งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวทางการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำดื่ม และน้ำแข็งบริโภค ในสถานประกอบการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวทางการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำดื่ม และน้ำแข็งบริโภค ในสถานประกอบการ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวทางการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำดื่ม และน้ำแข็งบริโภค ในสถานประกอบการ
แนวทางการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำดื่ม และน้ำแข็งบริโภค ในสถานประกอบการ

2 แนวทางการดำเนินงาน 1. พื้นที่เป้าหมาย : ตำบลละ 20 ตัวอย่าง
น้ำดื่ม 10 ตัวอย่าง น้ำแข็ง 10 ตัวอย่าง 2. กลุ่มเป้าหมาย : ร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร 3. เครื่องมือ: แบบสำรวจข้อมูลคุณภาพของน้ำดื่มและน้ำบริโภคในสถานประกอบการด้านอาหาร ชุดตรวจสอบการปนเปื้อนเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรียในอาหาร (SI-2)

3 วิธีการเก็บตัวอย่าง/ใช้ชุดทดสอบ
กรณี แบบ อ 13 1. นำน้ำดื่มหรือน้ำแข็งใส่แก้ว/ภาชนะที่สะอาด สำหรับน้ำแข็งให้ตั้งทิ้งไว้ที่อุณหภูมิห้องจนละลายเพียงพอ ให้สามารถ เก็บตัวอย่างได้ 2. ใช้ช้อนชาที่ฆ่าเชื้อโดยเช็ดแอลกอฮอล์70 % แล้วลนไฟ ตักน้ำหรือน้ำแข็งที่ละลายแล้ว ประมาณ 1 ช้อนชา(1 มิลลิลิตร) ใส่ลงในขวดอาหารเลี้ยงเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรีย (SI-2)

4 วิธีการเก็บตัวอย่าง/ใช้ชุดทดสอบ
3. หลังจากเก็บตัวอย่างเสร็จแล้ว ตั้งขวดอาหารเลี้ยงเชื้อฯ ไว้ที่อุณหภูมิห้อง (25-40 °C) เป็นเวลา 24 ชั่วโมง แล้วตรวจสอบดังนี้ ขวด 1 : ขวดอาหารเลี้ยงเชื้อ สีม่วงใสปราศจากเชื้อ ขวด 2 : ใส่ตัวอย่างและบ่มไว้ 24 ชม. อาหารยังคงเป็นสีม่วงใสไม่เปลี่ยน แสดงว่าไม่มีการปนเปื้อนเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรีย ขวด3 : ใส่ตัวอย่างและบ่มไว้ 24 ชม. อาหารเปลี่ยนจากสีม่วงเป็นม่วงปนเหลือง ขุ่นและมีแก๊สปุดขึ้นเมื่อเขย่าเบาๆ แสดงว่า มีการปนเปื้อนเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรีย ขวด 4 : ใส่ตัวอย่างและบ่มไว้ ชม. อาหารเปลี่ยนจากสีม่วงเป็น สีเหลือง ขุ่นและมีแก๊สปุดขึ้นเมื่อเขย่าเบาๆ แสดงว่า มีการปนเปื้อนเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรีย

5 วิธีการเก็บตัวอย่าง/ใช้ชุดทดสอบ
กรณี แบบ อ วิธีการเก็บตัวอย่างและการใช้ชุดทดสอบ เหมือน อ การอ่านและแปรผล

6 ขวด 1 : อาหารเหลวตรวจเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรีย สีแดงใสปราศจากเชื้อ ขวด 2 : หลังเติมน้ำตัวอย่าง ขวด 3 : หลังเติม ตย. และบ่มไว้ 24 ชม. อาหารยังคงเป็นสีแดงใส แสดงว่าไม่พบเชื้อ ขวด 4 :หลังเติม ตย. และบ่มไว้ 24 ชม. อาหารเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลหรือน้ำตาลอมส้ม ขุ่น และมีแก๊สปุดขึ้นเมื่อเขย่า แสดงว่าพบเชื้อ ขวด 5 : หลังเติม ตย. และบ่มไว้ 24 ชม. อาหารเปลี่ยนเป็นสีส้มหรือเหลืองอมส้ม ขุ่น และมีแก๊สปุดขึ้นเมื่อเขย่า แสดงว่าพบเชื้อ ขวด 6 : หลังเติม ตย. และบ่มไว้ 24 ชม. อาหารเปลี่ยนเป็นสีเหลือง ขุ่น และมีแก๊สปุดขึ้นเมื่อเขย่า แสดงว่าพบเชื้อ

7 วิธีการเก็บตัวอย่าง/ใช้ชุดทดสอบ
4. บันทึกผลการตรวจทางแบคทีเรียลงในแบบสำรวจข้อมูลคุณภาพน้ำดื่มและน้ำแข็ง 5. กรณีผลการตรวจพบเชื้อ : เจ้าหน้าที่ให้ความรู้/คำแนะนำ ด้านสุขาภิบาลอาหารและน้ำ เพื่อลดการปนเปื้อนสิ่งสกปรกของน้ำดื่มและน้ำแข็ง ตรวจสอบซ้ำ 6. การเก็บรักษาและอายุการใช้งาน : เก็บในตู้เย็น มีอายุการใช้งาน 6 เดือน หลังจากผลิต เก็บภายในกล่องบรรจุที่อุณหภูมิห้อง มีอายุการใช้งาน เดือน หลังจากผลิต 7. การปฏิบัติหลังจากใช้ชุดทดสอบแล้ว เทน้ำยาที่ใช้แล้วทิ้งในโถสุขภัณฑ์ ก่อนทิ้งขวดในที่เหมาะสม

8 ข้อมูลทั่วไป : น้ำดื่ม & น้ำแข็งบริโภค

9 แบบฟอร์มการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำดื่ม

10 แบบฟอร์มการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำแข็งบริโภค

11 ส่งผลการดำเนินงาน ระยะเวลาดำเนินการ : เม.ย.- มิ.ย. 59 ส่งผลการดำเนินงาน : ก.ค.59 กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภคและเภสัชสาธารณสุข หรือ กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ

12 Thank You !


ดาวน์โหลด ppt แนวทางการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำดื่ม และน้ำแข็งบริโภค ในสถานประกอบการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google