งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย

2

3 ที่มาของโครงการเฉลิมพระเกียรติฯ
ปี 2555 – 2556 เด็กกลุ่มเสี่ยง ใน 8 จังหวัดภาคเหนือ - LBW 10% - Birth Asphyxia 25/1,000 lb. สาเหตุ : ขาดธาตุไอโอดีน /ยากจน/ ขาดสารอาหาร ปัญหา : ภาระของครอบครัว และสังคม

4 เครื่องมือ 1.คู่มือติดตามพัฒนาการเด็กไทย LCDSI
(เล่มเขียว) 2.แบบบันทึกข้อมูล และโปรแกรม LCDIP 1, 2, 3

5 โครงการบูรณาการพัฒนาการเด็กไทย (LCDIP)
วัตถุประสงค์ เพื่อให้เกิดระบบการเฝ้าระวัง คัดกรอง ส่งเสริม พัฒนาการ เด็กแรก เกิด – 5 ปี แบบบูรณาการ (Model Development) สำหรับเป็น ต้นแบบในการแก้ไขปัญหาเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้า หากการ ประเมินได้ผลดีจะได้ขยายประสบการณ์ไปยังจังหวัดอื่นและนำเสนอ กระทรวงสาธารณสุขเพื่อใช้ทั่วประเทศต่อไป เพื่อให้มีระบบรายงานข้อมูลเป็นปัจจุบัน (Real time) ของเด็กไทย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพให้พ่อแม่ ผู้ปกครอง ส่งเสริมพัฒนาการเด็กได้ อย่างถูกต้อง เหมาะสม (Early Intervention) เพื่อเพิ่มศักยภาพเจ้าหน้าที่สาธารณสุขให้สามารถประเมินพัฒนาการ เด็กที่มีภาวะพัฒนาการล่าช้าได้ตั้งแต่ระยะเริ่มต้น (Early Detection) และติดตามดูแล แนะนำการส่งเสริมพัฒนาการเด็กอย่างเนื่อง (Early Intervention)

6 ปัญหา : เด็กที่คลอดปกติแต่อาจเกิดพัฒนาการล่าช้า
ปัญหา : เด็กที่คลอดปกติแต่อาจเกิดพัฒนาการล่าช้า ภายหลัง จากการเลี้ยงดูโดยเฉพาะเด็กที่อยู่ กับปู่ย่าตายาย /โรค /สาเหตุอื่นๆ โครงการบูรณาการพัฒนาการเด็กไทย - ผู้ทรงคุณวุฒิ ร่วมมือกันผลิต ทดสอบ และปรับปรุง - คู่มือประเมินและส่งเสริม DAIM สำหรับเด็กกลุ่มเสี่ยง - คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริม DSPM สำหรับเด็กปกติ - เนื่องในวโรกาสที่สม เด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี ทรงเจริญพระชนมายุครบ 5 รอบ ในวันที่ 2 เมษายน 2558 กระทรวงสาสุขได้ทูลเกล้าฯถวายเป็นโครงการตามพระราชดำริ

7

8

9

10

11 เครื่องมือ เด็กกลุ่มเสี่ยง
เครื่องมือ เด็กปกติ คู่มือประเมินและส่งเสริมพัฒนาการเด็กกลุ่มเสี่ยง(เล่มสีเขียว) คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (เล่มสีขาว) มอบให้พ่อแม่ผู้ปกครองของเด็กแรกเกิดทุกคน ที่เกิดใน รพ.ทุกแห่ง ตั้งแต่วันที่ 2 เมษายน 2558 เป็นต้นมา

12 กลวิธีการดำเนินงานที่ผ่านมา
1. ใช้กลไก MCHB และ MCH Zone management 2. พัฒนาระบบ consult – refer /ผ่านระบบสื่อสาร Online (ระหว่าง รพ.-รพ.สต.ในอำเภอ/จังหวัด) 3. พัฒนาคุณภาพบริการ WCC ในรพ./รพ.สต. จัดบริการคลินิกส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ในทุก รพ. เพิ่มวันบริการตรวจพัฒนาการเด็กแยกจากคลินิกให้วัคซีน WCC (รพ.บางแห่ง) รพ.สต.ทุกแห่ง มีมุมตรวจพัฒนาการเด็กพร้อมอุปกรณ์ 4. พัฒนาคุณภาพศูนย์เด็กเล็ก 5. พัฒนาศักยภาพบุคลากรให้สามารถใช้เครื่องมือ DSPM และ DAIM ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 6. มอบอุปกรณ์ชุดตรวจประเมินพัฒนาการเด็กให้ รพ./รพ.สต.ทุกแห่ง และศดล.ต้นแบบ 29 แห่ง 7. นิเทศติดตามรพ./รพ.สต.โดยอำเภอ/จังหวัด/เขต

13 เด็กกลุ่มปกติ ห้องคลอด/PP ขั้นตอนการดำเนินงานโครงการส่งเสริมพัฒนาการ
เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุครบ 5 รอบ เด็กกลุ่มปกติ เด็กเกิดก่อน 2 เมย.58 เด็กเกิด2เมย.58เป็นต้นไป ห้องคลอด/PP -สอน/ใช้แจกDSPM -แจกDSPMทุกคน -แจกDSPMเฉพาะล่าช้า ประเมินพัฒนาการตามช่วงอายุ คลินิกWCC -สอน DSPM ซ้ำ/ ล่วงหน้า -บันทึกข้อมูลDSPM ปกติ ล่าช้า/สงสัย สอนช่วงอายุถัดไป กระตุ้น 1 ด. ส่งต่อ รพ./สถาบัน ผิดปกติ

14 เด็กกลุ่มเสี่ยง ห้องคลอด/PP ขั้นตอนการดำเนินงานโครงการส่งเสริมพัฒนาการ
เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุครบ 5 รอบ เด็กกลุ่มเสี่ยง ห้องคลอด/PP สอน/ใช้แจกDAIM -บันทึก LCDIP 1 ดูแลทารกแรกเกิด -NICU/เด็ก ตรวจLab /นมแม่/LCDIP2 ประเมินพัฒนาการตามช่วงอายุ คลินิกWCC -สอน DAIM ซ้ำ/ล่วงหน้า -บันทึกข้อมูลLCDIP3 ปกติ ล่าช้า/สงสัย สอนช่วงอายุถัดไป กระตุ้น 1 ด. ส่งต่อ รพ./สถาบัน ผิดปกติ

15 ผลการติดตามพัฒนาการเด็ก กลุ่มปกติ ที่มีอายุ 9-18-30-42 ด.
เกณฑ์เป้าหมาย : 1. ตรวจประเมิน มากกว่า ร้อยละ 80 2. มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 85 รายการ เมือง มร. ปาย ขุนยวม มลน. สบเมย ปมผ. รวม จำนวนเด็กเป้าหมาย 469 280 747 609 288 745 965 4103 ตรวจประเมินพัฒนาการ 430 233 383 514 102 582 572 2816 ร้อยละ 91.68 83.21 51.27 84.4 35.42 78.12 59.27 68.63 สมวัย 375 172 353 67 559 440 2246 87.2 73.82 73.11 68.68 65.69 96.05 76.92 79.76 สงสัยล่าช้า 55 61 103 161 35 23 132 570 12.78 26.18 26.89 31.32 34.31 3.95 23.08 20.24 ได้รับการติดตาม 51 50 93 127 19 507 11.86 21.46 24.28 24.71 3.26 18.00

16 ผลการตรวจพัฒนาการเด็ก อายุ 42 เดือน
ในช่วงสัปดาห์รณรงค์ วันที่ กรกฎาคม 2558 อำเภอ จำนวนเด็กเป้าหมาย เด็กที่ได้รับการคัดกรอง ร้อยละ พัฒนา การสมวัย สงสัยล่าช้า เมือง 84 81 96.43 69 85.19 12 14.81 ขุนยวม 23 21 91.30 10 47.62 11 52.38 ปาย 31 100.00 67.74 32.26 แม่สะเรียง 45 43 95.56 32 74.42 25.58 แม่ลาน้อย 41 78.05 9 21.95 สบเมย 90.00 3 33.33 6 66.67 ปางมะผ้า 25 92.00 52.17 47.83 รวม 259 249 96.14 179 71.89 70 28.11

17 ภาวะ Low birth weight จำนวน 463 ราย 1. ข้อมูลเด็ก
ผลการติดตามพัฒนาการเด็กกลุ่มเสี่ยง(LCDIP)จ.แม่ฮ่องสอน ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2556 – 30 กันยายน 2558 ภาวะ Low birth weight จำนวน 463 ราย 1. ข้อมูลเด็ก 1.1 Preterm ราย ( % ) 1.2 IUGR ราย ( % ) 1.3 ไม่ระบุ ราย ( 6.48 % ) น้ำหนักแรกคลอด เฉลี่ย กรัม APGAR Score ที่ 1,5,10 นาที เท่ากับ 8-10 คะแนน ร้อยละ 96.98 เพศ - ชาย % - หญิง %

18 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดภาวะ Low birth weight
ผลการติดตามพัฒนาการเด็กกลุ่มเสี่ยง(LCDIP)จ.แม่ฮ่องสอน ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2556 – 30 กันยายน 2558 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดภาวะ Low birth weight

19 2. ภาวะ Birth Asphyxia จำนวน 171 ราย 1. ข้อมูลเด็ก
ผลการติดตามพัฒนาการเด็กกลุ่มเสี่ยง(LCDIP)จ.แม่ฮ่องสอน ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2556 – 30 กันยายน 2558 2. ภาวะ Birth Asphyxia จำนวน 171 ราย 1. ข้อมูลเด็ก น้ำหนักแรกคลอด เฉลี่ย กรัม เพศ - ชาย % - หญิง % APGAR Score ที่ 1 นาที เท่ากับ 5-7 คะแนน ร้อยละ 65.5 ที่ 5 นาทีเท่ากับ 8-10คะแนนร้อยละ 70.7 ที่ 10 นาทีเท่ากับ 8-10 คะแนนร้อยละ 80.4

20 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดภาวะ Birth Asphyxia
ผลการติดตามพัฒนาการเด็กกลุ่มเสี่ยง(LCDIP)จ.แม่ฮ่องสอน ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2556 – 30 กันยายน 2558 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดภาวะ Birth Asphyxia

21 ผลการติดตามพัฒนาการเด็กกลุ่มเสี่ยง(LCDIP)จ.แม่ฮ่องสอน
ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2556 – 30 กันยายน 2558 เด็ก LBW จำนวนเด็ก ได้รับการประเมิน ประเมินครั้งแรก ประเมินครั้งล่าสุด พัฒนาการไม่สมวัย ครั้งล่าสุด สมวัย ไม่สมวัย GM FM RL EL RS 446 309 228 51 57 40 12 15 22 17  ร้อยละ 69.3 73.8 16.5 18.4 เด็ก BA จำนวนเด็ก ได้รับการประเมิน ประเมินครั้งแรก ประเมินครั้งล่าสุด พัฒนาการไม่สมวัย ครั้งล่าสุด สมวัย ไม่สมวัย GM FM RL EL RS 168 87 61 19 58 24 17 11 8 12 6  ร้อยละ 51.8 19.7 6.1 18.8 7.8

22 จำนวนและร้อยละของศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ จน.ศูนย์เด็กเล็กเป้าหมาย ปี 58
จ.แม่ฮ่องสอน ปี 2558 อำเภอ จน.ศูนย์เด็กเล็กเป้าหมาย ปี 58 ตรวจประเมิน (แห่ง) ร้อยละ ผ่านเกณฑ์ (แห่ง) ผ่านเกณฑ์ร้อยละ เมือง 25 100.00 16 64.00 แม่สะเรียง 29 6 20.69 ปาย 17 13 76.47 ขุนยวม 26 9 34.62 แม่ลาน้อย 33 21 63.64 สบเมย 5 29.41 ปางมะผ้า 20 3 15.00 รวม 167 73 43.71

23 ปัญหาอุปสรรคที่พบในการดำเนินงานที่ผ่านมา ด้านเครื่องมือคัดกรอง /คู่มือ
ด้านการบริหารจัดการ การเชื่อมโยงกับ sp(กุมาร จิตเวช) ยังไม่ชัดเจน ส่วนมากใช้กลไก MCHB ขับเคลื่อนงาน WWC ใน รพ.แออัดคับแคบ การกำกับ ติดตาม ในระดับจังหวัด/อำเภอ บางแห่งยังไม่เข้มแข็ง ด้านผู้ให้บริการ* วิธีการตรวจพัฒนาการ ไม่ถูกต้อง ทักษะในการประเมินพัฒนาการเด็กยังไม่แม่นยำ การให้ความสำคัญในการประเมินพัฒนาการเด็ก ด้านผู้รับบริการ ขาดความต่อเนื่อง ในการกระตุ้น พัฒนาการ ผู้ปกครองไม่เห็นความสำคัญ พื้นที่สูง ห่างไกล เข้าถึงบริการ ลำบาก ย้าย ติดตามผู้ปกครอง ด้านเครื่องมือคัดกรอง /คู่มือ ขาดแคลนคู่มือ DSPM ใช้เครื่องมือคัดกรองพัฒนาการเด็กแบบเดิม ที่ยังไม่ได้ปรับใหม่

24 ตัวชี้วัดและกลยุทธการดำเนินงานส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
ปี 2559

25 ตัวชี้วัดโครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิมพระเกียรติ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ปี 2559

26 มาตรฐานการส่งเสริมพัฒนาการเด็กในสถานบริการ
รายการ รพ. รพ.สต. 1.สถานที่ตรวจประเมินพัฒนาการ มีคลินิกตรวจพัฒนาการเด็ก มีมุมตรวจพัฒนาการเด็ก 2.วันเวลาจัดบริการ อย่างน้อยเดือนละ 3 - 4 ครั้งเพิ่มวันบริการตรวจพัฒนาการเด็ก แยกจากคลินิกให้วัคซีน 1 ครั้ง 3.อุปกรณ์ /คู่มือ DSPM และ DAIM 4.โปรแกรมบันทึกข้อมูล DSPM และ LCDIP 5.การประเมินภาวะโภชนาการ ใช้เกณฑ์ – กราฟใหม่ ปี 58 ของสำนักโภชนาการ กรมอนามัย โหลดไฟล์จากหน้าเวป สสจ.มส.(กง.ส่งเสริม)

27 กลยุทธการดำเนินงานในปี 2559
กลยุทธการดำเนินงานในปี 2559 1. Early Detection WCC (อาศัยกลไก DHS) อสม./แกนนำในชุมชน/ FCT ค้นหา คัดกรองประเมินภาวะโภขนาการเด็กในชุมชน พ่อแม่ผู้ดูแลเด็กมีความรู้ ทักษะ ประเมินพัฒนาการเด็ก Early child development promotion ใน ศพด. 2. Risk management เด็ก(กลุ่มปกติ)ที่มีพัฒนาการผิดปกติหลังได้รับการกระตุ้นแล้วอย่างน้อย 1 ครั้งได้พบจนท.รพ.ที่เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน/กุมารแพทย์ทุกราย เด็ก(กลุ่ม High risk) ที่พบพัฒนาการผิดปกติ/สงสัยล่าช้าให้ส่งต่อรพ.ประจำอำเภอ ทุกราย

28 กลยุทธการดำเนินงานในปี 2559
กลยุทธการดำเนินงานในปี 2559 3. ยา เวชภัณฑ์ จ่ายยาวิตามินเสริมธาตุเหล็กให้เด็ก 6 – 60 เดือนทุกราย 4.Training การใช้ DSPM/ DAIM จนท.จบใหม่ ก่อนออกประจำ รพ./รพ.สต. รพ.เป็นพี่เลี้ยงให้ รพ.สต. - ใช้ DSPM ใน ศพด./รพ.สต. - ใช้ TEDA4I ใน รพ.ช./รพ.ท./รพ.ศ ทุกแห่ง 5. Referral system (Consult– refer) สร้างเครือข่ายและกำหนดเงื่อนไขเกณฑ์ในการ refer ในเขตพื้นที่สูงและห่างไกล กรณีเด็กที่พัฒนาการล่าช้าได้รับการวินิจฉัยและรักษาในรพ.ทุกระดับ

29 กลยุทธการดำเนินงานในปี 2559
กลยุทธการดำเนินงานในปี 2559 6. MCHB จังหวัด /อำเภอ (CPM.) - ระดับอำเภอจัดทีมนิเทศติดตาม (coaching) รพ.สต.ทุกแห่ง - ระดับจังหวัดจัดทีมนิเทศติดตาม (coaching)รพ.ทุกแห่ง - MCH data system สะท้อนข้อมูลให้ผู้บริหารรับทราบ ทุก 2 เดือน 7.พัฒนาระบบริการใน รพ.และรพ.สต. - จัดระบบ บริการ WCC ไม่ให้คับแคบ แออัด อาจแยกคน/วัน - มีสถานที่สำหรับตรวจประเมินพัฒนาการเด็ก - จัดกิจกรรม Parental school (PP - WCC) - สัปดาห์รณรงค์ส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 7-14 กพ.59 8.สิ่งสนับสนุนหน่วยบริการ - ชุดตรวจประเมินพัฒนาการเด็ก คู่มือ DSPM / DAIM / - คู่มือ TEDA4I (เฉพาะ รพ.)

30 เด็กเกิด 2 เมย.58เป็นต้นมา
เด็กที่เกิด1สค56-31กค.58 เด็กที่ถูกคัดเลือกเข้าโครงการ LCDIP ได้รับคู่มือ DAIM ทุกคน และขอให้ติดตามให้ได้ทุกราย จนอายุครบ 5 ปี เด็กเกิด 2 เมย.58เป็นต้นมา กลุ่มเสี่ยง คีย์เข้า LCDIP 1-2 หลังติดตามคีย์ LCDIP3 กลุ่มปกติ คีย์เข้าDSPMหลังติดตามตามช่วงอายุ ทั้งสองกลุ่มแจกคู่มือทุกคน เด็กเกิดก่อน2เมย.58 เด็กกลุ่มปกติ ติดตามพัฒนาการ และคีย์เข้า DSPM แจกคู่มือเฉพาะสงสัยล่าช้า/ล่าช้า

31 ขั้นตอนการดำเนินการ สรุป Road Map การดำเนินงานส่งเสริมพัฒนาการเด็ก
-วางแผนปฏิบัติการของหน่วยบริการ -ประชุมชี้แจงอปท.เพื่อขอความร่วมมือสนับสนุน ( พย.-ธค.58 ) -อบรม อสม. พ่อแม่ผดด./ภาคีเครือข่าย -ประสานครู ผดด.เพื่อวางแผนตรวจประเมินสุขภาพและพัฒนาการเด็ก ในศดล. (ธค.58 ) แต่งตั้ง-ประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนและประเมินคุณภาพฯ ระดับอำเภอ ( ตค. – พย. 58 ) -นิเทศติดตามการ ดำเนินงานโดยทีม จังหวัด/อำเภอ (มิย-กค.59) -สรุป DATA อำเภอ ประเมินผลการ ดำเนินงานทุก 2 ด. -สัปดาห์รณรงค์ประเมินพัฒนาการเด็กอายุ 30 และ 42 เดือน ( 7-14 กพ.59) - ทีมประเมินคุณภาพระดับอำเภอสุ่มประเมินซ้ำ -ประเมินส่งเสริมกระตุ้นพัฒนาการเด็กตามช่วงวัย -บันทึกข้อมูลในโปรแกรมLCDIP/DSPM -ติวเข้มพ่อแม่ที่ลูกมีพัฒนาการสงสัยล่าช้า/ผิดปกติ (มค.59เป็นต้นไป)

32 บทบาทภาระกิจงานส่งเสริมพัฒนาการเด็กในส่วนผู้เกี่ยวข้อง
พ่อแม่ ผู้ปกครอง ส่งเสริม/กระตุ้นพัฒนาการตามช่วงวัย โดยใช้หลักการ กิน กอด เล่น เล่า ประเมินและเฝ้าระวังพัฒนาการตามช่วงวัย อายุ 2, 4, 6, 9, 12, 15, 18, 24, 30,36, 42, 48,54, และ 60 เดือน ตามคู่มือ DSPM บันทึกข้อมูลการส่งเสริมพัฒนาการเด็กแต่ละช่วงวัยในสมุดพัฒนาการเด็กปฐมวัย ส่งให้ รพสต/ โรงพยาบาล ในวันฉีดวัคซีน/สมุดตามนัดทุกครั้ง

33 อสมช. /อสม. แนะนำผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็ก ให้มีความรู้ ความเข้าใจ ในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กแต่ละช่วงวัย เยี่ยมบ้านประเมินเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กตามช่วงวัย ติดตามเด็กกรณีไม่มาตามนัด ติดตามและกระตุ้นพัฒนาการเด็กล่าช้าอย่างต่อเนื่อง บันทึกผลการประเมินพัฒนาการเด็กโดยการเยี่ยมบ้าน ตามแบบรายงานส่งให้ รพ./รพสต. ทุกเดือน

34 รพสต. ให้ความรู้และฝึกทักษะการส่งเสริมพัฒนาการแก่พ่อแม่และผู้ปกครอง
จัดบริการตรวจคัดกรอง (Screening) พัฒนาการเด็กในคลินิกเด็กดี 4 ช่วงอายุ คือ 9, 18, 30, 42 เดือนทุกราย ติดตามเด็กกลุ่มเสี่ยง(LBW,BA)ที่ไม่ได้รับการประเมินตามช่วงวัย บันทึกข้อมูลโปรแกรมข้อมูล DSPM สอนวิธีการกระตุ้นพัฒนาการเด็กให้แก่ผู้ปกครองในกรณีพบล่าช้า ติดตามและนัดตรวจซ้ำ 1 เดือน ประสาน อสม. ในการเยี่ยมติดตามพัฒนาการเด็ก ส่งต่อ case ที่พัฒนาการไม่สมวัย ให้ รพช./รพท. ติดตามการดำเนินงานประเมินเฝ้าระวังพัฒนาการเด็ก ใน รร. / ศพด / สถานรับเลี้ยงเด็กและ อสม. ตามระยะเวลาที่กำหนด ประสาน อปท. องค์กร และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการจัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาเด็กปฐมวัยในหน่วยงานและในชุมชน

35 รพช./รพท. (เด็กกลุ่มปกติ )
มอบคู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย(DSPM เล่มขาว) ให้กับเด็กทุกรายที่คลอดตั้งแต่ 2 เมษายน 2558 ที่แผนกดูแลหลังคลอดของโรงพยาบาล แนะนำให้ผู้ปกครองนำคู่มือ DSPM มาด้วยทุกครั้งที่ไปพบแพทย์หรือเจ้าหน้าที่สาธารณสุข คู่กับสมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก(สีชมพู) จัดบริการตรวจคัดกรอง (Screening) พัฒนาการเด็ก 4 ช่วงอายุ คือ 9, 18, 30, 42 เดือนทุกราย โดยใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ในการประเมินครบทุกข้อ บันทึกข้อมูลผลการตรวจแต่ละครั้งในโปรแกรมข้อมูล สอนวิธีการกระตุ้นพัฒนาการเด็กให้แก่ผู้ปกครองในกรณีพบล่าช้า และนัดตรวจซ้ำ 1 เดือน ประสาน อสม. ในการเยี่ยมบ้าน ส่งต่อ case ที่พัฒนาการไม่สมวัย ให้นักจิตวิทยาคลินิก หรือ Child Development Manager ติดตามการดำเนินงานประเมินเฝ้าระวังพัฒนาการเด็กใน รร. / ศพด. /สถานรับเลี้ยงเด็กและ อสม. ประสาน อปท. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการจัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาเด็กปฐมวัยในหน่วยงานและในชุมชน

36 รพช. / รพท. / รพศ. (เด็กกลุ่มเสี่ยง LBW / BA )
มอบคู่มือประเมินและส่งเสริมพัฒนาการเด็กกลุ่มเสี่ยง (DAIM เล่มเขียว)ให้กับเด็กทุกรายที่คลอดตั้งแต่ 2 เมษายน 2558 ที่แผนกดูแลหลังคลอดของโรงพยาบาล แนะนำให้ผู้ปกครองนำคู่มือ DAIM (เล่มเขียว) มาด้วยทุกครั้งที่ไปพบแพทย์หรือเจ้าหน้าที่สาธารณสุข คู่กับสมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก(สีชมพู) บันทึกข้อมูลเด็กกลุ่มเสี่ยงที่คลอดในโรงพยาบาลลงในโปรแกรม ตรวจประเมินพัฒนาการเด็กทุกช่วงอายุตามกำหนด บันทึกข้อมูลผลการตรวจแต่ละครั้งในโปรแกรมข้อมูล TCDIP 3 (งานพัฒนาการเด็ก) ส่งต่อ case ที่มีพัฒนาการล่าช้าและ/หรือมีปัจจัยแทรกซ้อน ให้พบแพทย์/กุมารแพทย์

37 รพช./รพท.(นักกิจกรรมบำบัด/นักจิตวิทยาคลินิก )
ประเมินและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก(ที่ได้รับการส่งต่อจาก รพ.สต/งานส่งเสริมฯ ของ รพช.) โดยใช้คู่มือประเมินเพื่อช่วยเหลือเด็กปฐมวัยที่มีปัญหาพัฒนาการ (TEDA 4I ) ได้รับการช่วยเหลือตามคู่มือ TEDA4I ครบ 3 เดือนแล้วยังพบว่ามีปัญหาพัฒนาการล่าช้าให้ส่งต่อ(รพช.ส่งไปยังรพ.แม่ข่าย และรพ.แม่ข่าย ส่งไปยัง รพศ.) ให้คำแนะนำปรึกษาแก่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล และภาคีเครือข่าย ให้คำแนะนำแก่ผู้ปกครองเกี่ยวกับการดูแลเด็กส่งเสริมพัฒนาการเด็ก

38 รพท. / รพศ. ประเมินและส่งเสริมพัฒนาการเด็กที่ได้รับการส่งต่อจากโรงพยาบาลชุมชน (รพช.) โดยใช้คู่มือประเมินและแก้ไข/ฟื้นฟูพัฒนาการเด็กวัยแรกเกิด – 5 ปี สำหรับบุคลากรสาธารณสุข (TDSI3: Thai Developmental Skills Inventory for Children from Birth to Five Year III) วินิจฉัยโรคเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้ารวมทั้งโรคร่วม ประเมินและแก้ปัญหาเพิ่มเติมด้วย CPG รายโรคและรักษาโรคร่วม ส่งต่อเด็กที่ยังมีปัญหาพัฒนาการล่าช้าไปยังสถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์เชียงใหม่ ให้คำแนะนำปรึกษาแก่โรงพยาบาลชุมชน ให้คำแนะนำแก่ผู้ปกครองเกี่ยวกับการดูแลเด็กที่พัฒนาการล่าช้า

39 สสอ. เป็นศูนย์ประสานงานระดับอำเภอ
วิเคราะห์ข้อมูล case ในพื้นที่รับผิดชอบเป็นศูนย์กลางระดับอำเภอ ติดตามประเมินและแก้ไขปัญหาการดำเนินงานระดับตำบล และนำเสนอความก้าวหน้าต่อจังหวัด สนับสนุนการดำเนินงานส่งเสริมพัฒนาการเด็กระดับอำเภอ รณรงค์สร้างกระแสการส่งเสริมพัฒนาการเด็กในระดับอำเภอ จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานส่งเสริมพัฒนาการเด็กระดับอำเภอ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

40 สถานรับเลี้ยงเด็ก/ศดล.
 ประเมินพัฒนาการเด็กในสถานรับเลี้ยงเด็กทุกคนโดยใช้คู่มือ DSPM โดยเด็กอายุ แรกเกิด – 2 ปี 6 เดือน ประเมินทุกเดือนตามช่วงอายุที่กำหนด สำหรับเด็กอายุ 2 ปี 6 เดือน – 5 ปี ประเมิน ปีละ2 ครั้ง(เทอมละ 1 ครั้ง) ประเมิน EQ เด็กอายุ ปีทุกคนปีละ2 ครั้ง(เทอมละ 1 ครั้ง) เด็กที่พบพัฒนาการไม่สมวัย ส่งต่อ รพสต./รพ.ในพื้นที่ ประสานความร่วมมือกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่และผู้ปกครองในการกระตุ้นพัฒนาการเด็กในกรณีเด็กที่พัฒนาการไม่สมวัย และดูแลเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้า จัดส่งรายงานการประเมินพัฒนาการเด็กทุกคนส่งให้ รพสต./ รพ.ในพื้นที่เด็กเล็กทุกเดือน ส่วนเด็กโตเทอมละ 1 ครั้ง

41 โรงเรียน ประเมินพัฒนาการเด็กในโรงเรียนทุกคนโดยใช้คู่มือ DSPM ปีละ 2 ครั้ง (เทอมละ 1 ครั้ง) ประเมิน EQเด็กอายุ ปีทุกคนปีละ 2 ครั้ง(เทอมละ 1 ครั้ง) เด็กที่พบพัฒนาการไม่สมวัยส่งต่อ รพสต./รพ.ในพื้นที่ ประสานความร่วมมือกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่และผู้ปกครองในการกระตุ้นพัฒนาการเด็กในกรณีเด็กที่พัฒนาการไม่สมวัย และดูแลเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้า จัดส่งรายงานการประเมินพัฒนาการเด็กทุกคน ส่งให้ รพสต./ รพ.ในพื้นที่เทอมละ 1 ครั้ง

42 กระทรวงศึกษาธิการ ( สพป. )
จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพในการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก แก่ครูพี่เลี้ยงของโรงเรียนที่มีเด็กปฐมวัย โดยขอความร่วมมือด้านวิชาการจากหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ สนับสนุนงบประมาณ วัสดุอุปกรณ์ และสื่อต่างๆ เกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ในโรงเรียน จัดสภาพแวดล้อมของโรงเรียนและหลักสูตรการเรียน การสอน ให้เอื้อต่อการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก จัดหาเครื่องมือ อุปกรณ์ สื่อต่างๆ ในการประเมินและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ติดตามการดำเนินงานส่งเสริมพัฒนาการเด็กใน ศพด. และในชุมชน

43 กระทรวงมหาดไทย(ฝ่ายปกครอง/ท้องถิ่นจังหวัด/อำเภอ)
พัฒนาระบบข้อมูลเด็กเกิดใหม่ทุกคน และเชื่อมโยงฐานข้อมูลกับการบริการคัดกรอง ส่งเสริมและสนับสนุนให้องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น ให้ความสำคัญในการดำเนินงานส่งเสริมพัฒนาการเด็ก องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพในการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก แก่พี่เลี้ยงเด็กใน ศพด.ทุกคน ครอบครัว อสม. และองค์กรในชุมชน โดยขอความร่วมมือด้านวิชาการจากหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ สนับสนุนงบประมาณ วัสดุอุปกรณ์ และสื่อต่างๆเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก จัดสภาพแวดล้อมของศพด.ให้ได้มาตรฐานเอื้อต่อการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก สนับสนุนหน่วยงาน องค์กรต่างๆ ในการจัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการเด็กในชุมชน

44 กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
การพัฒนาศักยภาพในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กแก่ครูพี่เลี้ยงของสถานรับเลี้ยงเด็ก โดยขอความร่วมมือด้านวิชาการจากหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ สนับสนุน การจัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการเด็กในสถานรับเลี้ยงเด็ก/ศดล. ติดตามการดำเนินงานส่งเสริมพัฒนาการเด็กในสถานรับเลี้ยงเด็ก /ศดล.

45 การรายงานข้อมูล รายงานแม่และเด็ก ทุก 2 เดือน ไม่เกินวันที่ 10 ของเดือน
รายงาน LBW /BA รายงานทุกเดือน รายงานธาลัสซีเมียจะรวมเข้ากับรายงานแม่และเด็ก (ตัดทอนเอาเฉพาะประเด็นสำคัญ) รายงานพัฒนาการเด็กจะใช้จากโปรแกรมDSPM และ LCDIP ส่วนจำนวนเด็กเป้าหมายจะให้รายงานข้อมูล รวมในรายงานแม่และเด็ก หัวหน้าคณะทำงานพัฒนาคุณภาพงานอนามัยแม่และเด็กนำเสนอข้อมูลในที่ประชุมกวป.ทุก 2 เดือน

46 ภาระกิจขอรับการสนับสนุนจาก CUP
จัดหายาวิตามินเสริมธาตุเหล็ก ให้เด็กอายุ 6 เดือน – 5 ปี จัดหายาเสริมธาตุไอโอดีนให้หญิงตั้งครรภ์และหลังคลอด จัดหาอุปกรณ์ตรวจประเมินพัฒนาการเด็กที่ขาดแคลนให้ สถานบริการ แต่งตั้งทีมติดตามประเมินคุณภาพงานบริการ (สุ่มตรวจประเมินพัฒนาการเด็ก/ประเมินรพ./รพ.สต.ตามเกณฑ์มาตรฐานงานอนามัยแม่และเด็ก กรมอนามัยและตำบลนมแม่) จัดทำแผนนิเทศติดตามงานพัฒนาการเด็ก /แม่และเด็ก มีการควบคุมกำกับติดตามงานในสถานบริการ ส่ง จนท. รพ.เข้าอบรมหลักสูตร TEDA 4 I เขตเป็นเจ้าภาพจัดอบรม

47 จบแล้วจ้า...


ดาวน์โหลด ppt การเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google