งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่

2 ความเป็นมา พ.ศ. 2475 พ.ศ. 2503 พ.ศ. 2539 ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ระเบียบความรับผิดชอบของข้าราชการในทางแพ่ง พรบ. ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ.2539 รับผิดตาม ปพพ. (จงใจ/ประมาทเลินเล่อ) รับผิดเต็มจำนวน รับผิดอย่างลูกหนี้ร่วม ฟ้องล้มละลายได้ รับผิดเฉพาะกรณีจงใจ/ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง หักส่วนความรับผิดโดยอาจไม่เต็มจำนวนความเสียหายก็ได้ รับผิดเฉพาะส่วนของตนเท่านั้น ฟ้องล้มละลายไม่ได้ (ข้อ 27 ของระเบียบสำนักนายกฯ)

3 รัฐ เอกชน เจ้าหน้าที่ เจตนารมณ์ของกฎหมาย
เพื่อเรียกชดใช้เงินจากเจ้าหน้าที่ผู้กระทำผิด เพื่อเยียวยาความเสียหายให้แก่ ผู้เสียหายจากการทำละเมิดของ เจ้าหน้าที่ ให้ความเป็นธรรมและเพิ่มพูนประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของรัฐ

4 พรบ. ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
หน่วยงานของรัฐ คำนิยามที่สำคัญ การทำละเมิดต่อเอกชน (บุคคลภายนอก) การทำละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่

5 การทำละเมิดต่อเอกชน/ บุคคลภายนอก

6 การทำละเมิดต่อเอกชน/บุคคลภายนอก
ปฏิบัติหน้าที่ นอกเหนือปฏิบัติหน้าที่ หน่วยงานของรัฐรับผิด/ ถูกฟ้อง แทนเจ้าหน้าที่ ฟ้องกระทรวงการคลัง (ม.5) ความรับผิด ทางละเมิดของหน่วยงาน ของรัฐ หน่วยงานของรัฐไม่ต้องรับผิด /ถูกฟ้อง (ม.6) ปฏิบัติหน้าที่ 1. หน้าที่ตามที่กำหนดใน แบบบรรยายลักษณะงาน 2. หน้าที่ตามกฎหมาย หรือระเบียบ เช่น ระเบียบฯพัสดุ กำหนดให้ คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ มีหน้าที่ ตรวจรับพัสดุให้ถูกต้องครบถ้วนตามหลักฐานที่ ตกลงกันไว้ ในกรณีที่เห็นว่าพัสดุที่ส่งมอบ มีรายละเอียดไม่เป็นไปตามข้อกำหนดในสัญญาหรือข้อตกลง ให้รายงานหัวหน้าส่วนราชการผ่านหัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ หรือ คณะกรรมการตรวจการจ้างมีหน้าที่ ตรวจสอบรายงานการปฏิบัติงานของผู้รับจ้าง และเหตุการณ์แวดล้อมที่ผู้ควบคุมงานรายงาน โดยตรวจสอบกับแบบรูปรายการละเอียด และข้อกำหนดในสัญญาทุกสัปดาห์ กรณีมีข้อสงสัยหรือมีกรณีที่เห็นว่า ตามหลักวิชาการช่างไม่น่าจะเป็นไปได้ ให้ออกตรวจงานจ้าง ณ สถานที่ที่กำหนดไว้ในสัญญาหรือที่ตกลงให้ทำ งานจ้างนั้นๆ โดยให้มีอำนาจสั่งเปลี่ยนแปลงแก้ไขเพิ่มเติม หรือตัดทอนงานจ้างได้ตามที่เห็นสมควรและตามหลักวิชาการช่างเพื่อให้เป็นไปตามแบบรูปรายการละเอียดและข้อกำหนดในสัญญา ในกรณีที่เห็นว่าผลงานที่ส่งมอบทั้งหมดหรืองวดใดก็ตามไม่เป็นไปตามแบบรูปรายการละเอียดและข้อกำหนดในสัญญา ให้รายงานหัวหน้าส่วนราชการผ่านหัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุเพื่อทราบ หรือสั่งการ แล้วแต่กรณี หรือ คณะกรรมการเก็บรักษาเงินมีหน้าที่ ร่วมกันตรวจสอบตัวเงิน และเอกสารแทนตัวเงินกับรายงานเงินคงเหลือประจำวัน เมื่อปรากฏว่าถูกต้องแล้ว ให้เจ้าหน้าที่การเงินนำเงิน และเอกสารแทนตัวเงินเก็บรักษาในตู้นิรภัย และให้กรรมการเก็บรักษาเงินทุกคนลงลายมือชื่อในรายงานเงินคงเหลือประจำวันไว้เป็นหลักฐาน ลงลายมือชื่อในรายงานเงินคงเหลือประจำวันแล้วให้ผู้อำนวยการกองคลังหรือเจ้าหน้าที่การเงินเสนอหัวหน้าส่วนราชการเพื่อทราบ 3. ไม่ได้มีหน้าที่แต่ผู้บังคับบัญชาสั่ง เช่น การทำสัญญา อ.837/2555 การขับรถ อ.219/2556 ตัวอย่าง เป็นการปฏิบัติหน้าที่หรือไม่ เจ้าหน้าที่โทรศัพท์ อ.264/50 รถจอดหน้าบ้านหาย อ231/49

7 กรณีละเมิดในการปฏิบัติหน้าที่-บุคคลภายนอกเสียหาย
รถยนต์เฉี่ยวชน/เกิดอุบัติเหตุ รถยนต์บุคคลภายนอก เสียหาย บุคคลภายนอกเสียหาย (บาดเจ็บ/ตาย) การรักษาพยาบาล เช่น แพ้ยา จ่ายยาให้คนไข้ผิดคน ให้เลือดคนไข้ผิดกลุ่มเลือด แพทย์ทำหมันโดยไม่บอกคนไข้

8 ตัวอย่างการละเมิดที่มิใช่เป็นการปฏิบัติหน้าที่
1. นำรถราชการไปใช้ส่วนตัว แล้ว - รถคว่ำ (ไม่มีคู่กรณี)/รถชนกัน /รถถูกโจรกรรม - รถชนบุคคลภายนอก ตาย/บาดเจ็บ 2.นำทรัพย์สินราชการไปใช้ส่วนตัวแล้ว - ชำรุดเสียหาย/สูญหาย - ถูกโจรกรรม - ลักทรัพย์สินทางราชการ 3. การรักษาพยาบาล ที่ทำส่วนตัว

9 การทำละเมิดต่อเอกชน/บุคคลภายนอก (ต่อ)
ฟ้องเจ้าหน้าที่ / หน่วยงานของรัฐ ฟ้องผิด ฟ้องใหม่ได้ ภายใน 6 เดือน อายุความการใช้สิทธิ 1 ปี / 10 ปี (ป.พ.พ. ม.448) สิทธิการดำเนินคดีของผู้เสียหาย Company Logo

10 การทำละเมิดต่อเอกชน/บุคคลภายนอก (ต่อ)
การร้องขอให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทน ผู้เสียหาย หน่วยงานของรัฐ มาตรา 5 ออกใบรับคำขอเป็นหลักฐาน พิจารณาภายใน 180 วัน ขยายไม่เกิน 180 วัน (รายงาน ร.ม.ต.) Company Logo

11 ขั้นตอนการยื่นคำขอและการพิจารณา ค่าสินไหมทดแทน กรณี บุคคลภายนอกยื่นคำขอให้หน่วยงาน ของรัฐชดใช้ ค่าสินไหม ทดแทนจากการกระทำละเมิดของ เจ้าหน้าที่ (หนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค / ว 12 ลงวันที่ กุมภาพันธ์ 2558) กำหนดขั้นตอนการยื่นคำขอ การพิจารณาค่าสินไหมทดแทน แบบคำขอให้หน่วยงานของรัฐชดใช้ค่าสินไหม ทดแทน และใบรับคำขอ

12 ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง หลักเกณฑ์การชดใช้ค่าสินไหมทดแทน กรณีเจ้าหน้าที่ของรัฐกระทำละเมิดต่อบุคคลภายนอก ลงวันที่ ๓ ตุลาคม ๒๕๕๔ ประกาศ ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๘ ตอนพิเศษ ๑๒๖ ง วันที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๕๔ ๑. ความเสียหายหรือสูญหายแก่ทรัพย์สิน -กรณีเป็นเงินให้ชดใช้เป็นเงินตามจำนวนที่เสียหาย -กรณีเป็นทรัพย์สินอื่น ก.ราคาสุทธิหลังหักค่าเสื่อม หรือ ข.ใช้ค่าซ่อมให้กลับสู่สภาพเดิมก่อนเสียหาย

13 ประกาศกระทรวงการคลัง (ต่อ)
2. ความเสียหายแก่ร่างกายหรือชีวิต -ค่ารักษาพยาบาล จ่ายจริงและจำเป็นรายละไม่เกิน 50,000 บาท -ค่าขาดประโยชน์ ก.รายได้ไม่แน่นอน อัตราค่าจ้างขั้นต่ำ ไม่เกินวันละ 300 บาท ไม่เกิน 60 วัน หรือ ข.รายได้แน่นอน ไม่เกิน 2 เดือน เดือนละไม่เกิน 15,000 บาท -ค่าชดเชยสูญเสียอวัยวะหรือสมรรถภาพในการทำงาน อนุโลมใช้ตามกฎกระทรวงฯ พรบ.สงเคราะห์ผู้ประสบภัยเนื่องจากการช่วยเหลือราชการฯ พ.ศ แต่ไม่เกิน 100,000 บาท

14 ประกาศกระทรวงการคลัง (ต่อ)
-ค่าปลงศพและจัดการศพ จ่ายจริงไม่เกิน 40,000 บาท -ค่าขาดอุปการะ ทายาทคนละ 20,000 บาท ถ้าจะจ่ายเกินกว่านี้ ให้ขอตกลงกระทรวงการคลังเป็นรายกรณี ประกาศกระทรวงการคลัง (ต่อ)

15 การทำละเมิดต่อเอกชน/บุคคลภายนอก (ต่อ)
ประมาท 1. เจ้าหน้าที่ กระทำโดยจงใจ/ประมาท เลินเล่ออย่างร้ายแรง (ม.8 วรรค 1) สิทธิไล่เบี้ย ของหน่วยงานของรัฐ 2. คำนึงถึงความร้ายแรงแห่งการกระทำ และความเป็นธรรม (ม.8 วรรค 2) 3. หักส่วนความเสียหาย (ม.8 วรรค 3) จงใจ 4. ไม่นำหลักเรื่องลูกหนี้ร่วมมาใช้บังคับ (ม.8 วรรค 4) ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง Company Logo

16 การกระทำ ที่มิได้กระทำโดยเจตนา
“ประมาท” การกระทำ ที่มิได้กระทำโดยเจตนา 1 2 แต่กระทำโดยปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจะต้องมีตามวิสัย และพฤติการณ์ 3 และผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวังเช่นว่านั้นได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่ Company Logo

17 “ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง”
มีลักษณะไปในทางที่บุคคลนั้น ได้กระทำ ไปโดยขาดความระมัดระวัง 1 2 ที่เบี่ยงเบนไปจากเกณฑ์มาตรฐานอย่างมาก เช่น พึงคาดเห็นได้ว่าความเสียหายอาจเกิดขึ้นได้ หรือ หากระมัดระวังสักเล็กน้อย ก็คงคาดเห็น การอันอาจเกิดความเสียหายเช่นนั้น ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง เช่น พึงคาดหมายได้ว่าอาจก่อให้เกิดความเสียหายขึ้น และหากใช้ความระมัดระวังแม้เพียงเล็กน้อยก็อาจป้องกันมิให้เกิดความเสียหายได้ แต่กลับมิได้ใช้ความระมัดระวังเช่นว่านั้นเลย (อ.10/2552) หรือ เป็นการกระทำโดยประมาทขาดความระมัดระวังที่เบี่ยงเบนไปจากมาตรฐานอย่างมากเมื่อเปรียบเทียบกับการกระทำโดยประมาทเลินเล่อ (อ.749/2555) หรือ เป็นการกระทำซึ่งบุคคลพึงคาดหมายได้ว่าอาจก่อให้เกิดความเสียหายขึ้นได้ แต่หากได้มีการใช้ความระมัดระวังแม้เพียงเล็กน้อยก็อาจป้องกันมิให้ความเสียหายเกิดขึ้นได้ แต่ผู้กระทำกลับมิได้ใช้ความระมัดระวังเช่นว่านั้นเลย (อ.749/2555) ตัวอย่าง เรื่อง ผู้จัดการโครงการมอบกุญแจให้เจ้าหน้าที่โครงการทุกคนถือ (เล่าข้อเท็จจริง) การมอบกุญแจให้เจ้าหน้าที่โครงการทุกคนถือเป็นการกระทำที่เบี่ยงเบนไปจากเกณฑ์มาตรฐานซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นต้องมีตามภาวะวิสัยและพึงใช้ความระมัดระวังให้มากได้ (อ.354/2555) (ที่ นร 0601/87 ลงวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2540) Company Logo

18 “ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง”
ไม่ได้ใช้ความระมัดระวังเลยสักนิด ทำผิดซ้ำๆในเรื่องแบบเดียวกัน ปฏิบัติผิดมาตรฐานวิชาชีพ ฝ่าฝืนกฎหมาย/ระเบียบ กฎหมาย/ระเบียบ กำหนด วิธีปฏิบัติไว้ แต่ไม่ได้ทำ หรือปฏิบัติตามนั้น Company Logo

19 การทำละเมิดต่อเอกชน/บุคคลภายนอก (ต่อ)
หน่วยงานของรัฐ/เจ้าหน้าที่ ชดใช้ ค่าสินไหมทดแทนให้แก่ผู้เสียหาย อายุความการใช้สิทธิไล่เบี้ย (ม.9) - 1 ปี นับแต่วันชดใช้ค่าสินไหมทดแทน Company Logo

20 การกระทำละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐ

21 กรณีละเมิดในการปฏิบัติหน้าที่-รัฐเสียหาย
1 รถราชการเสียหาย/สูญหาย รถคว่ำ(ไม่มีคู่กรณี)/ รถชนกัน /รถถูกโจรกรรม ทรัพย์สินราชการ ชำรุดเสียหาย/ถูกโจรกรรม ทุจริตยักยอกเงินของทางราชการ เพลิงไหม้ การจัดซื้อ/จัดจ้าง เบิกจ่ายเงินราชการไม่ถูกต้องตาม กม./ระเบียบ คดีขาดอายุความ : สัญญา/สิทธิเรียกร้อง 2 3 4 5 6 7

22 การกระทำละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐ
กรณีเจ้าหน้าที่กระทำในการปฏิบัติหน้าที่ กรณีเจ้าหน้าที่กระทำมิใช่การปฏิบัติหน้าที่ รับผิดลักษณะลูกหนี้ร่วมได้ กระทำประมาทเลินเล่อ บังคับตาม ป.พ.พ บังคับตาม ม โดยอนุโลม Company Logo

23 การกระทำละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐ (ต่อ)
อายุความการเรียก ชดใช้ค่าเสียหาย 2 ปี นับแต่วันที่หน่วยงานของรัฐ รู้ถึงการละเมิด และรู้ตัวเจ้าหน้าที่ ผู้จะพึงต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทน 1 ปี นับแต่วันที่หน่วยงานของรัฐ มีคำสั่งตามความเห็นของกระทรวงการคลัง ปฏิบัติหน้าที่ ไม่ได้ปฏิบัติหน้าที่ Company Logo

24 การเรียกให้เจ้าหน้าที่ชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
กรณีเจ้าหน้าที่ปฏิบัติหน้าที่ ละเมิดต่อเอกชน/ บุคคลภายนอก (ม.8) ละเมิดต่อหน่วยงาน ของรัฐ (ม.10 + ม.8) ออกคำสั่งเรียกให้ชดใช้ (คำสั่งทางปกครอง) ละเมิด ดูว่าขณะทำเป็นเจ้าหน้าที่หรือไม่ แม้ภายหลังทำละเมิดจะมีการโอน ย้าย ตาย เกษียณ ก็เรียกให้รับผิดได้ ถ้าตายก่อนออกคำสั่ง ฟ้องทายาทภายในอายุความมรดก คือภายใน ๑ นับแต่เมื่อเจ้าหนี้ได้รู้หรือควรได้รู้ถึงความตายของเจ้ามรดก แต่ไม่ให้เกิน 10 ปีนับแต่เจ้ามรดกตาย ตาม ป.พ.พ. มาตรา 1754 ถ้าตายหลังออกคำสั่งบังคับตามคำสั่งทางปกครองกับทรัพย์มรดกที่ตกแก่ทายาทได้เลย คำสั่งทางปกครองต้องใช้สิทธิอุทธรณ์ภายใน 15 วันนับแต่ได้รับแจ้งคำสั่ง เมื่อไม่พอใจถึงจะมีสิทธินำคดีไปฟ้องศาลปกครองขอให้เพิกถอนคำสั่งภายใน 90 วัน โดยหน่วยงานต้องแจ้งสิทธิอุทธรณ์หรือสิทธิฟ้องคดี กรณีไม่แจ้ง ให้ขยายเวลาเป็น 1 ปี นับแต่ได้รับคำสั่ง แต่ถ้าครั้งแรกลืมแจ้ง ต่อมาได้แจ้งใหม่ ก็นับเวลานับแต่ได้รับแจ้งใหม่ ใช้มาตรการทางปกครอง (พ.ร.บ.วิ ปกครอง ม.57- ยึด/อายัดทรัพย์สิน) อุทธรณ์คำสั่งทางปกครอง Company Logo

25 ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติเกี่ยวกับ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ และที่แก้ไขเพิ่มเติม

26 ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติเกี่ยวกับ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 แจ้งคำสั่งแก่เจ้าหน้าที่พร้อมสิทธิฟ้องคดีและอายุความฟ้องคดี ออกคำสั่งให้เจ้าหน้าที่ชดใช้ตามความเห็นของกระทรวงการคลัง ส่งสำนวนให้กระทรวงการคลังตรวจสอบและพิจารณา ผู้แต่งตั้งวินิจฉัยว่ามีผู้รับผิดหรือไม่ เท่าใด แต่ยังไม่แจ้งเจ้าหน้าที่ คณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดเสนอความเห็นไปยังผู้แต่งตั้ง รวบรวมหลักฐานและให้ผู้เกี่ยวข้องชี้แจง แต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด ขั้นตอนดำเนินการให้รับผิดเมื่อเกิดความเสียหาย Company Logo

27 ที่มา นิยามสำคัญ เจ้าหน้าที่ ความเสียหาย ผู้แต่งตั้ง
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติเกี่ยวกับ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 ที่มา เจ้าหน้าที่ ความเสียหาย ผู้แต่งตั้ง เจ้าหน้าที่หมายความตามคำวิเคราะห์ศัพท์มาตรา 4 ระเบียบสำนักนายกฯ ความเสียหาย หมายถึงความเสียหายที่เกิดจากการละเมิดทั่ว ๆไป แต่ไม่รวมถึงการออกคำสั่งหรือกฎ เช่น ผู้ว่ามีคำสั่งปลดผู้ใหญ่บ้าน ถือเป็นการออกคำสั่งหากมีการเรียกร้องขึ้นมาไม่ต้องตั้งกรรมการสอบละเมิด ผู้แต่งตั้ง คือ หัวหน้าหน่วยงานของรัฐต่าง ๆ หรือผู้ที่ได้รับมอบอำนาจให้ตั้งกรรมการสอบละเมิด นิยามสำคัญ Company Logo

28 กรณีเจ้าหน้าที่กระทำละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐ
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติเกี่ยวกับ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 หมวด 1 หมวด 2 กรณีเจ้าหน้าที่กระทำละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐ กรณีเจ้าหน้าที่กระทำละเมิดต่อบุคคลภายนอก Company Logo

29 หมวด 1 กรณีเจ้าหน้าที่กระทำละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐ
1. กระทรวง ทบวง กรม (ส่วนกลาง+ภูมิภาค) 2.ท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานอื่นฯ Company Logo

30 การดำเนินการเมื่อหน่วยงานของรัฐเกิดความเสียหาย
รายงานผู้บังคับบัญชาตามลำดับ สอบข้อเท็จจริงเบื้องต้น แต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด หากเกิดความเสียหายขึ้นแก่หน่วยงานของรัฐไม่ว่ากรณีใด ให้รีบรายงานผู้บังคับบัญชาโดยด่วน หากเป็นเรื่องที่ยุ่งยากหรือยังไม่แน่นอน หัวหน้าหน่วยงานอาจตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงเบื้องต้นก่อนก็ได้ Company Logo

31 การแต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด
มีเหตุอันควรเชื่อว่าความเสียหาย เกิดจากการกระทำของเจ้าหน้าที่ กรรมการ จำนวนไม่เกิน 5 คน กำหนดวัน แล้วเสร็จ กค. ประกาศกำหนดจำนวน ความเสียหาย/ผู้แทนหน่วยงาน ร่วมเป็นกรรมการ

32 การแต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด (ต่อ)
กรณีร่วมกันแต่งตั้งคณะกรรมการ เจ้าหน้าที่หน่วยงานของรัฐทำความเสียหายแก่หน่วยงานของรัฐอีกแห่งหนึ่ง หน่วยงานของรัฐมากกว่าหนึ่งแห่งได้รับความเสียหาย เกิดการทำละเมิดของเจ้าหน้าที่ หลายหน่วยงาน ข้อ 10 ข้อ 11 หากเจ้าหน้าที่หลานหน่วยงานมากระทำละเมิดซึ่งกันและกันแล้วเกิดความเสียหายขึ้นแก่หน่วยงานของรัฐจะต้องดำเนินการตั้ง่คณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับทางละเมิดร่วมกัน โดยมาตกลงกันว่าหน่วยงานใดจะเป็นผู้ออกคำสั่งแต่งตั่งกรรมการ เมื่อตกลงกันได้ก็ให้ออกคำสั่งตั้งกรรมการ โดยเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานทุกแห่งต้องมาเป็นกรรมการร่วมกัน ผู้ลงนามแต่งตั้งกรรมการต้องลงนามแต่งตั้งกรรมการในฉบับเดียวกัน การออกคำสี่งเรียกให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทน จะต้องออกโดยหน่วยงานผู้ได่รับความเสียหายเท่านั้น ข้อ 11

33 การแต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด (ต่อ)
เมื่อผู้มีอำนาจแต่งตั้ง แต่งตั้งคณะกรรมการ หรือ เห็นว่าไม่มีเหตุที่จะแต่งตั้งคณะกรรมการ เมือเกิดความเสียหายเกิดขึ้นเนื่องจากการกรทำของเจ้าหน้าที่ แต่ผู้มีอำนาจแต่งตั้งไม่รีบตั้ง กก.ละเมิดหรือแต่งตั้งแต่แต่งตั้งผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับเรื่องมาเป็นกรรมการหรือตั้งผู้ไม่มีความรู้เกี่ยวกับเรื่องที่จะสอบสวนมาเป็น กก. ผู้บังคับบัญชาชั้นเหนือขึ้นไปหรือผู้ควบคุมกำกับดูแลอาจจะดำเนินการแต่งตั้งเองหรือเปลี่ยนตัว กก.ได้ รายงานผู้บังคับบัญชาหรือผู้กำกับดูแลหรือควบคุม การปฏิบัติงานของผู้มีอำนาจแต่งตั้ง เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง

34 การแต่งตั้ง กก.ละเมิดถูกต้อง/ชอบด้วยกฎหมาย
การดำเนินการของผู้บังคับบัญชาหรือผู้กำกับดูแล หรือควบคุมการปฏิบัติงานของผู้มีอำนาจแต่งตั้ง การแต่งตั้ง กก.ละเมิดถูกต้อง/ชอบด้วยกฎหมาย มีอำนาจแต่งตั้ง อ้างกฎหมาย หรือระเบียบ ที่เกี่ยวข้อง

35 การแต่งตั้ง กก.ละเมิดถูกต้อง/ชอบด้วยกฎหมาย
การดำเนินการของผู้บังคับบัญชาหรือผู้กำกับดูแล หรือควบคุมการปฏิบัติงานของผู้มีอำนาจแต่งตั้ง (ต่อ) การแต่งตั้ง กก.ละเมิดถูกต้อง/ชอบด้วยกฎหมาย ตั้ง กก.ไม่เกินจำนวนที่กฎหมายหรือระเบียบกำหนด ( 5 คน) ไม่แต่งตั้งผู้เกี่ยวข้อง/มีส่วนได้เสียเป็น กก. แต่งตั้ง กก.ร่วม

36  1. ให้สั่งแก้ไขใหม่ให้ถูกต้อง
การดำเนินการของผู้บังคับบัญชาหรือผู้กำกับดูแล หรือควบคุมการปฏิบัติงานของผู้มีอำนาจแต่งตั้ง (ต่อ) หากเห็นว่าผู้มีอำนาจแต่งตั้ง แต่งตั้งคณะกรรมการไม่ถูกต้อง หรือ  ไม่แต่งตั้งคณะกรรมการ 1. ให้สั่งแก้ไขใหม่ให้ถูกต้อง 2. ถ้าไม่แก้ไขใหม่ภายในเวลาอันสมควร มีอำนาจแต่งตั้ง/เปลี่ยนแปลง(แทนผู้มีอำนาจแต่งตั้ง) ตามที่เห็นสมควร เมือเกิดความเสียหายเกิดขึ้นเนื่องจากการกรทำของเจ้าหน้าที่ แต่ผู้มีอำนาจแต่งตั้งไม่รีบตั้ง กก.ละเมิดหรือแต่งตั้งแต่แต่งตั้งผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับเรื่องมาเป็นกรรมการหรือตั้งผู้ไม่มีความรู้เกี่ยวกับเรื่องที่จะสอบสวนมาเป็น กก. ผู้บังคับบัญชาชั้นเหนือขึ้นไปหรือผู้ควบคุมกำกับดูแลอาจจะดำเนินการแต่งตั้งเองหรือเปลี่ยนตัว กก.ได้

37 การแต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด (ต่อ)
กรณีหัวหน้าหน่วยงานมีส่วน ทำให้เกิดความเสียหาย ให้ผู้บังคับบัญชาหรือผู้กำกับดูแลหรือควบคุมการปฏิบัติงานของหัวหน้าหน่วยงานของรัฐ มีอำนาจแต่งตั้งคณะกรรมการ เมือเกิดความเสียหายเกิดขึ้นเนื่องจากการกรทำของเจ้าหน้าที่ แต่ผู้มีอำนาจแต่งตั้งไม่รีบตั้ง กก.ละเมิดหรือแต่งตั้งแต่แต่งตั้งผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับเรื่องมาเป็นกรรมการหรือตั้งผู้ไม่มีความรู้เกี่ยวกับเรื่องที่จะสอบสวนมาเป็น กก. ผู้บังคับบัญชาชั้นเหนือขึ้นไปหรือผู้ควบคุมกำกับดูแลอาจจะดำเนินการแต่งตั้งเองหรือเปลี่ยนตัว กก.ได้

38 การแต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด (ต่อ)
ข้อยกเว้น ไม่มีเหตุอันควรเชื่อว่าเกิดจาก การกระทำของเจ้าหน้าที่ รายงานผู้บังคับบัญชา เห็นด้วย : ยุติเรื่อง ชดใช้ค่าเสียหายครบถ้วน ไม่เห็นด้วย : แต่งตั้งคณะกรรมการ สอบข้อเท็จจริง ความรับผิดทางละเมิด

39 หน้าที่คณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด
กรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของกรรมการทั้งหมด (ข้อ 13) 1 ประธานไม่อยู่ให้เลือกกรรมการคนใดคนหนึ่งทำหน้าที่แทน 2 มติที่ประชุมถือเสียงข้างมาก/ไม่เห็นด้วยให้ทำความเห็นแย้งไว้ (ข้อ 14) 3 ตรวจสอบข้อเท็จจริง รวมรวมพยานหลักฐานพยานบุคคล/ผู้เชี่ยวชาญ 4 ความหมายชัดเจนไม่ต้องอธิบายเพิ่มเติม ตรวจสอบเอกสาร / วัตถุ / สถานที่ 5

40 หน้าที่คณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด
ต้องให้โอกาสแก่ผู้เสียหายได้ชี้แจง (ข้อ 15) 6 เสนอความเห็นให้ผู้แต่งตั้งพิจารณา โดยมีข้อเท็จจริง/กฎหมาย /พยานหลักฐาน (ข้อ 16) 7 สอบสวนให้แล้วเสร็จภายในกำหนดเวลา 8 การให้ชี้แจงต้องบอกไปด้วยว่า ให้นำเอกสารหลักฐานมาโต้แย้งได้

41 การดำเนินการของผู้มีอำนาจแต่งตั้ง
ไม่ผูกพันความเห็น ของคณะกรรมการฯ (ข้อ 16) ขอให้กรรมการสอบเพิ่มเติมหรือทบทวนได้ ให้ส่งผลให้ กค.ตรวจสอบภายใน 7 วัน ให้วินิจฉัยว่ามีผู้ใดต้องรับผิด/เป็นจำนวนเท่าใด *** ยังไม่ต้องแจ้งให้ผู้รับผิดทราบ (ข้อ 17) ความเห็นของกรรมการสอบละเมิดผู้แต่งตั้งไม่จำเป็นต้องเห็นตามเห็นเป็นอย่างอื่นได้และหากสำนวนไม่สมบูรณ์ก็มีสิทธิให้กรรมการสอบเพิ่มเติมหริอทบทวนได้ แต่ต้องระวังอย่าให้ขาดอายุความ ระหว่างรอผล กค. ให้ตระเตรียม ออกคำสั่ง/ฟ้องคดี *** มิให้ขาดอายุความ 2 ปี

42 การดำเนินการของผู้มีอำนาจแต่งตั้ง (ต่อ)
หาก กค.มิได้แจ้งผลภายใน 1 ปี หรือ 1 ปี 6 เดือน เมื่อกระทรวง การคลังแจ้งผลแล้ว ให้ดำเนินการ ***ให้มีคำสั่งตามที่เห็นสมควร เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดตาย มีคำสั่งตามความเห็น กระทรวงการคลัง ข้อ 18 ระเบียบฯ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2559 *** ให้รีบดำเนินการภายในอายุความมรดก

43 ข้อยกเว้น สำนวนที่ไม่ต้องส่งให้ กค. ตรวจสอบ(ประกาศ กค.) สาเหตุ วงเงิน
ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ที่ไม่ต้องรายงานให้กระทรวงการคลังตรวจสอบ ลงวันที่ 20 พฤษภาคม 2552 (กค /ว 49 ลว.15 มิ.ย. 2552) สาเหตุ วงเงิน การวินิจฉัย ส่วนราชการ หน่วยงานอื่น ทั่วไป <=500,000 <=1,000,000 - >500,000 >1,000,000 ชดใช้ 75% ทุจริต <=200,000 <=400,000 >200,000 >400,000 คนทุจริต % ผู้เกี่ยวข้อง 100% ไม่ปฏิบัติ ตามระเบียบ อธิบายสำนวนไม่ต้องส่ง กค.ในหน้าต่อไป เมื่อ กค แจ้งผลแล้ว หากหน่วยงานเป็นราชการส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจหรือหน่วยงานอื่นของรัฐ ผู้แต่งตั่งไม่ต้องสั่งตาม กร.ก็ได้ ให้สั่งตามที่เห็นว่าถูกต้อง

44 การพิจารณาของกระทรวงการคลัง
ตรวจสอบพยาน หลักฐานที่เกี่ยวข้อง ให้มี คณะกรรมการพิจารณา ความรับผิดทางแพ่ง” เป็นผู้พิจารณา ให้ความเห็นต่อกระทรวงการคลัง (ข้อ 21) ให้บุคคล มาชี้แจงเพิ่มเติม ให้รับฟังพยาน หลักฐานเพิ่มเติม ในการวินิจฉัยสำนวนละเมิดของกระทรวงการคลังจะมีคณะกรรมการพิจารณาความรับผิดทางแพ่งเป็นผู้พิจารณาแล้วส่งให้กระทรวงการคลังให้ความเห็น คณะกรรมการดังกล่าวประกอบด้วย คณะกรรมการโดยตำแหน่ง คือ อธิบดีกรมบัญชีกลาง ผู้แทนสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ผู้แทนสำนักงานอัยการสูงสุดและผู้แทนสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน และยังมีคณะกรรมการที่ปลัดกระทรวงการคลังแต่งตั้งอีกจำนวนหนึ่ง อำนาจหน้าที่ของกรรมการฯ ใช้เช่นเดียวกับกรรมการสอบละเมิด

45 ถ้าเป็นเงิน ชดใช้เป็นเงิน ถ้าเป็นสิ่งของ ถ้าซ่อม
การชดใช้ค่าเสียหาย ถ้าเป็นเงิน ชดใช้เป็นเงิน ต้องชดใช้เป็นสิ่งของที่มีสภาพ คุณภาพ ปริมาณ และลักษณะอย่างเดียวกัน ถ้าเป็นสิ่งของ ต้องทำสัญญาตกลง และซ่อมให้แล้วเสร็จโดยเร็ว(6 เดือน) ถ้าซ่อม ถ้าชดใช้เป็นสิ่งของต้องแต่งตั้งกรรมการตรวจรับพัสดุ ตามระเบียบพัสดุฯ ด้วย หากเจ้าหน้าที่ขอชดใช้ต่างจากทรัพย์สินที่เสียหายหรือสูญหาย เช่น ทำคอมพิวเตอร์แบบพกพาสูญหายแต่จะขอใช้เป็นกล้องดิจิตอล ซึ่งมีราคาเท่ากันหรือมากกว่า ต้องขอตกลงกับกระทรวงการคลังก่อน ถ้าชดใช้ต่างจาก ทรัพย์สินที่เสียหาย หรือสูญหาย ต้องทำความตกลงกับกระทรวงการคลัง

46 เจ้าหน้าที่สามารถผ่อนชำระได้ตามหลักเกณฑ์ ของกระทรวง การคลัง ว115
การผ่อนชำระเงิน ห้ามฟ้องล้มละลาย ในกรณีที่ไม่มีเงินผ่อนชำระ เว้นแต่เข้าเงื่อนไขข้อ 27 แห่งระเบียบฯ หากไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังกล่าว ให้ทำ ความตกลงกับกระทรวง การคลังเป็นกรณีไป เจ้าหน้าที่สามารถผ่อนชำระได้ตามหลักเกณฑ์ ของกระทรวง การคลัง ว115 การผ่อนชำระหนี้กรณีละเมิดให้ปฏิบัติตาม ว 115 หากปฏิบัตินอกเกณฑ์ ว 115 ให้ขอตกลงกับกระทรวงการคลัง แต่อย่างไรก็ตามหากเจ้าหน้าที่ไม่มีเงินผ่อนชำระหนี้และเข้าเกณฑ์ฟ้องล้มละลายได้ ห้ามหน่วยงานของรัฐฟ้องล้มละลายเจ้าหน้าที่ เว้นแต่เข้าข้อ 27 แห่งระเบียบ คือเจ้าหน้าที่ประพฤติชั่วอย่างร้ายแรง เช่น แกล้งให้ตนเองเป็นหนี้ ยักย้ายถ่ายเททรัพย์สิน ติดการพนัน เป็นต้น หากมีพฤติการณ์ดังกล่าวสามารถฟ้องล้มละลายได้

47 ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง หลักเกณฑ์การปฏิบัติเกี่ยวกับการผ่อนชำระหนี้ของเจ้าหน้าที่ ลงวันที่ 19 กันยายน 2545 (กค /ว 115 ลว.18 พ.ย. 2545) เงื่อนไข/วงเงิน จำนวนเงินผ่อน ชำระต่อเดือน ระยะเวลาใน การผ่อนชำระ อัตราดอกเบี้ย ขอผ่อนชำระภายใน 1 ปี ไม่จำกัดวงเงินที่ผ่อนชำระ ไม่เกิน 1 ปี ไม่คิดดอกเบี้ย วงเงินผ่อนชำระ ไม่เกิน 500,000 บาท ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 20 ของเงินเดือน ไม่เกิน 5 ปี ร้อยละ 7.5 ต่อปี เกินกว่า 500,000 บาท ไม่เกิน 10 ปี อธิยายตามตารางได้เลย

48 หมวด 2 กรณีเจ้าหน้าที่กระทำละเมิดต่อบุคคลภายนอก
กระทรวง ทบวง กรม (ส่วนกลาง+ภูมิภาค) ไม่รวมถึงราชการส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ หมวด 2 ข้อ 20 “หน่วยงานของรัฐ” หมายความว่า กระทรวง ทบวง กรม หรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่น และมีฐานะ เป็นกรม และราชการส่วนภูมิภาค แต่ไม่รวมถึงราชการส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ ดังนั้น เจ้าหน้าที่ของรัฐที่กระทำละเมิด จึงไม่บังคับใช้กับเจ้าหน้าที่ของท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐ ความหมายของบุคคลภายนอก คำอธิบายอยู่ที่ หน้า ความหมายของละเมิด คำอธิบายอยู่ที่ หน้า

49 การดำเนินการเมื่อเจ้าหน้าที่ทำให้บุคคลภายนอกได้รับความเสียหาย
เจ้าหน้าที่ได้กระทำในการปฏิบัติหน้าที่ รายงาน ผู้บังคับบัญชา ตามลำดับ ดำเนินการ ตามหมวด 1 โดยอนุโลม ระเบียบฯ ข้อ 31 ในกรณีที่เจ้าหน้าที่ทำให้เกิดความเสียหายต่อบุคคลภายนอก ถ้าเจ้าหน้าที่ผู้นั้นเห็นว่าความเสียหายเกิดขึ้นเนื่องในการที่ตนได้กระทำในการปฏิบัติหน้าที่ ให้เจ้าหน้าที่ผู้นั้น แจ้งต่อผู้บังคับบัญชาโดยไม่ชักช้า และให้มีการรายงานตามลำดับชั้นถึงหัวหน้าหน่วยงานของรัฐแห่งนั้น แต่ในกรณีเจ้าหน้าที่เป็นรัฐมนตรี หรือกรรมการที่ตั้งขึ้น เพื่อปฏิบัติงานให้หน่วยงานงานของรัฐ หรือผู้ซึ่งไม่สังกัดหน่วยงานของรัฐแห่งใด หรือผู้ซึ่งไม่มีผู้บังคับบัญชาให้ดำเนินการตาม ข้อ 9(1) (2) (3) หรือ (4) และให้นำข้อ 8 ถึงข้อ 20 มาบังคับใช้โดยอนุโลม ดังนั้น เมื่อเกิดความเสียหายขึ้นกับบุคคลภายนอกที่เกิดจากเจ้าหน้าที่ กระทำในการปฏิบัติหน้าที่ให้เจ้าหน้าที่รีบรายงานผู้บังคับบัญชาตามลำดับ เพื่อดำเนินการ สั่งการตามอำนาจหน้าที่ต่อไป และให้นำหมวด 1 คือ หมวดเจ้าหน้าที่กระทำ ละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐมาใช้บังคับกับการละเมิดบุคคลภายนอกโดย อนุโลม คำอธิบาย เทียบเคียง หน้า

50 การดำเนินการกรณีผู้เสียหาย (บุคคลภายนอก) ยื่นคำขอให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
ผู้รับคำขอ หน่วยงานต้นสังกัด ของเจ้าหน้าที่ กระทรวงการคลัง (กรณีมิได้สังกัดหน่วยงานใด) แต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด กรณีต้องชดใช้ ให้ปฏิบัติตามที่ กค. กำหนด กรณีไม่ต้องชดใช้ = ยังไม่ได้รับความเสียหาย การรับคำขอ - เมื่อเจ้าหน้าที่กระทำละเมิดต่อบุคคลภายนอก บุคคลภายนอกอาจมายื่นคำขอต่อหน่วยงานต้นสังกัดของเจ้าหน้าที่ผู้กระทำละเมิดได้และหน่วยงานของรัฐพิจารณาดำเนินการต่อไปโดยเร็ว - ส่วนเจ้าหน้าที่ที่ไม่ได้สังกัดหน่วยงานของรัฐแห่งใด ให้ยื่นคำขอหรือฟ้องคดีกระทรวงการคลัง เช่น คณะกรรมการการเลือกตั้งเป็นเจ้าหน้าที่ไม่มีสังกัด ให้ฟ้องกระทรวงการคลัง - กรณีผู้เสียหายยื่นคำขอผิดหน่วยงาน ให้หน่วยงานผู้รับคำขอรีบส่งเรื่องไปยังหน่วยงานของรัฐที่เห็นว่าเป็นหน่วยงานของรัฐที่จะต้อง รับผิดชอบพิจารณาต่อไป พร้อมแจ้งให้ผู้ยื่นคำขอทราบ และให้ถือว่าหน่วยงานของรัฐได้รับคำขอให้ชดใช้ค่าสินไหม นับแต่วันที่ได้รับคำขอที่ส่งมา การแต่งตั้งกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด - เมื่อหน่วยงานได้รับคำขอและเห็นว่าเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับตนให้แต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงทางละเมิด เมื่อพิจารณาว่าต้องชดใช้หรือไม่ หากต้องชดใช้ให้ปฏิบัติตาม หลักเกณฑ์การชดใช้ค่าสินไหมทดแทน กรณีเจ้าหน้าที่ของรัฐกระทำละเมิดต่อบุคคลภายนอก ดังนี้ 1) ค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายหรือสูญหายแก่ทรัพย์สิน ถ้าความเสียหายเกิดแก่เงินให้ใช้เป็นเงินตามจำนวนความเสียหายที่เกิดขึ้น ถ้าเป็นความเสียหายเกิดแก่ทรัพย์สินอื่นให้ใช้ราคาสุทธิหลังหักค่าเสื่อมราคาแล้ว หรือใช้ค่าซ่อมเพื่อให้ทรัพย์สินนั้นกลับคืนสู่สภาพเดิม โดยมีหลักฐาน เช่น ภาพถ่ายของทรัพย์สินที่เสียหาย ค่าซ่อมตามใบเสร็จรับเงินของบริษัท ห้างหรือร้านที่ทำการซ่อม และใบกำกับภาษีเป็นต้น และให้คณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดมีหน้าที่กำหนดจำนวนเงินค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายหรือสูญหาย แก่ทรัพย์สินนั้นตามความเหมาะสมและเป็นธรรม แล้วนำเสนอให้หัวหน้าหน่วยงานของรัฐผู้แต่งตั้งพิจารณาสั่งการต่อไป ทั้งนี้ ในการคำนวณค่าเสื่อมราคา ทรัพย์สินเพื่อให้ได้ราคาทรัพย์สินสุทธิ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์การคำนวณค่าเสื่อมราคาทรัพย์สินที่กระทรวงการคลังกำหนดในการเรียกให้ผู้ต้องรับผิดทางละเมิดชดใช้ค่าเสียหายให้แก่ทางราชการ โดยอนุโลม 2) ค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายแก่ร่างกายหรือชีวิต - ค่ารักษาพยาบาลเท่าที่จ่ายจริงไม่เกิน 50,000 บาท - ค่าขาดประโยชน์ทำมาหาได้ในระหว่างเจ็บป่วย ก. กรณีผู้เสียหายไม่มีรายได้ประจำ ให้ชดใช้ความเสียหายตามช่วงเวลาที่ผู้เสียหายไม่สามารถไปทำงานได้ โดยคำนวณตามอัตราค่าจ้าง ขั้นต่ำรายวันตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน ตามเขตจังหวัดซึ่งเป็นภูมิลำเนาของผู้เสียหาย ณ วันที่ได้รับความเสียหาย ไม่เกินวันละ บาท ตามจำนวนวันที่แพทย์มีหนังสือรับรองให้หยุดรักษาตัวแต่ไม่เกิน 60 วัน ข. กรณีผู้เสียหายที่มีรายได้ประจำ หากระหว่างเจ็บป่วยไม่สามารถไปทำงานได้และไม่ได้รับค่าจ้างหรือค่าตอบแทนจากนายจ้าง ให้ชดใช้ความเสียหายตามช่วงเวลาที่ผู้เสียหายไม่สามารถไปทำงานได้ โดยคำนวณตามอัตราค่าจ้างหรือค่าตอบแทนที่นายจ้างหรือหน่วยงาน ต้นสังกัดจ่ายให้ ณ วันที่ได้รับความเสียหาย ไม่เกินเดือนละ 15,000 บาท ตามจำนวนวันที่แพทย์รับรองให้หยุดรักษาตัว แต่ไม่เกิน 2 เดือน - ค่าชดเชยการสูญเสียอวัยวะหรือสมรรถภาพในการทำงาน ไม่เกิน 100,000 บาท - ค่าใช้จ่ายในการจัดการศพไม่เกิน 40,000 บาท - ค่าขาดไร้อุปการะ ให้ทายาทคนละไม่เกิน 20,000 บาท ทั้งนี้ ให้หัวหน้าหน่วยงานของรัฐเจ้าของงบประมาณที่ต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทนพิจารณาให้ความเห็นชอบภายใน 15 วัน นับแต่วันที่ได้รับ รายงานผลการสอบสวน พร้อมทั้งแจ้งผลการพิจารณาวินิจฉัยแก่ผู้ยื่นคำขอทราบโดยเร็ว จากนั้นให้เบิกจ่ายเงินเพื่อชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่ผู้ยื่นคำขอภายใน 7 วัน นับแต่วันที่ผู้ยื่นคำขอตอบรับผลการวินิจฉัย กรณีผู้ยื่นคำขอยังไม่พอใจในผลการวินิจฉัยมีสิทธิฟ้องคดีต่อศาลยุติธรรมหรือศาลปกครองที่มีอำนาจพิจารณาคดีภายใน 90 วัน นับตั้งแต่วันที่ผู้ยื่นคำขอได้รับแจ้งผลการวินิจฉัย การชดใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการละเมิดนั้นมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้ถูกกระทำละเมิดกลับคืนสู่สภาพเดิมได้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้ส่วนสิทธิของข้าราชการและลูกจ้างหน่วยงานของรัฐในการที่จะเบิกค่ารักษาพยาบาลนั้นเป็นสวัสดิการที่หน่วยงานของรัฐจัดให้แก่ข้าราชการ และลูกจ้างที่ปฏิบัติงานให้แก่ตนซึ่งเป็นสิทธิคนละส่วน และมีวัตถุประสงค์ที่แตกต่างกับความเสียหายในเรื่องละเมิด โดยในกรณีทั่วไปผู้กระทำละเมิด ยังคงต้องรับผิดในผลของการกระทำละเมิดนั้นเต็มจำนวนค่าเสียหายที่เกิดจากการละเมิดนั้น จะนำค่ารักษาพยาบาลที่ได้รับในส่วนนี้มาหักออกจาก ค่าสินไหมทดแทนอันจะพึงได้รับจากการกระทำละเมิดไม่ได้ หลักเกณฑ์ รูปแบบคำขอ ใบรับคำขอ เป็นไปตาม หนังสือ กค /ว 12 ลงวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2558

51 การดำเนินการกรณีผู้เสียหาย (บุคคลภายนอก)ฟ้องคดีต่อศาล
กรณีไม่ได้ปฏิบัติหน้าที่ กรณีปฏิบัติหน้าที่ เรียกเจ้าหน้าที่ เข้ามาเป็นคู่ความ อัยการแถลงศาลให้กันเจ้าหน้าที่ออกมา ถ้าผลคดีทางราชการแพ้ -ไล่เบี้ยเจ้าหน้าที่ตามเกณฑ์หมวด 1 (จงใจ-ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง) ในกรณีที่ผู้เสียหายฟ้องคดีต่อศาลให้หน่วยงานของรัฐประสานกับสำนักงานอัยการสูงสุด เพื่อเตรียมการต่อสู้คดีและหากผลการพิจารณาในเบื้องต้น ปรากฎว่าความเสียหายเกิดจากเจ้าหน้าที่มิได้กระทำในการปฏิบัติหน้าที่ ให้เรียกเจ้าหน้าที่ผู้นั้นเข้ามาเป็นคู่ความด้วย แต่หากเจ้าหน้าที่กระทำการ ในการปฏิบัติหน้าที่แล้วถูกฟ้องคดี ให้หัวหน้าหน่วยงานแต่งตั้งคณะกรรมการสอบละเมิดเพื่อให้ทราบว่าเจ้าหน้าที่ปฏิบัติหน้าที่หรือไม่เท่านั้น หากหัวหน้าหน่วยงานพิจารณาถึงที่สุดแล้วเห็นว่าเจ้าหน้าที่ปฏิบัติหน้าที่ ให้ส่งเรื่องถึงอัยการโดยแนบสำนวนสอบสวนไปด้วย เพื่อให้อัยการ แถลงศาลกันตัวเจ้าหน้าที่ออกมาจากคดี ในระหว่างรอการพิจารณาของศาลก็ให้อัยการดำเนินการช่วยเหลือเกี่ยวกับคดีให้แก่เจ้าหน้าที่ของเราด้วย ถ้าทางราชการแพ้คดีและต้องชดใช้เงินให้แก่บุคคลภายนอกให้ดำเนินการไล่เบี้ยเจ้าหน้าที่ภายใน 1 ปี นับแต่จ่ายเงินไป แต่ต้องได้ความว่าเจ้าหน้าที่ กระทำการด้วยความจงใจหรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงเท่านั้นจึงจะไล่เบี้ยได้ ประมาทเลินเล่อธรรมดาไล่เบี้ยไม่ได้ หากเจ้าหน้าที่ได้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่บุคคลภายนอกไปก่อนแล้ว โดยผลพิจารณาเป็นที่ยุติว่าเจ้าหน้าที่มิได้กระทำการนั้นไปโดยจงใจ หรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง เจ้าหน้าที่ก็มีสิทธิไล่เบี้ยให้หน่วยงานของรัฐชดใช้ค่าสินไหมทดแทนจำนวนดังกล่าวภายหลังได้

52 ขั้นตอนดำเนินการเมื่อเกิดความเสียหาย
รายงานผู้บังคับบัญชา แต่งตั้ง กก.สอบข้อเท็จจริงเบื้องต้น แต่งตั้ง กก.สอบละเมิด กก.ละเมิดรายงานผลการสอบสวน ผู้แต่งตั้งวินิจฉัย สั่งการ ส่งสำนวนให้กระทรวงการคลัง มีผู้ต้องรับผิดหรือไม่ จำนวนเท่าใด ลงลายมือชื่อ วันเดือน ปี ท้ายรายงาน กก. จำนวนไม่เกิน 5 คน ไม่แต่งตั้งผู้มีส่วนได้เสียเป็นกรรมการ แต่งตั้ง กก.ร่วม ต้องลงนามร่วมกัน ผู้แต่งตั้งไม่มีส่วนได้เสีย คณะกรรมการพิจารณาความรับผิดทางแพ่ง ตรวจสอบพยานหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ให้บุคคลมาชี้แจงเพิ่มเติม ให้รับฟังพยานหลักฐานเพิ่มเติม ออกคำสั่งหลังส่งสำนวนให้ กค. (ข้อ 17) ออกเมื่อ กค.แจ้งผลแล้ว (ข้อ 18) แจ้งผล การพิจารณา ออกคำสั่ง กระทรวงการคลัง ยึด/อายัดทรัพย์ภายใน 10 ปี

53 ตารางแสดงขั้นตอนดำเนินการตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ และระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ กรณีเห็นว่า ความเสียหายมิได้เกิดจากการกระทำของเจ้าหน้าที่ ต้องรายงานผู้บังคับบัญชาเพื่อ พิจารณาว่าสมควรตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดหรือไม่ (ข้อ ๑๒) รายงาน หัวหน้าหน่วยงานของรัฐ(แต่งตั้งคณะ กรรมการสอบข้อเท็จจริงเบื้องต้น) ๑. เกิดความเสียหาย กรณีเห็นว่า ความเสียหายเกิดจากการกระทำของเจ้าหน้าที่ ก็ให้ตั้ง คณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด ไม่ได้ปฏิบัติหน้าที่ รับผิดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ๒. คณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด จงใจหรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง รับผิดตาม พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิดฯ ปฏิบัติหน้าที่ ประมาทเลินเล่อ ไม่ต้องรับผิด มีผู้รับผิดหรือไม่ ๓. ผู้แต่งตั้งวินิจฉัยสั่งการ ส่งสำนวนการสอบสวนให้กระทรวงการคลังภายใน ๗ วัน นับแต่วันวินิจฉัยสั่งการ จำนวนเท่าใด ส่วนราชการต้องพิจารณาให้แล้วเสร็จก่อนอายุความ ๒ ปีสิ้นสุดลงไม่น้อยกว่า ๖ เดือน ๔. กระทรวงการคลัง คณะกรรมการพิจารณาความรับผิดทางแพ่ง ส่วนท้องถิ่นและรัฐวิสาหกิจต้องพิจารณาให้แล้วเสร็จก่อนอายุความ ๒ ปี สิ้นสุดลงไม่น้อยกว่า ๑ ปี ๕. กระทรวงการคลัง คณะกรรมการพิจารณาความรับผิดทางแพ่ง หน่วยงานของรัฐมีคำสั่งตามความเห็นของกระทรวงการคลัง กรณีปฏิบัติหน้าที่ ออกคำสั่งทางปกครอง ๖. หน่วยงานของรัฐ ผู้ต้องรับผิด ผู้ต้องรับผิดไม่พอใจคำสั่ง ให้ฟ้องศาลปกครอง กรณีไม่ใช่ปฏิบัติหน้าที่ ฟ้องคดีต่อศาล ภายในอายุความ ๒ ปี

54 หลักการแบ่งส่วนความรับผิด
เจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้อง แบ่งส่วนความรับผิดอย่างไร 1 2

55 การจัดซื้อจัดจ้าง 55

56 แนวทางการกำหนดสัดส่วนความรับผิด : ด้านการจัดซื้อจัดจ้าง
แนวทางการกำหนดสัดส่วนความรับผิด : ด้านการจัดซื้อจัดจ้าง ลักษณะความเสียหาย จัดซื้อ/จัดจ้างราคาแพง คณะกรรมการ ผู้เกี่ยวข้อง (ตรวจสอบ/เสนอความเห็น) ผู้บังคับบัญชาชั้นต้น-กลาง ผู้บังคับบัญชาชั้นสูง วิธีจัดซื้อ/จัดจ้าง ไม่ถูกต้อง กก.พิจารณาผล 60% ฝ่ายพัสดุ 20% ผู้ผ่านงาน 10% ผู้อนุมัติ ราคากลาง สูงเกินจริง กก.กำหนดราคากลาง 70% 15% 5% ไม่เลือกผู้เสนอราคาต่ำสุด กก.เปิดซอง/กก.พิจารณาผล 56 หมายเหตุ : หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค /ว66 ลงวันที่ 25 กันยายน 2550

57 แนวทางการกำหนดสัดส่วนความรับผิด : ด้านการจัดซื้อจัดจ้าง
แนวทางการกำหนดสัดส่วนความรับผิด : ด้านการจัดซื้อจัดจ้าง ลักษณะความเสียหาย ตรวจการจ้าง/ ตรวจรับ ไม่ถูกต้อง คณะกรรมการ ผู้เกี่ยวข้อง (ตรวจสอบ/เสนอความเห็น) ผู้บังคับบัญชาชั้นต้น-กลาง ผู้บังคับบัญชาชั้นสูง ก่อสร้างไม่เป็นตามแบบ กก.ตรวจการจ้าง 30% ผู้ควบคุมงาน 50% ผู้ผ่านงาน 10% ผู้อนุมัติ ส่งของไม่ตรงตามสัญญา กก.ตรวจรับ 60% ฝ่ายพัสดุ 20% 57 หมายเหตุ : หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค /ว66 ลงวันที่ 25 กันยายน 2550

58 แนวทางการกำหนดสัดส่วนความรับผิด : ด้านการจัดซื้อจัดจ้าง
แนวทางการกำหนดสัดส่วนความรับผิด : ด้านการจัดซื้อจัดจ้าง ลักษณะความเสียหาย ไม่เรียกค่าปรับ คณะกรรมการ ผู้เกี่ยวข้อง (ตรวจสอบ/เสนอความเห็น) ผู้บังคับบัญชาชั้นต้น-กลาง ผู้บังคับบัญชาชั้นสูง ไม่เรียกค่าปรับกรณีส่งมอบล่าช้า กก.ตรวจรับ 70% ฝ่ายพัสดุ 10% ผู้ผ่านงาน ผู้อนุมัติ 58 หมายเหตุ : หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค /ว66 ลงวันที่ 25 กันยายน 2550

59 คำนวณราคากลางไม่ถูกต้อง
ที่ถูกต้อง กรรมการคำนวณ ทำสัญญา เสียหายหรือไม่ 2,500,000 2,300,000 ไม่เสียหาย 2,500,000 2,600,000 ไม่เสียหาย 2,500,000 2,600,000 เสียหาย 100,000

60 การแบ่งส่วนความรับผิด
ใช้ Factor F ผิดปี จ้างแพง 100,000 กก.กำหนดราคากลาง 70% 70,000 จนท.ฝ่ายพัสดุ ทำความเห็นเสนอผู้อนุมัติ 15% 15,000 ผู้อนุมัติ ให้ใช้ราคากลางทำสัญญา 15% 15,000

61 การแบ่งส่วนความรับผิด (ต่อ)
คำนวณราคาต่อหน่วยเกินจริง จ้างแพง 100,000 กก.กำหนดราคากลาง 100% จนท.ฝ่ายพัสดุ ทำความเห็นเสนอผู้อนุมัติ - ผู้อนุมัติ ให้ใช้ราคากลางทำสัญญา -

62 กรรมการตรวจรับไม่ถูกต้อง
ก่อสร้างถนน ทำสัญญา 800 ม. 500,000 ก่อสร้างจริง 700 ม. ผู้ควบคุมงาน/ กก.ตรวจรับ ครบถ้วนถูกต้อง ความเสียหาย 100 ม. 62,500 แบ่งส่วนความรับผิด กก.ตรวจรับ ผู้ควบคุมงาน ขรก. 30% (2 คนๆละ 15%) 60% (2 คนๆละ 30%) ปชช.10% (2 คนๆละ 5%)

63 กรรมการตรวจรับไม่ถูกต้อง (ต่อ)
ก่อสร้างถนน (ต่อ) ทำสัญญา 800 ม. 500,000 ก่อสร้างจริง ใช้หิน+ทรายไม่ครบ กก.ตรวจรับ ครบถ้วนถูกต้อง ความเสียหาย หิน+ทราย 62,500 แบ่งส่วนความรับผิด กก.ภาคราชการ 100% (4 คนๆละส่วน) กก.ประชาคม 2 คน 0% เรื่องเทคนิค

64 การเงินการคลัง 64

65 แนวทางการกำหนดสัดส่วนความรับผิด : ด้านการเงินการคลัง
ลักษณะความเสียหาย ใช้เงินผิดระเบียบ คณะกรรมการ ผู้เกี่ยวข้อง (ตรวจสอบ/เสนอความเห็น) ผู้บังคับบัญชาชั้นต้น-กลาง ผู้บังคับบัญชาชั้นสูง ไม่นำเงินรายได้เข้าบัญชีที่เกี่ยวข้อง แต่นำไปใช้โดยผิดระเบียบ ฝ่ายการเงิน 20% ผู้ผ่านงาน 30% ผู้อนุมัติ 50% จ่ายเงินเกินสิทธิ/ไม่มีสิทธิ/ผิดระเบียบ 60% หมายเหตุ : หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค /ว66 ลงวันที่ 25 กันยายน 2550

66 แนวทางการกำหนดสัดส่วนความรับผิด : ด้านการเงินการคลัง
ลักษณะความเสียหาย ผู้ทุจริต คณะกรรมการ ผู้เกี่ยวข้อง (ตรวจสอบ/เสนอความเห็น) ผู้บังคับบัญชาชั้นต้น-กลาง ผู้บังคับบัญชาชั้นสูง ด้านรายรับ (รับเงินแล้วนำไป ใช้ส่วนตัว) 100% ฝ่ายการเงิน 60% ผู้ผ่านงาน 20% ผู้อนุมัติ ด้านการเก็บรักษาเงิน (ไม่นำเงินส่งคลัง) กก.เก็บรักษาเงิน 10% ด้านรายจ่าย (เบิกจ่ายเงินโดยทุจริต /ไม่มีหลักฐานการจ่าย) ด้านรายจ่าย (แก้ไขเงินในเช็ค) ผู้ลงนามในเช็ค หมายเหตุ : หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค /ว66 ลงวันที่ 25 กันยายน 2550

67 การใช้เงินผิดระเบียบ (ต่อ)
จ่ายเงินเกินสิทธิ / ไม่มีสิทธิ / ผิดระเบียบ* ผู้บังคับบัญชา ชั้นสูง/ผู้อนุมัติ 20 % ผู้บังคับบัญชา ชั้นต้น-กลาง/ผู้ผ่านงาน 20 % 60 % ฝ่ายการเงิน *มีงบประมาณแล้ว แต่จ่ายผิดระเบียบหรือเกินสิทธิ ที่ควรได้รับ

68 การทุจริตทางการเงินหรือทรัพย์สิน
รับเงินแล้วไม่ออกใบเสร็จ/แก้ไข/ปลอม ใบเสร็จ ผู้บังคับบัญชาชั้นสูง/ผู้อนุมัติ (ผู้เกี่ยวข้อง) 20 % ผู้ทุจริต ผู้บังคับบัญชา ชั้นต้น-กลาง/ผู้ผ่านงาน (ผู้เกี่ยวข้อง) 100 % 20 % 60 % ฝ่ายการเงิน (ผู้เกี่ยวข้อง)

69 การทุจริตทางการเงินหรือทรัพย์สิน (ต่อ)
ออกใบเสร็จแล้วไม่นำเงินส่ง ผู้บังคับบัญชาชั้นสูง/ผู้อนุมัติ (ผู้เกี่ยวข้อง) 10 % ผู้ทุจริต กก.เก็บรักษาเงิน (ผู้เกี่ยวข้อง) ผู้บังคับบัญชา ชั้นต้น-กลาง/ผู้ผ่านงาน (ผู้เกี่ยวข้อง) 10 % 60 % 100 % ไม่ปฏิบัติหน้าที่ 20 % ฝ่ายการเงิน (ผู้เกี่ยวข้อง)

70 การทุจริตทางการเงินหรือทรัพย์สิน (ต่อ)
ออกใบเสร็จแล้วไม่นำเงินส่ง (ต่อ) ผู้บังคับบัญชาชั้นสูง/ผู้อนุมัติ (ผู้เกี่ยวข้อง) 20 % ผู้ทุจริต กก.เก็บรักษาเงิน (ผู้เกี่ยวข้อง) ผู้บังคับบัญชา ชั้นต้น-กลาง/ผู้ผ่านงาน (ผู้เกี่ยวข้อง) 20 % -- % 100 % ปฏิบัติหน้าที่ครบถ้วนแล้ว 60 % ฝ่ายการเงิน (ผู้เกี่ยวข้อง)

71 การทุจริตทางการเงินหรือทรัพย์สิน (ต่อ)
ไม่นำเงินฝากคลังหรือธนาคารให้ครบจำนวนตามระเบียบ กลับนำไปใช้ส่วนตัว ผู้บังคับบัญชาชั้นสูง/ผู้อนุมัติ (ผู้เกี่ยวข้อง) 20 % ผู้ทุจริต ผู้บังคับบัญชา ชั้นต้น-กลาง/ผู้ผ่านงาน (ผู้เกี่ยวข้อง) 100 % 20 % 60 % ฝ่ายการเงิน (ผู้เกี่ยวข้อง)

72 การทุจริตทางการเงินหรือทรัพย์สิน (ต่อ)
เบิกจ่ายเงินโดยทุจริต (ไม่มีหลักฐานการจ่าย) ผู้บังคับบัญชาชั้นสูง/ผู้อนุมัติ (ผู้เกี่ยวข้อง) 20 % ผู้ทุจริต ผู้บังคับบัญชา ชั้นต้น-กลาง/ผู้ผ่านงาน (ผู้เกี่ยวข้อง) 100 % 20 % 60 % ฝ่ายการเงิน (ผู้เกี่ยวข้อง)

73 การทุจริตทางการเงินหรือทรัพย์สิน (ต่อ)
เบิกจ่ายเงินโดยทุจริต (ทำหลักฐานการจ่ายเท็จ/แก้ไขเอกสารการเบิกจ่าย) ผู้บังคับบัญชาชั้นสูง/ผู้อนุมัติ (ผู้เกี่ยวข้อง) *ถ้าผู้อนุมัติปล่อยปละละเลย/มีการทุจริตต่อเนื่อง ให้ปรับสัดส่วนเป็น 60:20:20 -- % ผู้ทุจริต ผู้บังคับบัญชา ชั้นต้น-กลาง/ผู้ผ่านงาน (ผู้เกี่ยวข้อง) 100 % 40 % 60 % ฝ่ายการเงิน (ผู้เกี่ยวข้อง)

74 การทุจริตทางการเงินหรือทรัพย์สิน (ต่อ)
แก้ไขหรือเติมจำนวนเงินในเช็ค/ใบถอนเงิน ให้สูงขึ้น ผู้ลงนามในเช็ค/ใบถอนเงิน (ผู้เกี่ยวข้อง) ผู้ทุจริต 100 % 100 %* *กรณีไม่ปฏิบัติตามระเบียบ เช่น ลงนามล่วงหน้า เว้นช่องว่างข้างหน้า ไม่ขีดคร่อม ฯลฯ -ถ้าลงนามหลายคนแบ่งคนละส่วนเท่า ๆ กัน

75 แนวทางการกำหนดสัดส่วนกรณีการดำเนินโครงการไม่ชอบ
1. ขั้นตอนการเสนอโครงการ กำหนดสัดส่วนให้รับผิด 60 % แบ่งเป็น 1.1 ผู้เกี่ยวข้องกับการเสนอ 30 % - ผู้จัดทำโครงการ - ผู้รับผิดชอบโครงการ - ผู้เสนอโครงการ 1.2 ผู้กลั่นกรอง/เสนอความเห็น 20 % - ฝ่ายพัสดุ - ฝ่ายการเงิน - ผู้เห็นชอบโครงการ 1.3 ผู้อนุมัติโครงการ 10 % รับผิดส่วนเท่าๆกัน รับผิดส่วนเท่าๆกัน

76 แนวทางการกำหนดสัดส่วนกรณีการดำเนินโครงการไม่ชอบ (ต่อ)
2. ขั้นตอนการเบิกจ่ายเงิน กำหนดสัดส่วนให้รับผิด 40 % แบ่งเป็น 2.1 ฝ่ายการเงิน 20 % 2.2 ผู้กลั่นกรอง/เสนอความเห็น 10 % 2.3 ผู้อนุมัติเบิกจ่ายเงิน 10 %

77 อุบัติเหตุ 77

78 แนวทางการกำหนดสัดส่วนความรับผิด : ด้านการจัดซื้อจัดจ้าง
แนวทางการกำหนดสัดส่วนความรับผิด : ด้านการจัดซื้อจัดจ้าง ลักษณะความเสียหาย พนักงานขับรถ ฝ่าฝืนกฎหมายเกี่ยวกับการจราจร 100% ฝ่าฝืนและมีเหตุปัจจัยภายนอกประกอบด้วย 50% (แก้ไขจาก 75%) ฝ่าฝืน และคู่กรณีมีส่วนประมาท 50% 78 หมายเหตุ : หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค /ว66 ลงวันที่ 25 กันยายน 2550

79 อุบัติเหตุ ฝ่าฝืนกฎหมายจราจร /ด้วยความจงใจหรือ ประมาทร้ายแรง* 100 % 50 % พนักงานขับรถ พนักงานขับรถ *กระทำโดยประมาทเพียง ฝ่ายเดียวหรือโดยลำพัง คู่กรณีมีส่วนประมาท ร่วมอยู่ด้วย

80 อุบัติเหตุ (ต่อ) ฝ่าฝืนกฎหมายจราจร --มีเหตุปัจจัยภายนอกประกอบด้วย* 50 % พนักงานขับรถ *เช่น มิได้มีตำแหน่งหน้าที่โดยตรงเป็นพนักงานขับรถ ไม่ชำนาญเส้นทาง สภาพถนนหรือทัศนวิสัยไม่ดี สภาพยานพาหนะก่อนนำมาใช้ไม่สมบูรณ์ มีความจำเป็นเร่งด่วน - ขับรถพยาบาลนำส่งผู้บาดเจ็บ

81 ความเสี่ยงและข้อควรระวังความรับผิดทางละเมิด

82 การจัดซื้อจัดจ้าง 82

83 ขั้นตอนจัดซื้อจัดจ้าง
จัดซื้อจัดจ้างได้ราคาแพงกว่าที่ควรจะเป็น วิธีการจัดซื้อจัดจ้างไม่ถูกต้อง ไม่ใช้ราคากลางตาม พ.ร.บ จัดซื้อจัดจ้าง ใช้ค่า FACTOR F ไม่ถูกต้อง (ไม่เป็นปัจจุบัน/ ไม่ถูกต้องตามประเภท) ไม่ถอดแบบ แต่ใช้ราคาประเมินตอนตั้งงบประมาณ คำนวณปริมาณงานผิดพลาด 83

84 ขั้นตอนจัดซื้อจัดจ้าง
การแบ่งซื้อแบ่งจ้าง มีหลักเกณฑ์การพิจารณา ดังนี้ 1. มีการแบ่งวงเงินที่จะซื้อหรือจ้างในครั้งเดียวกันออกเป็นส่วนๆโดยไม่มีเหตุผล มีผลทำให้วิธีการซื้อหรือจ้างเปลี่ยนไป 2. มีการแบ่งวงเงินที่จะซื้อหรือจ้างในครั้งเดียวกันออกเป็นส่วนๆโดยไม่มีเหตุผล มีผลทำให้อำนาจในการสั่งซื้อ หรือ สั่งจ้างเปลี่ยนแปลงไปจากที่กำหนดไว้ในระเบียบ 84

85 ขั้นตอนการบริหารสัญญา
1 แก้ไขเปลี่ยนแปลงงวดงาน/สัญญา โดยไม่เป็นประโยชน์แก่ทางราชการ 2 คำนวณค่าปรับไม่ถูกต้อง 3 งดหรือลดค่าปรับหรือขยายเวลาทำการ กรณี ส่งมอบงาน/ของ ล่าช้า 85

86 ขั้นตอนการตรวจรับ ตรวจการจ้างก่อสร้างที่ไม่เป็นไปตามแบบรูปรายการ
1 ตรวจการจ้างก่อสร้างที่ไม่เป็นไปตามแบบรูปรายการ 2 ตรวจรับของที่ไม่ถูกต้องครบถ้วนตามสัญญา 3 ตรวจรับโดยไม่มีของ 4 ไม่ส่งมอบของภายในเวลาที่กำหนดตามสัญญา 86

87 ขั้นตอนการจำหน่ายพัสดุ
ผิดระเบียบ เช่น ตรวจสอบพัสดุประจำปีพบว่า พัสดุสูญหาย ไม่ตั้ง กก.สอบข้อเท็จจริงเบื้องต้น ก่อนจำหน่ายพัสดุเป็นสูญ ยกเว้น ทรัพย์สินเสียหายจากสถานการณ์ความไม่สงบใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ไม่ต้องตั้ง กก.ละเมิด ทรัพย์สินเสียหายจากเหตุการณ์ไม่สงบจากการชุมนุม ทางการเมือง ไม่ต้องตั้ง กก.ละเมิด แต่รายงานปลัดประทรวงพิจารณา 87

88 จะปฏิบัติหน้าที่อย่างไร จึงไม่ต้องรับผิด ทางละเมิด
จะปฏิบัติหน้าที่อย่างไร จึงไม่ต้องรับผิด ทางละเมิด 88

89 ทำงานพัสดุอย่างไรไม่ต้องรับผิด : ราคากลาง
ตรวจสอบเอกสารที่คณะกรรมการกำหนดราคากลางเสนอมาว่า ได้มีการคำนวณราคากลางโดยดำเนินการตามขั้นตอนถูกต้องครบถ้วนตามมติคณะรัฐมนตรี ระเบียบหรือหนังสือเวียนที่เกี่ยวข้องแล้วหรือไม่ ถ้ายังไม่ครบให้ทักท้วงไปคำนวณใหม่ หรือหาเอกสารอ้างอิง แล้วจึงผ่านงาน นำเสนอผู้บังคับบัญชาตามลำดับชั้น และอนุมัติใช้ราคากลางจัดซื้อจัดจ้างต่อไป ในฐานะเจ้าหน้าที่พัสดุ ผู้บังคับบัญชา ผู้ผ่านงานและผู้อนุมัติให้นำราคากลางไปดำเนินการขั้นตอนต่อไป หัวข้อ ทำงานพัสดุอย่างไรไม่ต้องรับผิด ในฐานะผู้บริหารเท่านั้น อย่าลงชื่อเห็นชอบให้ใช้ราคากลาง หากยังไม่ได้ตรวจสอบให้ครบถ้วนถูกต้องเด็ดขาด ประมาทร้ายแรง 89

90 ทำงานพัสดุอย่างไรไม่ต้องรับผิด : ตรวจรับ
ตรวจสอบเอกสารที่ผู้ควบคุมงานและ คกก.ตรวจการจ้างเสนอมาว่า ได้มีการก่อสร้างครบถ้วนถูกต้องตรงตามสัญญาและเอกสารแนบท้ายสัญญา รวมทั้งแบบแปลน แล้วหรือไม่ การปรับเพิ่มลดปริมาณงาน มูลค่างาน การขยายเวลา การปรับ ได้ดำเนินการตามขั้นตอนถูกต้องครบถ้วนตามมติ ครม.ระเบียบหรือหนังสือเวียนที่เกี่ยวข้องแล้วหรือไม่ ในฐานะเข้าหน้าที่พัสดุ ผู้บังคับบัญชา ผู้ให้ความเห็นชอบตามที่ผู้ควบคุมงานและคณะกรรมการตรวจการจ้างเสนอ หัวข้อ ทำงานพัสดุอย่างไรไม่ต้องรับผิด ในฐานะผู้บริหารเท่านั้น งานไม่เสร็จ อย่าอนุมัติไปก่อนแล้วให้มาทำงานย้อนหลังเด็ดขาด ประมาทร้ายแรง 90

91 ตรวจรับงานอย่างไรไม่ต้องรับผิด
ผู้ควบคุมงาน ออกไปตรวจหน้างานทุกวัน งานมากแค่ไหนก็ต้องทำ ทำไม่ได้ให้รายงานปัญหา บันทึกผลงานทุกวัน ทำรายงานทุกสัปดาห์ เขียนให้ละเอียดทุกอย่างที่ผู้รับจ้างทำ อย่าลอก สัญญาหรือใบส่งงานของผู้รับจ้างเพียงอย่างเดียว มีปัญหาให้รายงาน งานเพิ่ม งานลด รายงานและประชุมกับกรรมการตรวจการจ้าง ปรับเพิ่มลดงานแล้ว อย่าลืมปรับเพิ่มลดเงินด้วย ใช้ราคาตามสัญญามาปรับเพิ่มลด (อย่าใช้ราคาตอนคำนวณราคากลาง) เสนอผู้มีอำนาจอนุมัติแก้ไขสัญญาด้วย ขยายเวลาต้องมีเหตุตามระเบียบพัสดุ ถ้าไม่มีเหตุห้ามเสนอขยายเด็ดขาด ไม่แน่ใจสอบถามพัสดุ งานไม่เสร็จอย่าลงชื่อรับรองว่างานเสร็จเด็ดขาด ประมาทร้ายแรง ตรวจรับงานอย่างไรไม่ต้องรับผิด

92 ตรวจรับงานอย่างไรไม่ต้องรับผิด (ต่อ)
คณะกรรมการตรวจการจ้าง นอกจากจะตรวจรายงานของผู้ควบคุมงานแล้ว ต้องออกไปตรวจหน้างานเป็นระยะด้วย ความกว้าง ความยาว ของเสา กระเบื้อง อิฐ เหล็ก ฯลฯ ถ้าต่างจากสัญญาต้องทักท้วง รายงานปัญหา เสนอหนทางแก้ไข ตรวจสอบเอกสารภาคผนวกแนบท้ายสัญญา กับงานที่ผู้รับจ้างทำ ให้ครบถ้วนทุกงาน งานใดไม่ได้ทำต้องสั่งทำให้ครบหรือทักท้วง ถ้าทำไม่ได้ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญว่าสามารถ งด เพิ่มหรือลดปริมาณงานนั้นได้หรือไม่ งานไม่เสร็จ อย่าลงชื่อรับรองว่างานเสร็จเด็ดขาด ประมาทร้ายแรง

93 ตรวจรับงานอย่างไรไม่ต้องรับผิด (ต่อ)
เจ้าหน้าที่ฝ่ายพัสดุ ผู้บังคับบัญชาชั้นต้นผู้ผ่านงาน ผู้บังคับบัญชาชั้นสูง ตรวจสอบเอกสารที่ผู้ควบคุมงานและคณะกรรมการตรวจการจ้างเสนอมาว่า ได้มีการก่อสร้างครบถ้วนถูกต้องตรงตามสัญญาและเอกสารแนบท้ายสัญญา รวมทั้งแบบแปลน แล้วหรือไม่ การปรับเพิ่มลดปริมาณงาน มูลค่างาน การขยายเวลา การปรับ ได้ดำเนินการตามขั้นตอนถูกต้องครบถ้วนตามมติคณะรัฐมนตรี ระเบียบหรือหนังสือเวียนที่เกี่ยวข้องแล้วหรือไม่ งานไม่เสร็จ อย่าอนุมัติไปก่อนแล้วให้มาทำงานย้อนหลังเด็ดขาด ประมาทร้ายแรง

94 แนวทางการจ่ายเงิน ตามสัญญาโอนสิทธิเรียกร้อง
เมื่อหน่วยงานของรัฐทำสัญญาจ้าง หากคู่สัญญาได้ไปทำสัญญาโอนสิทธิเรียกร้อง และมีการบอกกล่าวการโอนสิทธิเรียกร้องมายังหน่วยงานของรัฐ ตาม ป.พ.พ. มาตรา 306 แล้ว หน่วยงานของรัฐต้องจ่ายเงินให้แก่ผู้รับโอนสิทธิเรียกร้องโดยตรงเท่านั้น หากมีการแจ้งยกเลิกสัญญาโอนสิทธิเรียกร้อง หน่วยงานของรัฐจะต้องตรวจสอบไปยังผู้รับโอนสิทธิเรียกร้องโดยตรงเสียก่อนว่า หน่วยงานของรัฐสามารถจ่ายเงินตามสัญญาไปยังผู้โอนสิทธิเรียกร้องได้หรือไม่

95 การเงินการคลัง 95

96 การกระทำผิดที่พบบ่อย : ด้านการเงินการคลัง ด้าน การเก็บรักษาเงิน
1 2 3 ด้าน การเก็บรักษาเงิน ด้านรายรับ ด้านรายจ่าย 96

97 วิธีการทุจริตที่พบบ่อย : ด้านรายรับ
รับเงินแล้วไม่ออกใบเสร็จรับเงิน แสดงตนว่ามีหน้าที่รับเงินรายได้แล้วยักยอกเงินไปใช้ส่วนตน ออกไปรับเงินนอกสถานที่แล้วยักยอกเงินไปใช้ ใช้สำเนาใบเสร็จรับเงินปลอมในการรับเงิน โดยพิมพ์ปลอมขึ้นเองทั้งฉบับ ใช้ใบเสร็จจริงของปีงบประมาณเก่าที่เก็บไว้ไม่ส่งคืน ใช้ใบเสร็จที่จัดซื้อจริงแต่ยักยอกบางส่วนไว้ไม่ลงทะเบียนคุมทั้งหมด แก้ไขจำนวนเงินในใบเสร็จรับเงินให้มีจำนวนเงินต่ำกว่าจำนวนเงินที่รับจริง 97

98 วิธีการทุจริตที่พบบ่อย : ด้านรายจ่าย
จัดทำคำขอเบิกเงิน หลักฐานการเบิกจ่าย และเช็ค โดยไม่มีหนี้ที่ต้องจ่ายจริง ลงนามสั่งจ่ายเช็คเกินกว่าจำนวนที่ต้องจ่ายจริง แก้ไขปลอมแปลงลายมือชื่อผู้สั่งจ่าย จัดทำหลักฐานการเบิกจ่ายเท็จ เช่น - หลักฐานการจ้างลูกจ้างชั่วคราวโดยมิได้มีการจ้างจริง - หลักฐานการจัดฝึกอบรมโดยไม่มีการฝึกอบรมจริง เบิกจ่ายเงินแล้วไม่นำเงินไปจ่ายให้แก่เจ้าหนี้ เช่น ค่าไฟฟ้า ค่าน้ำมัน 98

99 วิธีการทุจริตที่พบบ่อย : ด้านรายจ่าย
ทุจริตในระบบ GFMIS เช่น - ใช้รหัสของผู้มีอำนาจอนุมัติแก้ไขเปลี่ยนแปลงจำนวนเงินที่เบิกจ่าย - แก้ไขเปลี่ยนแปลงเลขที่บัญชีของเจ้าหนี้ให้เป็นบัญชีของตน - สร้างหลักฐานประกอบการจัดซื้อจัดจ้าง (PO) เป็นเท็จ - ทำรายงานถูกต้องครบถ้วน แต่ไม่โอนเงินเข้าบัญชีผู้มีสิทธิ กลับโอนเงินเข้าบัญชีตนเอง แล้วนำเงินที่เบิกรายการใหม่หมุนเวียนชดใช้รายการเดิมที่ทุจริตไป 99

100 วิธีการทุจริตที่พบบ่อย : ด้านการเก็บรักษาเงิน
ไม่จัดทำรายงานเงินคงเหลือประจำวัน คณะกรรมการเก็บรักษาเงินไม่ได้ปฏิบัติหน้าที่ เช่น - ไม่ลงนามในรายงานเงินคงเหลือประจำวัน - ไม่ได้ตรวจสอบตัวเงินกับหลักฐานแทนตัวเงินให้ถูกต้องตรงกัน - ไม่นำเงินเข้าเก็บในตู้นิรภัย 100

101 ควบคุมการรับเงินอย่างไรไม่ต้องรับผิด
กำกับดูแลให้ผู้ใต้บังคับบัญชาให้ควบคุมการใช้และเก็บรักษาใบเสร็จรับเงิน จัดทำทะเบียนคุมรับเงินโดยเคร่งครัด ให้ความสำคัญกับการตรวจสอบใบเสร็จรับเงินที่มีการยกเลิกเพื่อมิให้นำกลับมาใช้ซ้ำ หรือใช้ใบเสร็จของปีงบประมาณที่ผ่านมา ในฐานะผู้บังคับบัญชาผู้ผ่านงานและผู้อนุมัติ หัวข้อ ทำงานพัสดุอย่างไรไม่ต้องรับผิด ในฐานะผู้บริหารเท่านั้น ควรมีระเบียบและมาตรการเพื่อควบคุมตรวจสอบการออกไปรับเงินนอกสถานที่ 101

102 ควบคุมการเบิกจ่ายเงินอย่างไรไม่ต้องรับผิด
ตรวจสอบมูลหนี้ หลักฐานประกอบการเบิกจ่ายและผู้มีสิทธิรับเงินให้ถูกต้องก่อนลงนามสั่งจ่ายเช็คทุกครั้ง ห้ามลงลายมือชื่อสั่งจ่ายเช็คไว้ล่วงหน้าโดยยังมิได้มีการเขียนหรือพิมพ์ชื่อผู้รับเงิน วันที่ออกเช็คและจำนวนเงินที่สั่งจ่าย ในฐานะผู้บังคับบัญชาผู้ผ่านงานและผู้อนุมัติ ใช้ความระมัดระวังในการลงนามในเช็ค เช่น ต้องระบุชื่อเจ้าหนี้พร้อมขีดเส้นหลังชื่อเจ้าหน้าที่ไม่ให้มีช่องว่าง ขีดฆ่า “หรือผู้ถือ” ออก เขียนจำนวนเงินและตัวเลขให้ชิดคำว่า “บาท” ขีดเส้นกั้นหน้ากั้นหลังจำนวนเงินทั้งตัวเลขและตัวอักษรมิให้มีช่องว่างเติมจำนวนเงินได้ หัวข้อ ทำงานพัสดุอย่างไรไม่ต้องรับผิด ในฐานะผู้บริหารเท่านั้น 102

103 แนวทางการการเบิกจ่ายในระบบ GFMIS
เก็บรักษารหัสอนุมัติเป็นความลับ และปฏิบัติตามระเบียบอย่างเคร่งครัด ตรวจสอบรายงานสรุปการเบิกจ่ายเงิน ในระบบ GFMIS อย่างเคร่งครัด

104 ท่านจะลงนามในเช็ค ฉบับใด
คำถาม ท่านจะลงนามในเช็ค ฉบับใด A โมเดล:แบบทดสอบธรรมดา เวลา:26/2/ :22:50 ห้องเรียน:ห้องเรียนชั่วคราว คุณครู:คุณครูชั่วคราว วิชา:วิชาชั่วคราว ผลของคำตอบ ไม่มี:100%(100) อัตราที่ถูกต้อง:0% โมเดล:แบบทดสอบธรรมดา เวลา:19/3/ :49:32 ห้องเรียน:ห้องเรียนชั่วคราว คุณครู:คุณครูชั่วคราว วิชา:วิชาชั่วคราว ผลของคำตอบ B:9%(9) ไม่มี:91%(91) อัตราที่ถูกต้อง:9% โมเดล:แบบทดสอบธรรมดา เวลา:13/5/ :03:13 ห้องเรียน:ห้องเรียนชั่วคราว คุณครู:คุณครูชั่วคราว วิชา:วิชาชั่วคราว โมเดล:แบบทดสอบธรรมดา เวลา:15/5/ :25:13 ห้องเรียน:ห้องเรียนชั่วคราว คุณครู:คุณครูชั่วคราว วิชา:วิชาชั่วคราว B 104

105 เฉลย B ระบุชื่อเจ้าหนี้พร้อมขีดเส้นหลังชื่อเจ้าหนี้ไม่ให้มีช่องว่าง
ขีดฆ่า “หรือผู้ถือ” ออก B เขียนจำนวนเงินให้ชิดคำว่า “บาท” ขีดเส้นกั้นหน้ากั้นหลังจำนวนเงินทั้งตัวเลขและตัวอักษรมิให้มีช่องว่างเติมจำนวนเงินได้

106 ความรับผิด 106

107 ตัวอย่างการกระทำที่ศาลปกครองถือเป็นการกระทำโดยประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง
ลงลายมือชื่อในเช็คที่มีความบกพร่อง เช่น - มีช่องว่างด้านหน้าตัวเลขและตัวอักษร - ไม่ขีดคั่นหน้าหลัง - ไม่ขีดคำว่า หรือผู้ถือ ออก - ไม่ขีดคร่อมเช็ค หัวข้อ ทำงานพัสดุอย่างไรไม่ต้องรับผิด ในฐานะผู้บริหารเท่านั้น ตรวจสอบเฉพาะยอดรวมของรายได้ ไม่ตรวจสอบรายละเอียดของรายได้แต่ละประเภท 107

108 เหตุผลที่ศาลปกครองเห็นว่าผู้บังคับบัญชาต้องรับผิด
มิได้ควบคุมตรวจสอบการปฏิบัติงาน เช่น การเก็บรักษาสมุดเช็ค สมุดเงินฝากธนาคาร ใบสำคัญเกี่ยวกับการเบิกจ่าย ไม่ตรวจสอบจำนวนเงินที่เบิกจากธนาคารเทียบกับยอดเงินที่เบิกตามฎีกา ไม่ควบคุม กำกับ ดูแล ให้มีการจัดทำบัญชีให้เป็นปัจจุบัน ไม่ควบคุม กำกับ ดูแล การปฏิบัติงานของคณะกรรมการรับ ส่ง เงิน ให้ปฏิบัติหน้าที่ ไม่ควบคุมให้เจ้าหน้าที่จัดทำเช็คให้ถูกต้อง ผู้บังคับบัญชามีหน้าที่ควบคุม ดูแล การปฏิบัติงานของผู้ใต้บังคับบัญชาให้ปฏิบัติหน้าที่ราชการด้วยความถูกต้อง เป็นไปตามระเบียบและคำสั่งของทางราชการ แต่มิได้กระทำโดยเคร่งครัด หัวข้อ ทำงานพัสดุอย่างไรไม่ต้องรับผิด ในฐานะผู้บริหารเท่านั้น 108

109 ข้ออ้างที่ไม่ทำให้พ้นผิด
ไม่ใช่ผู้ทุจริตหรือเกี่ยวข้องกับการทุจริต ฎีกาที่ 362/2538 ทำตามแบบอย่าง (ไม่เป็นไปตามกฎหมาย) ที่เคยทำต่อๆกันมา ฎีกาที่ 271/2506 109

110 ข้ออ้างที่ไม่ทำให้พ้นผิด
ผู้ใต้บังคับบัญชาไม่ให้ความร่วมมือในการตรวจสอบ ฎีกาที่ 65/2539 ได้มอบหมายหน้าที่ให้ผู้ใต้บังคับบัญชาดูแลแล้ว ฎีกาที่ 1436/2531 ปัจจุบันโอน ย้าย เกษียณราชการ แม้กระทั่งตาย เรื่องเสร็จที่ 420/2551 110

111 1. ลงลายมือชื่อในเช็คที่มีความบกพร่อง เช่น
ตัวอย่างการกระทำที่ถือเป็นการกระทำโดยประมาทเลินเล่อ อย่างร้ายแรง (ศาลปกครองเห็นพ้องกับกรมบัญชีกลาง) 1. ลงลายมือชื่อในเช็คที่มีความบกพร่อง เช่น - มีช่องว่างด้านหน้าตัวเลขละตัวอักษร - ไม่ขีดคั่นหน้าหลัง - ไม่ขีดคำว่า หรือผู้ถือ ออก - ไม่ขีดคร่อมเช็ค

112 ตัวอย่างการกระทำที่ถือเป็นการกระทำโดยประมาทเลินเล่อ อย่างร้ายแรง(ศาลปกครองเห็นพ้องกับกรมบัญชีกลาง) (ต่อ) 2. ตรวจสอบเฉพาะยอดรวมของรายได้ ไม่ตรวจสอบรายละเอียด ของรายได้แต่ละประเภท 3. ขออนุญาตนำรถยนต์ของทางราชการไปจอดที่บ้านพัก แล้วรถเกิดการสูญหายหรือเสียหาย 4. คณะกรรมการกำหนดราคากลางไม่จัดทำราคากลาง ให้เป็นไปตามระเบียบและหนังสือสั่งการของ ทางราชการ

113 ตัวอย่างเหตุผลที่ต้องรับผิด
กรณีผู้บังคับบัญชา ผู้บังคับบัญชามีหน้าที่ควบคุม ดูแล การปฏิบัติงานของผู้ใต้บังคับบัญชาให้ปฏิบัติหน้าที่ราชการด้วยความถูกต้อง เป็นไปตามระเบียบและคำสั่งของทางราชการ แต่มิได้กระทำโดยเคร่งครัด เช่น - มิได้ควบคุมตรวจสอบการปฏิบัติงาน เช่น การเก็บรักษาสมุดเช็ค สมุดเงินฝากธนาคาร ใบสำคัญเกี่ยวกับการเบิกจ่าย - ไม่ตรวจสอบจำนวนเงินที่เบิกจากธนาคารเทียบกับยอดเงินที่เบิกตามฎีกา - ไม่ควบคุม กำกับ ดูแล ให้มีการจัดทำบัญชีให้เป็นปัจจุบัน - ไม่ควบคุม กำกับ ดูแล การปฏิบัติงานของคณะกรรมการรับ ส่ง เงิน ให้ปฏิบัติหน้าที่ - ไม่ควบคุมให้เจ้าหน้าที่จัดทำเช็คให้ถูกต้อง

114 ข้อกล่าวอ้างไม่ต้องรับผิดของผู้บังคับบัญชา
1. เตือนแล้ว 2. ตรวจสอบพบการกระทำผิด 3. ติดตามเงินคืนมาได้ส่วนหนึ่ง 4. ได้ดำเนินการทางวินัย ดำเนินคดีทั้งทางแพ่งและ ทางอาญา ศาลเห็นว่า เป็นการปฏิบัติตามหน้าที่ตามที่กฎหมายกำหนดให้ต้องปฏิบัติตามวิสัยของหัวหน้าหน่วยงานที่มีผู้ใต้บังคับบัญชาทุจริต และไม่มีบทบัญญัติในพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ยกเว้นความรับผิดในกรณีดังกล่าว

115 อุบัติเหตุ 115

116 การนำรถไปจอดนอกสถานที่ราชการ
การใช้ขออนุญาตนำรถยนต์ไปเก็บรักษาที่อื่นเป็นการชั่วคราว ต้องมีเหตุดังนี้ - ส่วนราชการต้องไม่มีสถานที่เก็บรักษาปลอดภัยเพียงพอ - ต้องมีราชการจำเป็นเร่งด่วนหรือปฏิบัติราชการลับ ผู้มีอำนาจอนุญาตจะพิจารณาได้เฉพาะเป็นการชั่วคราวและเป็นครั้งคราว จะอนุญาตเป็นการถาวรหรือทุกวันไม่ได้ และต้องอยู่ภายใต้เงื่อนไขอย่างใดอย่างหนึ่ง

117 The Comptroller General's Department (CGD)
ส่วนที่ 4 สรุป ๑.การปฏิบัติหน้าที่ ศึกษาหน้าที่และปฏิบัติ ตามที่กำหนดใน JOB ในกฎหมาย ฯลฯ ๒.มีความเสียหาย ให้เวลาศึกษาข้อเท็จจริง รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ของตน เมื่อเรารู้แล้วว่าความรับผิดทางละเมิดเกิดขึ้นเมื่อเราปฏิบัติหน้าที่โดยจงใจ หรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงทำให้เกิดความเสียหายกับหน่วยงานของรัฐ ในการปฏิบัติหน้าที่ต่างๆของเรา ไม่ว่าจะเป็นหน้าที่ตามแบบบรรยายลักษณะงาน (Job descriptions) หน้าที่ตามที่กฎหมายกำหนด เช่น กรรมการตรวจการจ้าง กรรมการตรวจรับพัสดุ กรรมการเก็บรักษาเงิน หน้าที่ตามคำสั่งผู้บังคับบัญชา เราจึงต้องให้ความใส่ใจสนใจในการศึกษาว่าเราจะต้องปฏิบัติหน้าที่อย่างไรตามที่แบบบรรยายลักษณะงาน หรือกฎหมาย กำหนด เมื่อมีความเสียหายเกิดขึ้นและเราเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องในความเสียหายนั้น ไม่ว่าในฐานะอะไรก็ตาม ๓.หากต้องรับผิด ใช้สิทธิตามกฎหมาย หรือขอคำปรึกษา The Comptroller General's Department (CGD)

118 ระบบงานความรับผิดทางละเมิดและแพ่ง
การจัดส่งเรื่องให้กระทรวงการคลังตรวจสอบ (สำนวนการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด) หรือพิจารณา (ระบบงานความรับผิดทางแพ่งและระบบงานผิดสัญญาลาศึกษา) ตั้งแต่วันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๕๖ เป็นต้นไป ให้ดำเนินการดังนี้ ระบุเลขที่สำนวนละเมิด (VI____)ไว้มุมบนขวาของแบบรายงานผลการสอบสวน (สล.๒) Scan สล ๑. ซึ่งมีลายมือชื่อผู้ให้ถ้อยคำ, สล. ๒. ซึ่งมีลายมือชื่อกรรมการ และเอกสารประกอบการพิจารณาแล้วบันทึกเป็น PDF ไฟล์ (.pdf) และบันทึกรายงานผลการสอบสวน (สล.๒) ซึ่งจัดทำด้วยโปรแกรม Microsoft Word (.doc) ลงในแผ่น CD – ROM และจัดส่งพร้อมหนังสือนำส่ง

119 การใช้งานระบบงานความรับผิดทางละเมิดและแพ่ง
หนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค /ว72 ลงวันที่ 20 กุมภาพันธ์ แจ้งเปิดให้ใช้งานระบบงานความรับผิดทางละเมิดและแพ่ง หนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค /ว 32 ลงวันที่ 2 กุมภาพันธ์ การส่งสำนวนการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ให้กระทรวงการคลังตรวจสอบ หนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค /ว 239 ลงวันที่ 7 กรกฎาคม การการใช้งานระบบความรับผิดทางละเมิดและแพ่ง

120

121

122 สิริกานต์ บุญปล้อง โทร. ๐ ๒๑๒๗ ๗๒๙๙
สุธาทิพย์ พรพนาวรรณ สิริกานต์ บุญปล้อง โทร. ๐ ๒๑๒๗ ๗๒๙๙


ดาวน์โหลด ppt ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google