งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน Internal Quality Assurance

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน Internal Quality Assurance"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน Internal Quality Assurance
ดัดแปลงพลเรือตรี หญิง ดร สุภัทรา เอื้อวงศ์

2 เกี่ยวข้องกับ เอกสารชุดนี้ อิงเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรตามคู่มือประกันคุณภาพการศึกษาภายใน 2557

3 ระดับการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
แบ่งเป็น 3 ระดับ ซึ่งส่งผลต่อเนื่องกันในองค์ประกอบที่ 1ของระดับต่อไป ระดับหลักสูตร (14 ตัวบ่งชี้ (1+13)) ระดับการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับคณะวิชา (13 ตัวบ่งชี้) ระดับสถาบัน (13 ตัวบ่งชี้)

4 ระดับหลักสูตร ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ ครอบคลุมเรื่องการส่งเสริม พัฒนานักศึกษา การวางระบบ กระบวนการจัดการเรียนการสอน จำนวนอาจารย์ต่อนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ผลงานวิชาการ ผลงานวิจัยของคณาจารย์ สื่ออุปกรณ์การเรียนการสอน ห้องสมุดและแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ การดำเนินการตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ รวมทั้งคุณภาพบัณฑิต ซึ่งแบ่งเป็น 6 องค์ประกอบ 1.การกำกับมาตรฐาน 2. บัณฑิต 3. นักศึกษา 4. อาจารย์ 5. หลักสูตรการเรียนการสอนและการประเมินผู้เรียน 6. สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

5 การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม การบริหารจัดการ
ระดับคณะ ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ ครอบคลุมการดำเนินงานของคณะ เพื่อสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนของแต่ละหลักสูตรที่คณะดูแล รวมทั้งกิจกรรมนักศึกษา การบริการนักศึกษา การให้บริการทางวิชาการ การวิจัย การบริหารจัดการและการประกันคุณภาพของคณะ ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ การผลิตบัณฑิต การวิจัย การบริการวิชาการ การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม การบริหารจัดการ

6 ระดับสถาบัน การผลิตบัณฑิต การวิจัย การบริการวิชาการ
องค์ประกอบเหมือนกันระดับคณะ แต่ มีตัวบ่งชี้ที่แตกต่างกันในบางเรื่อง รวม ทั้งเกณฑ์การประเมิน การผลิตบัณฑิต การวิจัย การบริการวิชาการ การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม การบริหารจัดการ

7 ตัวบ่งชี้ ระดับหลักสูตร
ตัวบ่งชี้ ระดับหลักสูตร

8 ตัวบ่งชี้ระดับหลักสูตร
ป.ตรี (3) ตัวบ่งชี้มาตรฐาน (1 ตัวบ่งชี้) ป.บัณฑิต ป.โท (11) ตัวบ่งชี้ระดับหลักสูตร (14 ตัวบ่งชี้) ป.เอก (11) ตัวบ่งชี้พัฒนา (13 ตัวบ่งชี้)

9 อธิบายกระบวนการแสดงหรือแสดงผลการดำเนินงานในประเด็นที่เกี่ยวข้อง
องค์ประกอบที่1.การกำกับมาตรฐาน ตัวบ่งชี้ อธิบายกระบวนการแสดงหรือแสดงผลการดำเนินงานในประเด็นที่เกี่ยวข้อง 1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดใน สกอ. ผลการบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร และกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พศ 2552

10 เกณฑ์ตัวบ่งชี้มาตรฐาน
ป.ตรี ป.บัณฑิต โท ป.เอก 1.จำนวนอาจารย์ประจำหลักสูตร (≥5 คน) เป็นเกินกว่า 1 หลักสูตรไม่ได้ (ยกเว้น ป.โท และ ป.เอกสาขาเดียวกัน) ประจำหลักสูตรตลอดระยะเวลาที่จัดการศึกษา 2. คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร (5 คน) ป.โทหรือผ.ศ.ตรงที่ตรง หรือ สัมพันธ์กับสาขา≥2 เป็นอาจารย์รับผิดชอบหลักสูตร หรือ ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ หรือผู้สอบ หรือผู้สอน 3. คุณสมบัติอาจารย์ ที่รับผิดชอบหลักสูตร (3 คน) ป.เอก หรือ รศ.สาขาที่ตรงหรือสัมพันธ์ ≥3 ป.เอก หรือ ศ. สาขาที่ตรงหรือสัมพันธ์ ≥3 4. คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน มีประสบฯ การสอน /วิจัย อ.ประจำหรืออ.พิเศษ ป.โท หรือ ผศ. > มีประสบฯ การสอน /วิจัย อ.ประจำหรืออ.พิเศษ ป.เอก หรือ รศ.> มีประสบฯ การสอน /วิจัย 5. คุณสมบัติอาจารย์ ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก อ.ประจำ ป.เอก หรือ ≥รศ. ,ประสบฯ วิจัย อ.ประจำ ป.เอก หรือ รศ.> , ประสบฯ วิจัย 6. คุณสมบัติอาจารย์ ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม อ.ประจำ หรือผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ป.เอก หรือ≥รศ., ที่ตรงหรือสัมพันธ์ , มีประสบฯ วิจัย

11 เกณฑ์ตัวบ่งชี้มาตรฐาน
ป.ตรี ป.บัณฑิต โท ป.เอก 7. คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ อ.ประจำ และ ผู้ทรงคุณวุฒิ ป.เอก หรือ ≥รศ. , ที่ตรงหรือสัมพันธ์ มีประสบฯ วิจัย 8.การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานของผู้สำเร็จการศึกษา วารสาร สิ่งพิมพ์วิชาการ(Proceeding) วารสารวิชาการ ที่มี Peer Review 9. ภาระงานอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ 1 ต่อ 5, สาระนิพนธ์/ค้นคว้าอิสระ 1ต่อ 15 (มากกว่าต้องขออนุญาตสภา) 10. อาจารย์ที่ปรึกษา มีผลงานวิจัยอย่างต่อเนื่อง งานวิจัย 1 เรื่อง ในรอบ 5 ปี (ไม่ใช่งานผลงานของนักศึกษา) 11. การปรับปรุงหลักสูตร ปรับปรุง/อนุมัติจากสภาฯ ไม่เกิน 5 ปี เพื่อใช้งานปีที่ 6 12. ผลการดำเนินงาน เพื่อประกันคุณภาพหลักสูตร ตาม มคอ 2 และตัวบ่งชี้ TQF ข้อ 1-5 ต้องดำเนินการทุกข้อ

12 ตัวบ่งชี้ TQF อาจารย์ประจำหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุม เพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร มีรายละเอียดของหลักสูตร ตามแบบ มคอ. 2 มีรายละเอียดของรายวิชา ตามแบบ มคอ. 3 และ มคอ. 4 อย่างน้อยก่อน การเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษา ครบทุกรายวิชา จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา ตามแบบ มคอ. 5 และ มคอ. 6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอน ครบทุกรายวิชา จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตร ตามแบบ มคอ. 7 ภายใน วัน หลังปีการศึกษา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ที่กำหนดใน มคอ. 3 และ มคอ. 4 อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา

13 ตัวบ่งชี้ TQF มีการพัฒนา / ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการ ประเมินผลการเรียนรู้ จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ. 7 ปีที่แล้ว อาจารย์ใหม่ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ หรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียน การสอน อาจารย์ประจำทุกคน ได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง บุคลากรสายสนับสนุนได้รับการพัฒนาวิชาการและ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50 ต่อปี ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย / บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตรเฉลี่ยไม่น้อยกว่า จากคะแนนเต็ม 5 ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตใหม่ที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า จากคะแนนเต็ม 5

14 องค์ประกอบที่ 2-6 ปัจจัยนำเข้า (7) ตัวบ่งชี้พัฒนา (13) กระบวนการ (4) ผลลัพธ์ (2)

15 องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 คุณภาพของบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แห่งชาติ ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 (ปริญญาตรี) ร้อยละของบัณฑิตที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพ อิสระภายใน 1 ปี ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 (ปริญญาโท) ผลงานของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษา ในระดับปริญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 (ปริญญาเอก) ผลงานของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษา ในระดับปริญญาเอกที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ ประกอบอาชีพอิสระ ภายใน 1 ปี

16 ตัวบ่งชี้ 2.1 คุณภาพของบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ TQF 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข ผลรวมของค่าคะแนนที่ได้จากการประเมินบัณฑิต จำนวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมด (>20ของบัณฑิตที่สำเร็จ )

17 ตัวบ่งชี้ที่ 2.2(ปริญญาตรี) ร้อยละของบัณฑิตที่ได้งานทำหรือ
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2(ปริญญาตรี) ร้อยละของบัณฑิตที่ได้งานทำหรือ ประกอบอาชีพอิสระ ภายใน 1 ปี จำนวนบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาอชีพอิสระภายใน1 ปี จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสอบถามทั้งหมด × 100 - ร้อยละ 100 เท่ากับ 5 ผู้ตอบต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของผู้สำเร็จ การศึกษา การมีงานทำนับกรณีการทำงานสุจริตทุกประเภทที่สามารถสร้างรายได้เข้ามาเป็นประจำเพื่อเลี้ยงชีพตนเอง

18 ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 (ปริญญาโท) ผลงานของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษา
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 (ปริญญาโท) ผลงานของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษา ในระดับปริญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ ผลรวมถ่วงน้ำหนักของผลงานที่ตีพิมพ์หรือเผยแพร่ของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษระดับปริญญาโท จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโททั้งหมด × 100 ร้อยละ 40 เท่ากับ 5

19 ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 (ปริญญาเอก) ผลงานของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษา
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 (ปริญญาเอก) ผลงานของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษา ในระดับปริญญาเอกที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ ผลรวมถ่วงน้ำหนักของผลงานที่ตีพิมพ์หรือเผยแพร่ของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษระดับปริญญาเอก จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกทั้งหมด × 100 ร้อยละ 80 เท่ากับ 5

20 องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา
ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 การรับนักศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษานักศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ 3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา

21 ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 การรับนักศึกษา
ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 การรับนักศึกษา การรับนักศึกษา การเตรียมความพร้อมก่อนเข้าศึกษา เกณฑ์การประเมิน ไม่มีระบบ ไม่มีกลไก ไม่มีแนวคิดในการกำกับ ติดตาม ปรับปรุง ไม่มีข้อมูลหลักฐาน 1 มีระบบ มีกลไก ไม่มีการนำระบบและกลไกไปสู่การปฏิบัติ/การดำเนินงาน 2 มีระบบ มีกลไก มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/การดำเนินงานมีการประเมิน ไม่มีการปรับปรุง/พัฒนา/บูรณาการจากผลการประเมิน 3 มีระบบ มีกลไก มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/การดำเนินงานมีการประเมิน มีการปรับปรุง/พัฒนา/บูรณาการจากผลการประเมิน 4 มีครบในข้อ 3 มีผลจากการปรับปรุงเห็นชัดเป็นรูปธรรม 5 มีการดำเนินการใน 4 และมีแนวทางปฏิบัติ โดยมีหลักฐานเชิงประจักษ์ยืนยัน และกรรมการผู้ประเมินสามารถให้เหตุผลอธิบาย เป็นแนวปฏิบัติที่ดีได้ชัดเจน

22 ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 การรับนักศึกษา
ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 การรับนักศึกษา การรับนักศึกษา การเตรียมความพร้อมก่อนเข้าศึกษา เกณฑ์การประเมิน ไม่มีระบบ ไม่มีกลไก ไม่มีแนวคิดในการกำกับ ติดตาม ปรับปรุง ไม่มีข้อมูลหลักฐาน 1 มีระบบ มีกลไก ไม่มีการนำระบบและกลไกไปสู่การปฏิบัติ/การดำเนินงาน 2 มีระบบ มีกลไก มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/การดำเนินงานมีการประเมิน ไม่มีการปรับปรุง/พัฒนา/บูรณาการจากผลการประเมิน 3 มีระบบ มีกลไก มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/การดำเนินงานมีการประเมิน มีการปรับปรุง/พัฒนา/บูรณาการจากผลการประเมิน 4 มีครบในข้อ 3 มีผลจากการปรับปรุงเห็นชัดเป็นรูปธรรม 5 มีการดำเนินการใน 4 และมีแนวทางปฏิบัติ โดยมีหลักฐานเชิงประจักษ์ยืนยัน และกรรมการผู้ประเมินสามารถให้เหตุผลอธิบาย เป็นแนวปฏิบัติที่ดีได้ชัดเจน

23 ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษานักศึกษา
ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษานักศึกษา การควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรี การควบคุมดูแลการให้คำปรึกษาวิทยานิพนธ์แก่บัณฑิตศึกษา การพัฒนาศักยภาพแก่นักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษ 21 เกณฑ์การประเมิน ไม่มีระบบ ไม่มีกลไก ไม่มีแนวคิดในการกำกับ ติดตาม ปรับปรุง ไม่มีข้อมูลหลักฐาน 1 มีระบบ มีกลไก ไม่มีการนำระบบและกลไกไปสู่การปฏิบัติ/การดำเนินงาน 2 มีระบบ มีกลไก มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/การดำเนินงานมีการประเมิน ไม่มีการปรับปรุง/พัฒนา/บูรณาการจากผลการประเมิน 3 มีระบบ มีกลไก มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/การดำเนินงานมีการประเมิน มีการปรับปรุง/พัฒนา/บูรณาการจากผลการประเมิน 4 มีครบในข้อ 3 มีผลจากการปรับปรุงเห็นชัดเป็นรูปธรรม 5 มีการดำเนินการใน 4 และมีแนวทางปฏิบัติ โดยมีหลักฐานเชิงประจักษ์ยืนยัน และกรรมการผู้ประเมินสามารถให้เหตุผลอธิบาย เป็นแนวปฏิบัติที่ดีได้ชัดเจน

24 ผลที่เกิดกับนักศึกษา
ตัวบ่งชี้ที่ 3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา การคงอยู่ การสำเร็จการศึกษา ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา เกณฑ์การประเมิน ไม่มีการรายงานผลการดำเนินงาน 1 มีการรายเสนอผลการดำเนินงานในบางเรื่อง 2 มีการรายเสนอผลการดำเนินงานครบทุกเรื่องตามคำอธิบายในตัวบ่งชี้ 3 มีแนวโน้มผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นในบางเรือง 4 มีแนวโน้มผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นในทุกเรื่อง 5 มีครบตาม ข้อ 4 และมีผลการดำเนินงานที่เป็นเลิศ/โดดเด่นโดยเทียบเคียงกับหลักสูตรนั้นๆในสถาบันกลุ่มเดียวกันที่เหมาะสมหรือได้รับรางวัลระดับชาติหรือนานาชาติ

25 องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์
ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 การบริหารและการพัฒนาอาจารย์ ตัวบ่งชี้ที่ 4.2 คุณภาพอาจารย์ ตัวบ่งชี้ที่ 4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์

26 ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 การบริหาร
และการพัฒนาอาจารย์ ระบบการรับและการแต่งตั้งอาจารย์ประจำหลักสูตร ระบบการบริหารอาจารย์ ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ เกณฑ์การประเมิน ไม่มีระบบ ไม่มีกลไก ไม่มีแนวคิดในการกำกับ ติดตาม ปรับปรุง ไม่มีข้อมูลหลักฐาน 1 มีระบบ มีกลไก ไม่มีการนำระบบและกลไกไปสู่การปฏิบัติ/การดำเนินงาน 2 มีระบบ มีกลไก มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/การดำเนินงานมีการประเมิน ไม่มีการปรับปรุง/พัฒนา/บูรณาการจากผลการประเมิน 3 มีระบบ มีกลไก มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/การดำเนินงานมีการประเมิน มีการปรับปรุง/พัฒนา/บูรณาการจากผลการประเมิน 4 มีครบในข้อ 3 มีผลจากการปรับปรุงเห็นชัดเป็นรูปธรรม 5 มีการดำเนินการใน 4 และมีแนวทางปฏิบัติ โดยมีหลักฐานเชิงประจักษ์ยืนยัน และกรรมการผู้ประเมินสามารถให้เหตุผลอธิบาย เป็นแนวปฏิบัติที่ดีได้ชัดเจน

27 ตัวบ่งชี้ที่ 4.2 คุณภาพอาจารย์
ร้อยละของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีวุฒิปริญญาเอก ร้อยละของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำหลักสูตร จำนวนบทความของอาจารย์ประจำหลักสูตรปริญญาเอกที่ได้รับการอ้างอิงในฐานข้อมูล TCI และ Scopus ต่อจำนวนอาจารย์ประจำ พลเรือตรี หญิง ดร สุภัทรา เอื้อวงศ์

28 ร้อยละของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีวุฒิปริญญาเอก
ตัวบ่งชี้ที่ 4.2 คุณภาพอาจารย์ ร้อยละของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีวุฒิปริญญาเอก ร้อยละ = จำนวนอาจารย์หลักสูตรที่มีวุฒิปริญญาเอก จำนวนอาจารย์ประจำหลักสูตรทั้งหมด ปริญญาตรี ร้อยละ 20 = 5 เกณฑ์การประเมิน ปริญญาโท ร้อยละ 60 = 5 ปริญญาเอก ร้อยละ 100 = 5

29 ร้อยละของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
ตัวบ่งชี้ที่ 4.2 คุณภาพอาจารย์ ร้อยละของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ ร้อยละ = จำนวนอาจารย์หลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ จำนวนอาจารย์ประจำหลักสูตรทั้งหมด ปริญญาตรี ร้อยละ 60 = 5 เกณฑ์การประเมิน ปริญญาโท ร้อยละ 80= 5 ปริญญาเอก ร้อยละ 100 = 5

30 ตัวบ่งชี้ที่ 4.2 คุณภาพอาจารย์ ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำหลักสูตร
ผลรวมถ่วงน้ำหนักของผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำหลักสูตร จำนวนอาจารย์ประจำหลักสูตรทั้งหมด × 100 ปริญญาตรี ร้อยละ 20 = 5 เกณฑ์การประเมิน ปริญญาโท ร้อยละ 40= 5 ปริญญาเอก ร้อยละ 60 = 5

31 จำนวนบทความที่ได้รับการอ้างอิง จำนวนอาจารย์ประจำสังกัดหลักสูตรทั้งหมด
ตัวบ่งชี้ที่ 4.2 จำนวนบทความของอาจารย์ประจำหลักสูตรปริญญาเอกที่ได้รับการอ้างอิงในฐานข้อมูล TCI และ Scopus ต่อจำนวนอาจารย์ประจำ จำนวนบทความที่ได้รับการอ้างอิง จำนวนอาจารย์ประจำสังกัดหลักสูตรทั้งหมด วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2.5 = 5 วิทยาศาสตร์สุขภาพ ร้อยละ 3.0 = 5 เกณฑ์การประเมิน มนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ ร้อยละ0.25 = 5

32 ระดับคุณภาพ ค่าน้ำหนัก
ระดับคุณภาพงานวิจัย หรือ บทความทางวิชาการ หรือผลงานจดสิทธิบัตร 0.20 - บทความวิจัย หรือ บทความวิชาการ ตีพิมพ์ในรายงานประชุมวิชาการระดับชาติ 0.40 - บทความวิจัย หรือ บทความวิชาการ ตีพิมพ์ในรายงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติ หรือ ในวารสารวิชาการที่ไม่อยู่ในประกาศของ สกอ. (สถาบันนำเสนอสภาฯ อนุมัติ) 0.60 - บทความวิจัย หรือ บทความวิชาการ ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCI (กลุ่ม 2) หรือ ผลงานได้รับจดอนุสิทธิบัตร 0.80 - บทความวิจัย หรือ บทความวิชาการ ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ หรือ ที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCI (กลุ่ม 1) 1.00 - บทความวิจัย หรือ บทความวิชาการ ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูลระดับนานาชาติตามระเบียบของ สกอ. - ผลงานได้รับจดสิทธิบัตร - ผลงานวิชาการรับใช้สังคมที่ผ่านการประเมินตำแหน่งวิชาการแล้ว - ผลงานวิจัยที่หน่วยงาน หรือ องค์กรระดับนานาชาติว่าจ้างให้ดำเนินการ - ผลงานค้นพบพันธุ์พืช พันธุ์สัตว์ ที่ค้นพบใหม่และได้รับการจดทะเบียน - ตำรา หรือ หนังสือที่ผ่านการประเมินตำแหน่งทางวิชาการแล้ว

33 การเผยแพร่ผลงานในที่ประชุมวิชาการระดับชาติ หมายถึง การนำเสนอบทความวิจัยในที่ประชุมและบทความฉบับสมบูรณ์ (Full Paper) ได้รับการตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ (Proceedings) ระดับชาติ ที่มีกองบรรณาธิการ ประกอบด้วย ศาสตราจารย์ หรือ ผู้ทรงคุณวุฒิระดับปริญญาเอกนอกสถาบันเจ้าภาพ อย่างน้อยร้อยละ 25 และต้องมีผลงานจากภายนอก อย่างน้อยร้อยละ 25 การเผยแพร่ผลงานในที่ประชุมวิชาการระดับนานาชาติ หมายถึง การนำเสนอบทความวิจัยในที่ประชุมและบทความฉบับสมบูรณ์ (Full Paper) ได้รับการตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ (Proceedings) ระดับนานาชาติ ที่มีกองบรรณาธิการ ประกอบด้วย ศาสตราจารย์ หรือ ผู้ทรงคุณวุฒิระดับปริญญาเอกจากต่างประเทศ อย่างน้อยร้อยละ 25

34 ตัวบ่งชี้ที่ 4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ การคงอยู่ของอาจารย์
ตัวบ่งชี้ที่ 4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ การคงอยู่ของอาจารย์ ความพึงพอใจของอาจารย์ เกณฑ์การประเมิน ไม่มีการรายงานผลการดำเนินงาน 1 มีการรายเสนอผลการดำเนินงานในบางเรื่อง 2 มีการรายเสนอผลการดำเนินงานครบทุกเรื่องตามคำอธิบายในตัวบ่งชี้ 3 มีแนวโน้มผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นในบางเรือง 4 มีแนวโน้มผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นในทุกเรื่อง 5 มีครบตาม ข้อ 4 และมีผลการดำเนินงานที่เป็นเลิศ/โดดเด่นโดยเทียบเคียงกับหลักสูตรนั้นๆในสถาบันกลุ่มเดียวกันที่เหมาะสมหรือได้รับรางวัลระดับชาติหรือนานาชาติ

35 องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน
ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน ตัวบ่งชี้ที่ 5.3 การประเมินผู้เรียน ตัวบ่งชี้ที่ 5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

36 ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร
ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร หลักคิดในการออกแบบหลักสูตร ข้อมูลที่ใช้ในการพัฒนาหลักสูตรและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ การพิจารณาอนุมัติหัวข้อวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษา เกณฑ์การประเมิน ไม่มีระบบ ไม่มีกลไก ไม่มีแนวคิดในการกำกับ ติดตาม ปรับปรุง ไม่มีข้อมูลหลักฐาน 1 มีระบบ มีกลไก ไม่มีการนำระบบและกลไกไปสู่การปฏิบัติ/การดำเนินงาน 2 มีระบบ มีกลไก มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/การดำเนินงานมีการประเมิน ไม่มีการปรับปรุง/พัฒนา/บูรณาการจากผลการประเมิน 3 มีระบบ มีกลไก มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/การดำเนินงานมีการประเมิน มีการปรับปรุง/พัฒนา/บูรณาการจากผลการประเมิน 4 มีครบในข้อ 3 มีผลจากการปรับปรุงเห็นชัดเป็นรูปธรรม 5 มีการดำเนินการใน 4 และมีแนวทางปฏิบัติ โดยมีหลักฐานเชิงประจักษ์ยืนยัน และกรรมการผู้ประเมินสามารถให้เหตุผลอธิบาย เป็นแนวปฏิบัติที่ดีได้ชัดเจน

37 ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน
ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน การพิจารณากำหนดผู้สอน การกำกับติดตามและตรวจสอบการจัดทำ มคอ 3และ มคอ 4 การแต่งตั้งอจ.ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิต การกำกับกระบวนการเรียนการสอน การจัดการเรียนการสอนที่มีการฝึกปฏิบัติในระดับปริญญาตรี การบูรณาการพันธกิจต่างๆกับการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี การช่วยเหลือ กำกับติดตามในการทำวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระและการตีพิมพ์ผลงานในระดับบัณฑิตศึกษา

38 ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน
ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน เกณฑ์การประเมิน ไม่มีระบบ ไม่มีกลไก ไม่มีแนวคิดในการกำกับ ติดตาม ปรับปรุง ไม่มีข้อมูลหลักฐาน 1 มีระบบ มีกลไก ไม่มีการนำระบบและกลไกไปสู่การปฏิบัติ/การดำเนินงาน 2 มีระบบ มีกลไก มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/การดำเนินงานมีการประเมิน ไม่มีการปรับปรุง/พัฒนา/บูรณาการจากผลการประเมิน 3 มีระบบ มีกลไก มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/การดำเนินงานมีการประเมิน มีการปรับปรุง/พัฒนา/บูรณาการจากผลการประเมิน 4 มีครบในข้อ 3 มีผลจากการปรับปรุงเห็นชัดเป็นรูปธรรม 5 มีการดำเนินการใน 4 และมีแนวทางปฏิบัติ โดยมีหลักฐานเชิงประจักษ์ยืนยัน และกรรมการผู้ประเมินสามารถให้เหตุผลอธิบาย เป็นแนวปฏิบัติที่ดีได้ชัดเจน

39 ตัวบ่งชี้ที่ 5.3 การประเมินผู้เรียน
การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอนและประเมินหลักสูตร (มคอ. 5,6,7) การประเมินวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษา

40 ตัวบ่งชี้ที่ 5.3 การประเมินผู้เรียน
ตัวบ่งชี้ที่ 5.3 การประเมินผู้เรียน เกณฑ์การประเมิน ไม่มีระบบ ไม่มีกลไก ไม่มีแนวคิดในการกำกับ ติดตาม ปรับปรุง ไม่มีข้อมูลหลักฐาน 1 มีระบบ มีกลไก ไม่มีการนำระบบและกลไกไปสู่การปฏิบัติ/การดำเนินงาน 2 มีระบบ มีกลไก มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/การดำเนินงานมีการประเมิน ไม่มีการปรับปรุง/พัฒนา/บูรณาการจากผลการประเมิน 3 มีระบบ มีกลไก มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/การดำเนินงานมีการประเมิน มีการปรับปรุง/พัฒนา/บูรณาการจากผลการประเมิน 4 มีครบในข้อ 3 มีผลจากการปรับปรุงเห็นชัดเป็นรูปธรรม 5 มีการดำเนินการใน 4 และมีแนวทางปฏิบัติ โดยมีหลักฐานเชิงประจักษ์ยืนยัน และกรรมการผู้ประเมินสามารถให้เหตุผลอธิบาย เป็นแนวปฏิบัติที่ดีได้ชัดเจน

41 ตัวบ่งชี้ที่ 5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐาน
คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ จำนวนตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯที่ดำเนินการได้จริง จำนวนตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯที่ต้องดำเนินงาน ในปีการศึกษานั้นๆ × 100 ค่าร้อยละ คิดเป็น 5 คะแนน ค่าร้อยละ คิดเป็น 1 คะแนน ค่าร้อยละ ไม่เกิน คิดเป็น 0 คะแนน ค่าร้อยละที่มากกว่า 80และไม่เกินร้อยละ 100 นำมาคิดคะแนนดังนี้ คะแนนที่ได้ = (ค่าร้อยละที่คำนวนได้จากข้อ 1-80) หมายเหตุ 0.2 หมายถึง สัดส่วนของคะแนน 4 โดยคิดจากร้อยละระหว่าง 80 ถึง 100 ดจ

42 องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ ตัวบ่งชี่ที่ 6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบันโดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ประจำหลักสูตรเพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

43 ตัวบ่งชี้ที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
ตัวบ่งชี้ที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ เกณฑ์การประเมิน ไม่มีระบบ ไม่มีกลไก ไม่มีแนวคิดในการกำกับ ติดตาม ปรับปรุง ไม่มีข้อมูลหลักฐาน 1 มีระบบ มีกลไก ไม่มีการนำระบบและกลไกไปสู่การปฏิบัติ/การดำเนินงาน 2 มีระบบ มีกลไก มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/การดำเนินงานมีการประเมิน ไม่มีการปรับปรุง/พัฒนา/บูรณาการจากผลการประเมิน 3 มีระบบ มีกลไก มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/การดำเนินงานมีการประเมิน มีการปรับปรุง/พัฒนา/บูรณาการจากผลการประเมิน 4 มีครบในข้อ 3 มีผลจากการปรับปรุงเห็นชัดเป็นรูปธรรม 5 มีการดำเนินการใน 4 และมีแนวทางปฏิบัติ โดยมีหลักฐานเชิงประจักษ์ยืนยัน และกรรมการผู้ประเมินสามารถให้เหตุผลอธิบาย เป็นแนวปฏิบัติที่ดีได้ชัดเจน

44


ดาวน์โหลด ppt การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน Internal Quality Assurance

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google