารมณ์ ในแต่ละวันบุคคลจะมีอารมณ์ต่างๆ เกิดขึ้นมากมาย เช่น ความพึงพอใจ ความดีใจ ความเสียใจ ความต้องการ ความโกรธ ความหลง ความเจ็บปวด ความผิดหวัง เป็นต้น ตลอดเวลาที่บุคคลอยู่ในสถานการณ์ใดสถานการณ์หนึ่ง บุคคลจะอยู่ภายใต้สิ่งเร้าและประสบการณ์ที่เขามีอยู่ ทำให้อารมณ์เปลี่ยนไปเปลี่ยนมา ดังนั้นอารมณ์จึงมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของบุคคล ไหนใครคิดว่าอารมณ์ เป็นสิ่งสำคัญบ้าง...ถูกต้องค่ะ อารมณ์ ถือเป็นสิ่งสำคัญมาก เรานั้นจะต้องตกอยู่ภายใต้อารมณ์ ตั้งแต่ตื่นนอน จนถึงเข้านอนกันเลยทีเดียว เรียกได้ว่ามีอารมณ์ทั้งวัน เรามาดูกันว่า คำว่า อารมณ์ นั้นคืออะไร หนังสือหลักสูตรครูสมาธิ เล่ม ๓ หน้า ๙๑-๙๕ เทปคำบรรยายพระธรรมมงคลญาณ พระอาจารย์หลวงพ่อวิริยังค์ สิรินฺธโร

71 ประเด็นการบรรยาย ๑. วิธีการทำวิทิสาสมาธิ ๒. สิ่งที่ได้รับจากการทำวิทิสาสมาธิ

72 จุดประสงค์ ของการทำสมาธิ
พลังจิต พลังจิต พลังจิต พลังจิต จุดประสงค์ ของการทำสมาธิ คือ สะสมพลังจิต

73 วิทิสาสมาธิ วิธีง่ายที่สุด เหมาะกับทุกคน เพิ่ม พลังจิต

74 เดือนละ ๖ ชม. ถือว่าพอใช้ได้
วิธีทำวิทิสาสมาธิ เดือนละ ๖ ชม. ถือว่าพอใช้ได้ ๑ เดือน ได้ ๔๕๐ นาที เช้า ๕ นาที กลางวัน เย็น ทำวันละ ๑๕ นาที

75 สถานที่ทำวิทิสาสมาธิ
๑. สถานที่ใดก็ได้ จะเป็นห้องน้ำ ห้องนอน หรือที่ใดก็สุดแล้วแต่ความสะดวก ๒. เพียงนั่งบริกรรม พุทโธๆๆ ๕ นาที แต่ละครั้งก็ใช้ได้ พุทโธ พุทโธ

76

77 สิ่งที่ได้รับจากการทำวิทิสาสมาธิ
ทำสมาธิสม่ำเสมอ สิ่งที่ได้รับจากการทำวิทิสาสมาธิ ควบคุมจิตใจได้ พลังจิต

78 สิ่งที่ได้รับจากการทำวิทิสาสมาธิ
๑. ชำระล้างจุดดำ ๒. เก็บสะสมพลังจิต ๓. ความสุข ๔. สุขภาพใจ หนังสือครูสมาธิ เล่ม ๒ หน้า ๙๒ , หน้า ๙๓ และ หน้า ๙๔

79 สรุป ๑.วิทิสาสมาธิ เป็นสมาธิแบบง่ายที่สุด เพียงทำครั้งละ ๕ นาที ทำ ๓ ครั้ง ต่อวัน ๒. เพื่อให้ทำสมาธิอย่างสม่ำเสมอ มีพลังจิตพอที่จะควบคุมจิตใจได้

80 ขออนุโมทนาบุญกับผู้เข้ารับการฝึกอบรมทุกท่านค่ะ


ดาวน์โหลด ppt ประวัติผู้บรรยาย ชื่อ - นามสกุล : นางสาวสุมาลี จำเริญ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google