งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เป้าหมาย SP สุขภาพจิต # ดูแลตนเองได้ # ครอบครัว/ชุมชน #ลดความรุนแรง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เป้าหมาย SP สุขภาพจิต # ดูแลตนเองได้ # ครอบครัว/ชุมชน #ลดความรุนแรง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เป้าหมาย SP สุขภาพจิต # ดูแลตนเองได้ # ครอบครัว/ชุมชน #ลดความรุนแรง
มีความสุข #ลดความรุนแรง #ลดอัตราป่วยซ้ำ #มาตรฐานบริการ #ลดฆ่าตัวตายซ้ำ/สำเร็จ #เข้าถึงบริการ ระยะยาว

2 ผลลัพธ์ที่ต้องการ (Small Success)*
3 เดือน ร้อยละ 40 ของหน่วยบริการระดับA-M2ที่มีระบบบริการจิตเวชเร่งด่วนตามบริบทและแนวทางของการจัดบริการ acute care ร้อยละ 60 ของหน่วยบริการระดับ M2-F2 ที่มีการบริหารจัดการให้มียาจิตเวชตามบัญชีรายการยาจิตเวชและยาเสพติด ร้อยละ 60 ของหน่วยบริการในเขตมีระบบเฝ้าระวังช่วยเหลือผู้ที่เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย ร้อยละ 50 ของหน่วยบริการในเขตสุขภาพที่มีบริการติดตามดูแลต่อเนื่องผู้ที่ฆ่าตัวตายและมีการบันทึกข้อมูลใน รง. 506-S 6 เดือน ร้อยละ 50 ของหน่วยบริการที่มีการคัดกรองความเสี่ยงฆ่าตัวตายในกลุ่มเสี่ยง 3 กลุ่ม ได้แก่ ผู้ป่วยโรคซึมเศร้า/โรคจิต โรคทางกายเรื้อรัง โรคจากการใช้สุราสารเสพติด ร้อยละ 100 ของอำเภอสุขภาพดี มีตำบลสุขภาพดี ที่บูรณาการกิจกรรมสร้างความตระหนักของประชาชนทั่วไปและญาติ แกนนำชุมชน ในเรื่องสัญญาณเตือนของการฆ่าตัวตายและการช่วยเหลือเบื้องต้น 9 เดือน ร้อยละ 80 ของสถานพยาบาล มีบริการติดตามดูแลต่อเนื่องผู้ที่ ฆ่าตัวตายและบันทึกข้อมูลใน รง.506 ร้อยละ 60 ของหน่วยบริการระดับ A-M2 ที่มีระบบบริการจิตเวชเร่งด่วนตามบริบทและแนวทางการจัดบริการ acute care ร้อยละ 10 ของหน่วยบริการระดับ A, S, M1 ที่มีการพัฒนาระบบบริการตามแนวทางกรมสุขภาพจิตที่ผ่าน ขั้นที่ 1 เดือน ร้อยละ 70 ของจังหวัดในเขตสุขภาพที่มีอัตราการการเข้าถึงบริการโรคจิตและโรคซึมเศร้าที่ผ่านค่าเป้าหมาย (โรคจิต 65%/ โรคซึมเศร้า 50%) ร้อยละ 8 ของเด็กที่เป็นโรคสมาธิสั้นเข้าถึงบริการตามเกณฑ์ในเขตสุขภาพ ร้อยละ 80 ของผู้พยายาม ฆ่าตัวตายไม่กลับไปทำร้ายตนเองซ้ำภายใน 1 ปี ร้อยละ 5 ของจำนวนผู้ฆ่าตัวตายสำเร็จลดลงจากเดิม

3 SP สุขภาพจิตและจิตเวช X 5.ร้อยละ 8 ของผู้มีปัญหาโรคสมาธิสั้น
จังหวัดพิษณุโลก Quick Win Outcome KPI √ 1อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ(ไม่เกิน6.3ต่อประชากรแสนคน) 3.77ต่อประชากรแสนคน (ไม่ผ่านเกณฑ์= นครไทย,บางกระทุ่ม) √ 2. ร้อยละ 80 ของ ผู้พยายามฆ่าตัวตาย ไม่กลับไปทำร้ายตนเอง ซ้ำภายใน 1 ปี ร้อยละ 96.62 √ 3.ผู้ป่วย โรคจิต เข้าถึงบริการ ภาพรวม % (เกณฑ์ >= 65%) ผ่านเกณฑ์ =นครไทย, ชาติตระการ, บางกระทุ่ม,วังทอง และ เนินมะปราง √ 4.ผู้ป่วยโรคซึมเศร้า ภาพรวม % (เกณฑ์ >= 50%) ผ่านเกณฑ์=เมือง,บางระกำ, บางกระทุ่ม,วัดโบสถ์ X 5.ร้อยละ 8 ของผู้มีปัญหาโรคสมาธิสั้น เข้าถึงบริการ ภาพรวม 7.36% √ 6.ร้อยละ 50 ของหน่วยบริการที่มีการคัดกรองและเฝ้าระวังความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายในกลุ่มเสี่ยง3กลุ่มโรค ภาพรวม 100% ผ่านเกณฑ์ = ทุกอำเภอ

4 การบริหารระบบ (6 BB) SP สุขภาพจิต จิตเวช ปี 2560
บริการเตียงผู้ป่วยจิตเวช/ยาเสพติดภาวะเร่งด่วน (Acute care) รพ.ระดับ A,S, M1,M2 คลินิกผู้มีปัญหาสุขภาพจิต บริการคัดกรองและให้คำปรึกษาผู้ที่เสี่ยงฆ่าตัวตาย ในคลินิกโรคเรื้อรัง คลินิกจิตเวช บริการประเมินและแก้ไขเด็กพัฒนาการล่าช้ารพช. F1 ขึ้นไป บริการบำบัดรักษาผู้ป่วยนอกจิตเวชเด็กรพช.F1ขึ้นไป ระบบสารสนเทศ Information system & sharing จังหวัด มีฐานข้อมูลผู้ป่วยจิตเวช ผู้ป่วยสุราใน43 แฟ้ม จังหวัด มีระบบรายงานการฆ่าตัวตาย ที่เชื่อมโยงระหว่าง รพ.สป. เขตสุขภาพ กรมวิชาการ ( รง 506 S) เทคโนโลยี การเงิน Financing Service Indicator ร้อยละของผู้ที่พยายามฆ่าตัวตายไม่กลับไปทำร้ายตนเองซ้ำในระยะเวลา 1 ปี ร้อยละของสถานพยาบาลที่มีมาตรฐานในการบริการจิตเวช ระดับ 1 ร้อยละของผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง 3 กลุ่ม (โรคจิต โรคซึมเศร้า โรคสุรา ยาเสพติด และโรคเรื้อรัง) เข้าถึงบริการ ยาจิตเวช/ยาบำบัดสารเสพติดที่จำเป็น ในหน่วยบริการ A-F3 แนวทางการจัดบริการสุขภาพจิตและจิตเวชใน รพศ รพท รพจ กรมสุขภาพจิต แนวทางการดูแลผู้ที่เสี่ยงฆ่าตัวตาย อุปกรณ์ผูกมัดผู้ป่วยรพ.ทุกระดับ TEDA4I รพ. F3ขึ้นไป งบประมาณการบำบัดรักษา ค่ายาและวัสดุทางการแพทย์ ค่าบริการทางการแพทย์ ระบบผู้ป่วยนอก ระบบฉุกเฉิน และระบบผู้ป่วยใน ค่าส่งต่อผู้ป่วยจิตเวช เพื่อรับการรักษา งบประมาณพัฒนาหน่วยบริการ ค่าปรับปรุงสถานที่สำหรับการดูแลผู้ป่วยจิตเวช งบประมาณพัฒนาบุคลากร กำลังคนด้านสุขภาพ Health workforce จิตแพทย์ รพ.ระดับ A , S อย่างน้อย 1 คน จิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น รพ.ระดับ A,S อย่างน้อย 1 คน แพทย์เวชศาสตร์ป้องกันสาขาจิตเวชชุมชน รพ.ระดับ M1 อย่างน้อย 1 คน แพทย์ผ่านอบรมเวชศาสตร์ยาเสพติด(5 วัน) รพ.A,S,M1,M2,F1-3 อย่างน้อย 1 คน พยาบาล PG จิตเวข รพ.ระดับ A, S และ M1 อย่างน้อย 2-3 คน พยาบาล PG จิตเวชเด็กและวัยรุ่น รพ.ระดับ A,S อย่างน้อย 1- 2 คน พยาบาล PG ผู้ใช้ยาและสารเสพติด รพ.A,S,M1 อย่างน้อย 1 คน จนท.ผ่านการอบรมระยะสั้นการบำบัดรักษายาเสพติด(3-5วัน)รพ.ทุกระดับ อย่างน้อย 1 คน เภสัชกรผ่านการอบรมยาจิตเวช รพ.ระดับ A,S,M1 อย่างน้อย 1– 2 คน นักจิตวิทยา รพ.ระดับ A,S,M1 อย่างน้อย 1 คน นักสังคมสงเคราะห์ รพ.ระดับ A,S,M1 อย่างน้อย 1 คน นักกิจกรรมบำบัด รพ.ระดับ A,S อย่างน้อย 1 คน นักเวชศาสตร์การสื่อความหมาย รพ.ระดับ A,S อย่างน้อย 1 คน ธรรมาภิบาล Leadership & Governance คณะกรรมการ Service Plan ระดับเขต, จังหวัด คณะกรรมการ DHS / คณะกรรมการภาคประชาสังคม /สื่อท้องถิ่น คณะอนุกรรมการประสานงานเพื่อการบังคับใช้ พรบ.สุขภาพจิต พ.ศ.2551 ระดับจังหวัด คณะกรรมการสถานบำบัดรักษาตาม พรบ.สุขภาพจิตพ.ศ.2551

5 ข้อมูลบุคลากรสุขภาพจิต
ชาติตระการ 1.แพทย์อนุมัติบัตรฯ 1 คน 2.PG สุขภาพจิต 2 คน 3.นักจิตฯ 1 คน วัดโบสถ์ 1.แพทย์อนุมัติบัตรฯ 1 คน 2.PG สุขภาพจิต 2 คน พรหมพิราม 1.แพทย์อนุมัติบัตร 1 คน 2.PG จิตเวช 1 คน 3.PGยาเสพติด 1 คน 4.เภสัชฯ 1 คน นครไทย 1.PG จิตเวชผู้ใหญ่ 3 คน 2.PG จิตเวชเด็ก 2 คน 3.PG ยาเสพติด 1 คน 4.นักจิตฯ 1 คน พุทธชินราช 1.จิตแพทย์ผู้ใหญ่ 5 คน 2.จิตแพทย์เด็กฯ 1 คน 3.แพทย์อนุมัติบัตรฯ 2 คน 4.พยาบาลฯ 5 คน 5.เภสัชฯ 1 คน 6.นักกิจกรรม 1 คน รพ.มน. 1.จิตแพทย์ผู้ใหญ่ 1 คน 2.จิตแพทย์เด็ก 2 คน วังทอง 1.แพทย์อนุมัติบัตรฯ 1 คน 2.PG สุขภาพจิต 4 คน 3.เภสัชฯ 1 คน 4.PG เด็ก 2 คน 5.PG ยาเสพติด 2 คน บางกระทุ่ม 1.PG สุขภาพจิต 1 คน 2.เภสัชฯ 1 คน บางระกำ 1.PG จิตเวช 1 คน 2.นักจิตฯ 1 คน เนินมะปราง 1.PG สุขภาพจิต 1 คน

6 ข้อมูลบุคลากรด้านสุขภาพจิต
โรงพยาบาล รพ.พุทธชินราช รพ.มน. รพร.นครไทย รพ.ชาติตระการ รพ.บางระกำ รพ.บางกระทุ่ม รพ.พรหมพิราม รพ.วังทอง รพ.วัดโบสถ์ รพ.เนินมะปราง รวม จิตแพทย์ผู้ใหญ่ 5 1 6 จิตแพทย์เด็ก 2 3 แพทย์อนุมัติบัตรจิตเวชชุมชน - พยาบาลเฉพาะทางสุขภาพจิต(ผญ) 4 23 พยาบาลเฉพาะทางสุขภาพจิต(ด) นักจิตฯ เภสัชเฉพาะทางฯ พยาบาลเฉพาะทาง ยาเสพติด

7 ตัวชี้วัด อัตราฆ่าตัวตายสำเร็จ
(6.3 ต่อประชากรแสนคน) …………. 1.สถานการณ์ ฆ่าตัวตายสำเร็จ (ต่อประชากรแสนคน) พื้นที่ /ปีงบประมาณ 2557 2558 2559 ระดับเขต2 7.82 9.22 8.95 พิษณุโลก 6.53 9.06 7.26 2 มาตรการเด่น 1. ค้นหาคัดกรองความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายในกลุ่มเสี่ยงสำคัญ 2. ให้ความรู้ Warning sign 3. ติดตามดูแลรักษากลุ่มผู้ป่วยโรคจิต ซึมเศร้า ตามมาตรฐาน 4. เยี่ยมบ้านโดยสหวิชาชีพ 5. พัฒนาผลงานวิชาการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานจิตเวช 6. บูรณาการระบบป้องกันการฆ่าตัวตายที่เชื่อมกับ DHS

8 อัตราฆ่าตัวตายสำเร็จ 6.3 ต่อแสนประชากร

9 ข้อมูลการฆ่าตัวตายสำเร็จ จังหวัดพิษณุโลก

10 ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการสุขภาพจิต (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50)

11 Service Gaps ( 6 BB ) 6 BB ปัญหา แนวทางแก้ไข Leadership & Governance
-ระบบ acute care – คกก ระดับจังหวัด ปป บ่อย ทำให้ขาดความเข้าใจในการสั่งการของภาคีเครือข่าย /ระบบงาน -คทง.ระดับอำเภอประสานความร่วมมือในพื้นที่อย่างสม่ำเสมอ -จัดงบประชุม คกก.ระดับจังหวัดปีละ 2 ครั้ง ระบบสารสนเทศ - ระบบฐานข้อมูลฐานข้อมูล (43 แฟ้ม, ข้อมูล สปสช. และ ข้อมูล รพ.ในกรมสุขภาพจิต) ไม่สอดคล้อง - การเชื่อมโยงข้อมูลภายในจังหวัดยังเป็นปัญหา อยู่ระหว่างดำเนินการปรับปรุง แก้ไข ทั้งระดับสถานบริการและระดับจังหวัด กำลังคน -จิตแพทย์เด็ก&วัยรุ่นไม่เพียงพอ -แพทย์รพช.ผู้รับผิดชอบงานจิตเวช เปลี่ยนแปลงบ่อย -จนท. ( รพช.) ไม่เพียงพอ /ขาดโครงสร้างที่ชัดเจน( PGผู้ใหญ่ / เด็ก) , นักจิตวิทยา ยังมีไม่ครบทุก รพ. -จนท. ( ระดับ รพ.สต.) ผู้รับผิดชอบงานเปลี่ยนแปลง โยกย้าย -จัดทำแผนอัตรากำลัง ระยะ 5 ปี -จัดอบรม/conference/extend OPD/ให้ความรู้แพทย์ รพช. ในระดับจังหวัดและแพทย์จบใหม่ในระดับเขต -คกก.SP จังหวัดร่วมแก้ไขปัญหาเรื่องอัตรากำลังคน -รอการแก้ไขโครงสร้างระดับกระทรวง เทคโนโลยี/สถานที่ -สถานที่คับแคบ ไม่เหมาะสม /บางรพช.ต้องใช้สถานที่ร่วมกับคลินิกอื่น -เครื่องมือตรวจสภาพจิต ขาดในรพช -ด้านยา และ CPG สามารถดำเนินการได้ในระบบเครือข่าย คกก.SP จังหวัดร่วมแก้ไขปัญหาเรื่องเครื่องมือและสถานที่ เงิน -การใช้งบฯจัดหาเครื่องมือจิตวิทยา/ สถานที่ ไม่สามารถใช้งบประมาณในระดับเขตได้ - งบประมาณไม่ได้รับในระดับเขต -ขอความร่วมมือจากผู้บริหารสถานบริการระดับจังหวัด / เขต

12

13

14 คลินิกยาเสพติดผ่านคุณภาพ HA ผ่านการรับรอง/โรงพยาบาลทั้งหมด
ร้อยละ รพศ. รพท. รพช. ตาก 6/8 75.00 - 2/2 4/6 พิษณุโลก 9/9 100 1/1 8/8 เพชรบูรณ์ 9/11 81.82 8/10 สุโขทัย 7/7 อุตรดิตถ์ 5/9 55.56 0/0 4/8 (1 รอแก้ไข 3 ประเมิน ) รวม 38/46 82.61 2/2 (100%) 5/5 (100%) 31/39 (79.49%)

15 การบริหารระบบ (6BB)SP ยาเสพติด
การจัดบริการสุขภาพ (Health service delivery) การอภิบาลระบบ (Leadership & Governance) เทคโนโลยี มาตรฐานการบำบัดทุกระบบ ชุดตรวจปัสสาวะหาสารเสพติด รพ.ระดับ F3 ขึ้นไป มีระบบการติดตามผู้ผ่านการบำบัด บริการเตียงผู้ป่วยจิตเวช/ยาเสพติดภาวะเร่งด่วน รพ.ระดับ A มีมาตรฐาน ดำเนินการศูนย์เพื่อการคัดกรองผู้ติดยาเสพติด ร้อยละ 100 มีมาตรฐาน คลินิกผู้ป่วยนอกยาเสพติดคุณภาพ ร้อยละ 70 จัดบริการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาเสพติดในรูปแบบ ค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มีมาตรฐาน จัดบริการบำบัดรักษาในรูปแบบผู้ป่วยนอกในโรงพยาบาลทุกระดับ การจัดบริการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาเสพติดใน รพ.สต. ผลักดันเป็นนโยบายผ่านกรรมการระดับเขต/ระดับจังหวัด คณะกรรมการ Service Plan สาขายาเสพติด เขต 2 การกำกับติดตาม โดยคณะกรรมการ Servive Plan เขต 2 จากระบบข้อมูล บสต. เครือข่าย Participation ปกครอง /ตำรวจ /คุมประพฤติ/ราชทัณฑ์/สถานพินิจ/สถานศึกษา เครือข่ายบำบัดรักษา ตัวชี้วัด ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจำหน่ายจากการบำบัดรักษา (ร้อยละ 92) ระบบสารสนเทศ Information system & sharing กำลังคนด้านสุขภาพ (Hearth workforce) จิตแพทย์,จิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น ระดับ A อย่างน้อย 1 คน แพทย์เวชศาสตร์ป้องกันสาขาจิตเวชชุมชน รพ.ระดับ M 1 อย่างน้อย 1 คน แพทย์ผ่านอบรมเวชศาสตร์ยาเสพติด (5 วัน ) รพ.ทุกระดับ อย่างน้อย 1 คน พยาบาล PG จิตเวช, จิตเวชเด็กและวัยรุ่น, ผู้ใช้ยาและสารเสพติด ระดับ A,S,M อย่างน้อย 2-3 คน จนท.ผ่านการอบรมระยะสั้นด้านยาเสพติด (3-5 วัน) ทุกระดับ อย่างน้อย 1 คน เภสัชกรผ่านการอบรมยาจิตเวช รพ.ระดับ A,M1 อย่างน้อย 1-2 คน นักจิตวิทยา รพ.ระดับ A,M1 อย่างน้อย 1 คน นักสังคมสงเคราะห์ รพ.ระดับ A,M 1 อย่างน้อย 1 คน นักกิจกรรมบำบัด รพ ระดับ A อย่างน้อย 1 คน นักเวชศาสตร์การสื่อความหมาย รพ.ระดับ A รพ.ระดับ A รพ.ระดับ A อย่างน้อย 1 คน ระบบข้อมูล บสต. ฐานข้อมูลด้านการบำบัดบุหรี่ สุรา จาก 43 แฟ้ม ระบบข้อมูลผู้เข้ารับการบำบัดในระบบ GIS ระบบข้อมูลบุคลากร การเงิน (Financing) งบประมาณการบำบัดรักษา ค่ายาและวัสดุการแพทย์ ค่าบริการทางการแพทย์ งบประมาณพัฒนาหน่วยบริการ งบประมาณพัฒนาบุคลากร

16 2 มาตรการเด่น พัฒนางาน HA ยาเสพติด (9/9 รพ 100 %)
ตัวชี้วัด ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจำหน่ายการบำบัดรักษา (3 month remission rate ร้อยละ 92) P&P Excellence …………. 1.สถานการณ์ หยุดเสพ 3 ด. (ร้อยละ) พื้นที่ /ปีงบประมาณ 2557 2558 2559 ระดับประเทศ 87.26 87.75 92.09 พิษณุโลก 92.83 91.82 98.31 เป้าหมาย (คน) 307 159 237 ผลงาน (คน) 285 146 233 2 มาตรการเด่น พัฒนางาน HA ยาเสพติด (9/9 รพ 100 %) อบรม รพ, รพ.สต.การบริการคัดกรอง บำบัดฟื้นฟู และติดตาม อบรมการบันทึกข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต รพ.จัดบริการรองรับการบำบัดบังคับแบบไม่ควบคุมตัว

17 เป้าหมาย รพ.สต.146, รพ.9 ร้อยละ 100
ตัวชี้วัด ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจำหน่ายการบำบัดรักษา (3 month remission rate ร้อยละ 92) P&P Excellence …………. มาตรการ เป้าหมาย 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน ร้อยละ 50 ของค่ายศูนย์ขวัญ, ค่ายวิวัฒน์ฯ, ระบบต้องโทษ จัดบริการตามมาตรฐาน สธ. ร้อยละ 80 ของค่ายศูนย์ขวัญ, ค่ายวิวัฒน์ฯ, ระบบต้องโทษ จัดบริการตามมาตรฐาน สธ. ร้อยละ 92 ผู้ป่วยยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจำหน่ายจากการบำบัดรักษาตามเกณฑ์กำหนด ร้อยละ 30 ของหน่วยบริการมีมาตรการ ลดอันตราย ร้อยละ 40 ของหน่วยบริการมีมาตรการ ลดอันตราย ร้อยละ 50 ของหน่วยบริการมีมาตรการ ลดอันตราย 3. Quick Win เป้าหมาย 5 แห่ง ผลงาน 5 แห่ง ร้อยละ 100 เป้าหมาย รพ.สต.146, รพ.9 ร้อยละ 100 ผลการดำเนินงาน หยุดเสพ 3 ด. (ข้อมูล 1ต.ค.59 – 30 มิ.ย.60) เป้าหมาย 270 ผลงาน 264 ร้อยละ 97.78

18 ที่มา ข้อมูล บสต. เดือน ตค-มิย.60
ตัวชี้วัด ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจำหน่ายการบำบัดรักษา (3 month remission rate ร้อยละ 92) อำเภอ ระบบสมัครใจ ระบบบังคับบำบัด ทุกระบบ ข้อมูลที่ 1 ข้อมูลที่ 2 % เมืองพิษณุโลก 74 100 80 85 94.12 154 159 96.86 นครไทย 27 100.00 ชาติตระการ 5 บางระกำ 20 21 95.24 1 22 95.45 บางกระทุ่ม พรหมพิราม 10 วังทอง 32 วัดโบสถ์ เนินมะปราง 7 รวม 182 183 99.45 82 87 94.25 264 270 97.78 ที่มา ข้อมูล บสต. เดือน ตค-มิย.60

19


ดาวน์โหลด ppt เป้าหมาย SP สุขภาพจิต # ดูแลตนเองได้ # ครอบครัว/ชุมชน #ลดความรุนแรง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google