งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 มารยาทไทย.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 มารยาทไทย."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 มารยาทไทย

2 มารยาทในการแสดงความเคารพ

3 มารยาทในการแสดงความเคารพ(ต่อ)

4 มารยาทในการแสดงความเคารพ(ต่อ)

5 มารยาทในการแสดงความเคารพ(ต่อ)

6 มารยาทในการแสดงความเคารพ(ต่อ) การกราบที่ถูกต้องของคนไทยเป็นแบบไหน?

7 มารยาทในการแสดงความเคารพ(ต่อ)

8 มารยาทในการแสดงความเคารพ(ต่อ) การกราบที่ถูกต้องของคนไทยเป็นแบบนี้

9 มารยาทในการแสดงความเคารพ(ต่อ) การกราบแบบเบญจางคประดิษฐ์
ท่าเตรียม ชาย นั่งคุกเข่าตัวตรงปลายเท้าและส้นเท้าชิดกันนั่งบนส้นเท้าเข่าทั้ง2ข้างห่างกันพอประมาณมือทั้งสองวางคว่ำบนหน้าขาทั้งสองข้าง นิ้วชิดกัน(ท่าเทพบุตร) หญิง นั่งคุกเข่าตัวตรง ปลายเท้าราบเข่าถึงปลายเท้าชิดกัน นั่งบนส้นเท้ามือทั้งสองวางคว่ำบนหน้าขาทั้งสองข้างนิ้วชิดกัน(ท่าเทพธิดา)

10 การกราบแบบเบญจางคประดิษฐ์
จังหวะที่ ๒ (วันทา) ยกมือขึ้น พร้อมกับก้มศีรษะ โดยให้ปลายนิ้วชี้จรดหน้าผาก จังหวะที่ ๓ (อภิวาท) ทอดมือลง กราบ ให้มือและแขนทั้งสองข้างลงพร้อมกัน มือคว่ำห่างกันเล็กน้อยพอให้หน้าผากจรด พื้นระหว่างมือ ชาย ให้กางศอกทั้งสอง ข้างลง ต่อจากเข่าขนานไปกับพื้น หลังไม่ โก่ง หญิง ให้ศอกทั้งสองข้างคร่อมเข่าเล็ก น้อย ทำสามจังหวะให้ครบสามครั้ง แล้วยกมือขึ้นจบโดยให้ปลายนิ้วชี้จรดหน้าผาก แล้วปล่อยมือลง การกราบไม่ควรให้ช้าหรือ เร็วเกินไป

11 มารยาทในการสนทนา ข้อควรปฏิบัติในการสนทนา 1.  อย่าทำตัวเป็นผู้รู้ไปทุกเรื่อง หรือถ่อมตนจนเหมือนคนโง่ 2.  อย่าแย้งพูดเพียงคนเดียว หรือฟังแต่เพียงอย่างเดียว 3.  ละเว้นเรื่องส่วนตัว 4.  ไม่ใช้วาจาเท็จ 5.  ไม่ใช้วาจายุยงให้ผู้อื่นแตกร้าว 6.  พูดชมเชยอย่างจริงใจ 7.  ไม่ต้องบทการสนทนา 9.  ขอโทษเมื่อกล่าวผิดพลาด       10. หลีกเลี่ยงการใช้เสียงที่ดัง จนเกินไป       11. อย่าบ่นถึงเคราะห์กรรม       12. อย่านินทา       13. อย่าบ่นไม่ชอบคนโน้นคนนี้       14. อย่าตั้งใจโต้เถียงอย่างเอาชนะ       15. ไม่ลบหลู่ดูหมิ่นบุพการี 8.  หลีกเลี่ยงวาจาหยาบคาย

12 มารยาทในการแต่งกาย มารยาทในการแต่งกายที่ถูกต้อง
1.แต่งกายถูกต้องตามกาลเทศะ คำนึงถึงสถานที่ โอกาส เช่น ไปโรงเรียนแต่งชุดนักเรียน 2.สวมเสื้อผ้าที่สะอาดเรียบร้อยไม่จำเป็นต้องมีราคาแพง 3.แต่งกายมิดชิด ไม่ล่อแหลม 4.ไม่สวมเครื่องประดับเยอะจนเกินไปเพราะอาจจะเป็นอันตรายได้

13 มารยาทในการแต่งกาย(ต่อ)

14 มารยาทในการแต่งกาย(ต่อ)
การแต่งกายไปวัด เหมาะสม ไม่เหมาะสม

15 การมีสัมมาคารวะ

16 การมีสัมมาคารวะ(ต่อ)
ลักษณะของผู้ที่มีสัมมาคารวะ 1.ให้ความเคารพ นับถือ เชื่อฟังผู้อาวุโส 2.กิริยามารยาทเรียบร้อย สำรวมทั้งกายใจ 3.พูดจากสุภาพ ไม่ให้ร้ายผู้อื่น 4.อ่อนน้อมถ่อมตน ไม่ถือเอาตนเองเป็นใหญ่ การปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีของการมีสัมมาคารวะ 1.ระมัดระวังในการกระทำตน ปฏิบัติตนอย่างสุภาพ 2.ปฏิบัติตนเป็นผู้นอบน้อมอ่อนโยนต่อผู้อื่นเสมอ 3.มีสัมมาคารวะทั้งกาย วาจา ใจ ต่อทุกคน

17 การมีสัมมาคารวะ(ต่อ)
การมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์และแนะนำผู้อื่นให้ปฏิบัติตนอย่างมีสัมมาคารวะ 1.อธิบายถึงคุณค่า ความสำคัญและผลดีที่เกิดจากการเป็นผู้มีสัมมาคารวะ 2.คอยตักเตือนบุคคลใกล้ชิดให้ปฏิบัติตนอยู่เสมอ 3.ชักชวนผู้อื่นให้ร่วมกันปฏิบัติตนและคอยชื่นชมอยู่เสมอ

18 รูปภาพอ้างอิง จาก www.google.co.th


ดาวน์โหลด ppt หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 มารยาทไทย.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google